ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พัฒนาการและรูปแบบของกรมธรรม์ประกันชีวิต
กรมธรรม์ประกันชีวิตพื้นฐาน แบบ ตลอดชีพ แบบ สะสมทรัพย์ แบบ ชั่วระยะเวลา แบบบำนาญ กรมธรรม์ Universal Life กรมธรรม์ Unit-Linked
2
โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย
ส่วนประกอบของเบี้ยประกันภัยที่บริษัทได้รับในแต่งวด การนำเบี้ยประกันภัยไปลงทุน พอร์ตการลงทุนของบริษัท ค่าใช้จ่าย ค่าการประกันภัย กรมธรรม์พื้นฐาน พอร์ตการลงทุนของ กรมธรรม์UL กรมธรรม์ UL เงินส่วนของการลงทุน หรือส่วนผลประโยชน์ การอยู่รอดสำหรับ แบบพื้นฐาน พอร์ตโฟลิโอของลูกค้า กองทุนรวม1 กองทุนรวม2 . Unit-Linked
3
โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย กรมธรรม์แบบพื้นฐาน
ลักษณะที่สำคัญของกรมธรรม์ แบบพื้นฐาน บริษัทประกันชีวิตจะคิดอัตราผลตอบแทนของเบี้ยประกันภัยด้วยอัตราที่แน่นอนตายตัวตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย เมื่อบริษัทรับประกันภัยแล้วเป็นหน้าที่ของบริษัทที่จะต้องนำเบี้ยประกันภัยที่ได้รับไปบริหารและลงทุนให้ได้ผลตอบแทนที่เพียงพอที่จะมาจ่ายผลประโยชน์ตามที่บริษัทได้สัญญาเอาไว้กับผู้เอาประกันภัย เบี้ยประกันภัยของกรมธรรม์แบบพื้นฐานลงทุนในพอร์ตการลงทุนรวมของบริษัท เบี้ยประกันภัย ของนาย ก เบี้ประกันภัย ของนาย ข พอร์ตการลงทุน รวมของบริษัท เบี้ยประกันภัย ของรายอื่น ๆ
4
โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย กรมธรรม์ Universal Life
ลักษณะของกรมธรรม์ หลังจากหักค่าใช้จ่าย บริษัทจะนำเงินค่าเบี้ยประกันภัยส่วนหนึ่งไปซื้อความคุ้มครองชีวิต (คุ้มครองกรณีเสียชีวิต) ส่วนที่เหลือนำไปลงทุน โดยตั้งพอร์ตลงทุนแยกต่างหากจากการลงทุนอื่นของบริษัท ผลตอบแทนจากการลงทุนของพอร์ตบริษัทจะจัดสรรสะสมเข้าบัญชีกรมธรรม์ของผู้เอาประกันภัยแบบ UL แต่ละรายตามส่วน เบี้ยประกันภัยของแบบUniversal Life ลงทุนในพอร์ตแยกจากพอร์ต การลงทุนรวม เบี้ยประกันภัย ของนาย ก เบี้ยประกันภัย ของนาย ข พอร์ตการลงทุนของ กรมธรรม์ UL เบี้ยประกันภัย ของรายอื่น ๆ
5
โครงสร้างของเบี้ยประกันภัย กรมธรรม์ Unit Linked
ลักษณะสำคัญของกรมธรรม์ หลังจากหักค่าใช้จ่าย บริษัทจะนำเงินค่าเบี้ยประกันภัยส่วนหนึ่งไปซื้อความคุ้มครองชีวิต (คุ้มครองกรณีเสียชีวิต) ส่วนที่เหลือนำไปลงทุน โดยผู้เอาประกันภัยเป็นผู้เลือกลงทุนในกองทุนรวมต่าง ๆ ที่บริษัทกำหนดไว้ได้เอง การเพิ่มขึ้นหรือลดลงมูลค่าของหน่วยลงทุนที่ผู้เอาประกันภัยเลือกลงทุนไว้จะถูกสะสมเข้าหรือหักออกจากบัญชีกรมธรรม์ของผู้เอาประกันภัย เบี้ยประกันภัยของแบบ Unit Linked ลงทุนในกองทุนรวมตามที่บริษัทกำหนด เบี้ยประกันภัย กองทุนรวม A C B อื่น ๆ
6
ความแตกต่างของกรมธรรม์ Unit-Linked ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และแบบพื้นฐาน
ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ แบบพื้นฐาน นโยบายการลงทุนของเบี้ยประกันภัย เปิดเผย ผู้เอาประกันภัยสามารถเลือกลงทุนได้ตามความต้องการ อาจจะมีการเปิดเผยถึงข้อมูลการลงทุนหรืออัตราผลตอบแทนจากการลงทุน เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้เอาประกันภัยประกอบการตัดสินใจ ไม่จำเป็นต้องเปิดเผย โดยเน้นการลงทุนที่ทำให้บริษัทสามารถจ่ายเงินคืนตามสัญญาได้ ความเสี่ยงด้านการลงทุน ผู้เอาประกันภัยเป็นผู้รับความเสี่ยงเพียงฝ่ายเดียว บริษัทและผู้เอาประกันภัยเป็นผู้รับความเสี่ยงร่วมกัน บริษัทประกันภัยเป็นผู้รับความเสี่ยงเพียงฝ่ายเดียว เบี้ยประกันภัย โปร่งใสสามารถแยกได้ ผู้เอาประกันภัยสามารถทราบข้อมูลค่าใช้จ่าย โปร่งใสสามารถแยกได้ ผู้เอาประกันภัยสามารถทราบข้อมูลค่าใช้จ่าย รวมเป็นจำนวนเดียวทั้งค่าใช้จ่าย ค่าความคุ้มครองการเสียชีวิตและอยู่รอด การลงทุน กองทุนรวม แยกพอร์ตการลงทุนเฉพาะแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ ออกจากพอร์ตการลงทุนรวมของบริษัท พอร์ตการลงทุนรวมของบริษัท
7
ความแตกต่างของกรมธรรม์ Unit-Linked ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และแบบพื้นฐาน
ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ แบบพื้นฐาน ผลตอบแทนต่อผู้เอาประกันภัย เป็นอัตราที่ไม่คงที่ขึ้นอยู่กับราคาหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่ผู้เอาประกันภัยเลือก ซึ่งอาจจะกำไรหรือขาดทุน เป็นอัตราที่ไม่คงที่ขึ้นอยู่กับผลตอบแทนที่บริษัทประกันชีวิตสามารถทำได้ แต่ไม่ต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนที่รับรองไว้ เป็นอัตราคงที่ ตลอดระยะเวลา เอาประกันภัย (อัตราดอกเบี้ยที่ใช้คำนวณเบี้ย ประกันภัย) ผลประโยชน์มรณกรรมและผลประโยชน์ครบกำหนดสัญญา ผลประโยชน์มรณกรรมไม่ต่ำกว่าจำนวนเงิน เอาประกันภัยและผลประโยชน์ครบกำหนดสัญญาขึ้นอยู่กับราคาหน่วยลงทุน อาจจะต่ำหรือสูงกว่าส่วนของ เบี้ยประกันภัยที่เป็น ส่วนการลงทุน ผลประโยชน์มรณกรรมไม่ต่ำกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย และผลประโยชน์ครบกำหนดสัญญาขึ้นอยู่กับผลตอบแทนแต่ไม่ต่ำกว่าส่วนของเบี้ยประกันภัยที่เป็นส่วนการลงทุน เป็นจำนวนเงินที่แน่นอนตามที่ระบุในกรมธรรม์ประกันภัย
8
ความแตกต่างของกรมธรรม์ Unit-Linked ยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และแบบพื้นฐาน
การนำเบี้ยประกันภัยใช้สิทธิหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ส่วนของเบี้ยทีเป็นค่าธรรมเนียม ค่าการประกันภัย ที่ได้เรียกเก็บ (ไม่รวมส่วนที่นำไปซื้อหน่วยลงทุน) เบี้ยประกันภัยทั้งจำนวน
9
การทำงานของกรมธรรม์ Universal Life
นำเบี้ยประกันภัยหลังหัก Premium Charge ค่าการประกันภัย และค่าบริหารการลงทุน นำไปลงทุน ชำระเบี้ยประกันภัย ผู้เอาประกันภัย บริษัทประกันภัย พอร์ตการลงทุนของกรมธรรม์ UL เบี้ยประกันภัย + ผลตอบแทนจากการลงทุนของพอร์ต ค่าการประกันภัย ค่าบริหารการลงทุน มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยของผู้เอาประกันภัย ถอนคืนบางส่วน จำนวนเงินที่ถอนจากบัญชีกรมธรรม์ฯหักค่าธรรมเนียมในการถอน เวนคืนกรมธรรม์ ครบสัญญา มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย จำนวนเงินตามมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย + จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ(ที่บริษัทต้องจ่ายเพิ่ม) เสียชีวิต
10
การทำงานของกรมธรรม์ Unit-Linked
นำเบี้ยประกันภัยหลังหัก Premium Charge ค่าการประกันภัย และค่าบริหารกรมธรรม์นำไปซื้อหน่วยลงทุน ชำระเบี้ยประกันภัย ผู้เอาประกันภัย บริษัทประกันชีวิต บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน พอร์ตโฟลิโอ (กองทุนรวม) ของผู้เอาประกันภัย ค่าการประกันภัย ค่าบริหารกรมธรรม์ ตราสารเงิน ตราสารหนี้ ผสม ตราสารทุน ต่างประเทศ ถอนคืนบางส่วน ขายคืนหน่วยลงทุนในราคารับซื้อคืน เวนคืนกรมธรรม์ ครบสัญญา ขายคืนหน่วยลงทุนในราคารับซื้อคืน ขายคืนหน่วยลงทุนในราคารับซื้อคืน + จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ(ที่บริษัทต้องจ่ายเพิ่ม) เสียชีวิต 10
11
โครงสร้างกรมธรรม์ประกันภัย Unit-Linked
Regular Premium Top-up Premium
12
โครงสร้างกรมธรรม์ประกันภัย Unit-Linked
คำนิยาม ต้องมีคำนิยามเกี่ยวกับศัพท์ที่ใช้ในกรมธรรม์ ทั้งหมด เพื่อให้ผู้เอาประกันภัยอ่านกรมธรรม์แล้วเข้าใจ เงื่อนไขทั่วไป ต้องเป็นไปตามกรมธรรม์มาตรฐาน ประเภทสามัญ และมีเงื่อนไขในส่วนที่จะต้องใช้กับ กรมธรรม์ Unit-Linked เพิ่มเติม รายละเอียดค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมทั้งหมด ใบคำขอเอาประกันภัย สำหรับกรมธรรม์แบบ Unit-Linked เอกสารเสนอขาย เป็นต้น
13
โครงสร้างกรมธรรม์ประกันภัย Unit-Linked
เบี้ยประกันภัยหลัก เบี้ยประกันภัยเพิ่มพิเศษ ค่าใช้จ่ายที่หักจาก เบี้ยประกันภัย ค่าธรรมเนียมรักษากรมธรรม์ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ มูลค่า หน่วยลงทุน ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน ราคาขายหน่วยลงทุน จำนวนเงิน เสี่ยงภัยสุทธิ ค่าการประกันภัย มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย มูลค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย การหยุดพักชำระเบี้ยประกันภัย
14
รูปแบบคุ้มครองกรมธรรม์ Unit-Linked
ผลประโยชน์ความคุ้มครอง มี 2 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ 1 กรณีเสียชีวิต (เดิม) จ่ายจำนวนเงินเอาประกันภัย กรณีเสียชีวิต (ปรับใหม่) จ่ายจำนวนที่มากกว่าระหว่างจำนวนเงินเอาประกันภัยกับจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำรวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย กรณีอยู่ครบกำหนดสัญญา บริษัทจะจ่ายมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ รูปแบบที่ 2 กรณีเสียชีวิต จ่ายจำนวนเงินเอาประกันภัย บวกมูลค่าบัญชีกรมธรรม์
15
รูปแบบที่ 1 (เดิม) ผลประโยชน์กรณีมรณกรรม
การกำหนดผลประโยชน์กรณีมรณกรรมของกรมธรรม์ Unit-Linked และ Universal Life รูปแบบที่ 1 (เดิม) ผลประโยชน์กรณีมรณกรรม เท่ากับจำนวนเงินเอาประกันภัยหรือมูลค่าบัญชีกรมธรรม์แล้วแต่จำนวนใดจะมากกว่า ผลประโยชน์มรณกรรมมีค่าเท่ากับจำนวนที่มากกว่าระหว่าง จำนวนเงินเอาประกันภัย กับจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ รวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย จำนวนเงิน เส้นสีน้ำตาล เป็นผลประโยชน์กรณีมรณกรรม ความสูงของพื้นที่แลเงาเป็นจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิ เส้นจำนวนเงินเอาประกันภัย เส้นมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย ปีกรมธรรม์
16
การกำหนดผลประโยชน์กรณีมรณกรรม
รุปแบบที่ 1 (ปรับใหม่) ผลประโยชน์มรณกรรม เท่ากับจำนวนที่มากกว่าระหว่างจำนวนเงินเอาประกันภัยกับ จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำรวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย จำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ รูปแบบที่ 1 (เดิม) เส้นสีน้ำตาล คือ ผลประโยชน์มรณกรรม เส้นจำนวนเงินเอาประกันภัย เส้นมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย
17
รูปแบบที่ 2 ผลประโยชน์มรณกรรม
การกำหนดผลประโยชน์กรณีมรณกรรมของกรมธรรม์ Unit-Linked และ Universal Life รูปแบบที่ 2 ผลประโยชน์มรณกรรม เท่ากับจำนวนเงินเอาประกันภัยรวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย ผลประโยชน์มรณกรรม จำนวนเงิน จำนานเงินเอาประกันภัย มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ ปีกรมธรรม์
18
ชำระเบี้ยประกันภัย ครั้งเดียว ชำระเบี้ยประกันภัย รายงวด
การคำนวณเงินผลประโยชน์ในกรณีต่างๆ Unit-Linked ชำระเบี้ยประกันภัย ครั้งเดียว ชำระเบี้ยประกันภัย รายงวด
19
ชำระเบี้ยประกันภัยครั้งเดียว
การคำนวณเงินผลประโยชน์ ชำระเบี้ยประกันภัยครั้งเดียว ในวันที่ 3 มีนาคม 2551 นาย ข ตกลงทำประกันชีวิตแบบ Unit-Linked ด้วย -จำนวนเงินเอาประกันภัย 1,300,000 บาท เบี้ยประกันภัย 1,000,000 บาท -ซึ่งมีเงื่อนไขการจ่ายผลประโยชน์กรณีเสียชีวิต โดยจ่ายจำนวนเงินที่มากกว่า ระหว่าง จำนวนเงินเอาประกันภัยหรือมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยรวม กับจำนวนเงินความเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ (ในที่นี้กำหนด 30% ของเบี้ยประกันภัย ชำระครั้งเดียว) - ซึ่งบริษัทประกันชีวิตมีค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม ดังนี้ - ค่าใช้จ่ายหักเบี้ยประกันภัย (Premium Charge) 20% ของเบี้ยประกันภัย - ค่าการประกันภัย (Cost of Insurance) บาท ต่อจำนวนเงินเอา ประกันภัย 1,000 บาทต่อปี - ค่าธรรมเนียมในการบริหารกรมธรรม์ประกันภัย (Administration Fee) 1% ของมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยต่อปี
20
จำนวนเบี้ยประกันภัย ที่นาย ข ชำระ
การคำนวณเงินผลประโยชน์ จำนวนเบี้ยประกันภัย ที่นาย ข ชำระ กรณีที่ 1 การหักค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม 1,000, บาท ค่าใช้จ่ายหักจาก เบี้ยประกันภัย 200, บาท ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (1,300,000 – (1,000, ,000))* /12) 52.25 บาท ค่าบริหาร กรมธรรม์ต่อเดือน (800,000 * 0.01/12) บาท 799, บาท นาย ข เหลือเงินที่จะนำไปซื้อหน่วยลงทุน 3 มีค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 3 เมย.51 3 พค.51
21
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ในวันที่ 6 มีนาคม 2551 -นาย ข เลือกลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุน A -ราคาขาย (Offer Price) หน่วยละ บาท ฉะนั้น นาย ข ซื้อหน่วยลงทุนได้ 72, หน่วย (799,281.08/11.08) 21 21
22
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ในเดือนต่อมา วันที่ 3 เมษายน ราคากองทุน A มีดังนี้ - ราคาประเมินของหน่วยลงทุน (NAV) หน่วยละ บาท - ราคาซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ บาท
23
ค่าการประกันภัย ต่อเดือน ค่าบริหาร กรมธรรม์ต่อเดือน
การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 3 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (1,300,000 – (72, * 11.15))* /12) 51.79 บาท ค่าบริหาร กรมธรรม์ต่อเดือน ((72, * 11.15)* 0.01/12) บาท รวมเป็นเงิน บาท บริษัทจะทำการขายหน่วยลงทุน เพื่อชำระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น เป็นจำนวน หน่วย (722.07/11.10) นาย ข เหลือหน่วยลงทุน 72, หน่วย (72, ) 3 มีค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 3 เมย.51 3 พค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿
24
กรณีที่ 2 บริษัทบอกล้างสัญญา
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 2 บริษัทบอกล้างสัญญา หากในเดือนต่อมา บริษัทสืบทราบว่า นาย ข เป็น โรคเบาหวาน และไม่ได้แถลงในใบคำขอเอาประกันภัย บริษัทบอกล้างสัญญาในวันที่ 1 เมษายน 2551 ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนของกองทุน A หน่วยละ บาท นาย ข จะได้รับเงินคืนทั้งหมด เท่าใด
25
การคำนวณเงินผลประโยชน์
บริษัทบอกล้างสัญญาวันที่ 1 เมษายน 2551 ค่าใช้จ่ายหักจาก เบี้ยประกันภัย 200, บาท ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (1,300,000 – (1,000, ,000))* /12) 52.25 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน (800,000 * 0.01/12) บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (72, * 11.12) 802, บาท 3 มีค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 3 เมย.51 3 พค.51 บอกล้างสัญญา 1 เมย.51
26
การคำนวณเงินผลประโยชน์
นาย ข ได้เงินคืนรวม 1,002, บาท
27
กรณีที่ 3 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 3 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน หากในวันที่ 10 มีนาคม 2551 นาย ข ขอยกเลิก กรมธรรม์ประกันภัย โดยราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) ณ วันที่ 10 มีนาคม 2551 หน่วยละ บาท นาย ข จะได้รับเงินคืน เท่าใด
28
การคำนวณเงินผลประโยชน์
บอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ภายใน 15 วัน ค่าใช้จ่ายหักจากเบี้ยฯ 200, บาท (1,300,000 – (1,000, ,000))* /12) ค่าการประกันภัยต่อเดือน 52.25 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน (800,000 * 0.01/12) บาท ค่าขายหน่วยลงทุน 797, บาท (72, * 11.05) หักค่าใช้จ่ายในการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย บาท 3 มีค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 3 เมย.51 3 พค.51 บอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน
29
การคำนวณเงินผลประโยชน์
นาย ข ได้เงินคืนรวม 997, บาท
30
กรณีที่ 4 ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 4 ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต -นาย ข เสียชีวิต ในวันที่ 15 เมษายน 2551 -ผู้รับผลประโยชน์แจ้งเรื่องการเสียชีวิตของผู้เอาประกันภัยในวันที่ 17 เมษายน 2551 -ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน ราคาหน่วยละ บาท ณ วันที่ -ผู้รับผลประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงินดังนี้
31
ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต
การคำนวณเงินผลประโยชน์ ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ11.20 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (72, * 11.20) 807, บาท เมื่อขายหน่วยลงทุนแล้ว จำนวนเงินที่ได้รวมกับจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ (300, ,208.98=1,107,208.98) น้อยกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย (1,300,000) ผู้รับผลประโยชน์จะได้รับเงินเท่ากับ 1,300, บาท 3 มีค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 3 เมย.51 3 พค.51 แจ้งบริษัท 17 เมย.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿
32
ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต
การคำนวณเงินผลประโยชน์ ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ15 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (72, * 15) 1,081, บาท เมื่อขายหน่วยลงทุนแล้ว จำนวนเงินที่ได้รวมกับจำนวนเงินเสี่ยงภัยสุทธิขั้นต่ำ (300,000+1,081,083.45=1,381,083.45) มากกว่าจำนวนเงินเอาประกันภัย (1,300,000) ผู้รับผลประโยชน์จะได้รับเงินเท่ากับ 1,381, บาท 3 มีค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 3 เมย.51 3 พค.51 แจ้งบริษัท 17 เมย.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿
33
กรณีที่ 5 เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 5 เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หาก นาย ข มาขอเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัยในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ 11.20 บาท นาย ข จะได้รับเงิน เท่าใด
34
การคำนวณเงินผลประโยชน์
เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย ค่าขายหน่วยลงทุน 807, บาท (72, * 11.20) ค่าการประกันภัยส่วนที่ยังไม่ได้ รับความคุ้มครองของเดือนเมษายน 25.90 บาท (51.79 * 15/30) 807, บาท รวมเงินที่ได้ 3 มีค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 3 เมย.51 3 พค.51 เวนคืนกรมธรรม์ 17 เมย.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿
35
กรณีที่ 6 ผู้เอาประกันภัยถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตายภายใน 1 ปี
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 6 ผู้เอาประกันภัยถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตายภายใน 1 ปี -หากนาย ข ระบุผู้รับประโยชน์สองคนคือ นาง ค และ นาย ง -ต่อมานาย ข ถูกนาง ค ฆาตกรรม ในวันที่ 15 เมษายน 2551 -โดยนาย ง แจ้งบริษัทประกันชีวิตในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ บาท -นาย ง จะได้รับเงิน เท่าใด
36
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย ค่าขายหน่วยลงทุน ส่วนของ นาง ค 403, บาท (72, * 11.20)/2 จำนวนเงินเอาประกันภัย ส่วนของนาย ง (1,300,000/2) 650,000 บาท 1,053, บาท รวมเงินที่ได้ 3 มีค.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 3 เมย.51 3 พค.51 แจ้งบริษัท 17 เมย.51 72, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= ฿
37
กรณีที่ 7 ผู้เอาประกันภัย
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 7 ผู้เอาประกันภัย แถลงอายุคลาดเคลื่อน หากนาย ข แถลงอายุในใบคำขอเอาประกันชีวิต 35 ปี แต่อายุจริง 40 ปี โดยค่าการประกันภัยอายุ 35 ปี และ 40 ปี เท่ากับ 1.055 บาท และ บาท ต่อจำนวนเงินเอา ประกันภัย 1,000 บาท ตามลำดับ
38
การคำนวณเงินผลประโยชน์
กรณีนาย ข ยังมีชีวิตอยู่ บริษัทสืบทราบว่า นาย ข แถลงอายุต่ำกว่าอายุจริง ในวันที่ 17 เมษายน 2551 -ฉะนั้นนาย ข จะต้องชำระค่าการประกันภัยเพิ่มอีก เท่าใด
39
การคำนวณเงินผลประโยชน์
วันที่ 17 เมษายน 2551 (1,300,000 – (72, * 11.15))* /12) ค่าการประกันภัย อายุ 35 ปี 43.64 บาท (1,300,000 – (72, * 11.15))* /12) ค่าการประกันภัย อายุ 40 ปี 51.87 บาท นาย ข ต้องชำระ เบี้ยประกันภัยเพิ่มเติม (จ่ายเพิ่มเฉพาะ COI ส่วนที่ขาดของเดือน ปัจจุบันคือเดือนเมษายนเท่านั้น) 8.23 บาท 3 มีค.51 72, หน่วย 3 เมย.51 3 พค.51 บริษัททราบ 17 เมย.51 72, หน่วย COI ของอายุ 40 ปี = ฿ COI ของอายุ 35 ปี = ฿
40
การคำนวณเงินผลประโยชน์
กรณีนาย ข เสียชีวิต บริษัทสืบทราบว่า นาย ข แถลงอายุต่ำกว่าอายุจริง ใน วันที่ 17 เมษายน 2551 ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับผลประโยชน์ มรณกรรม เท่าใด
41
การคำนวณเงินผลประโยชน์
วันที่ 17 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย บาท สำหรับซื้อความคุ้มครองได้ เท่ากับ (1,300,000 – (72, * 11.15)) 496, บาท ถ้าค่าการประกันภัย43.64 บาท จะซื้อความคุ้มครองได้ เท่ากับ (496, * 43.64/ 51.87) 417,633.7 บาท ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงิน (72, * 11.15) + 417,620.69 1,221, บาท
42
การคำนวณเงินผลประโยชน์
กรณีแถลงอายุสูงกว่าอายุจริง นาย ข อายุจริง 35 ปี แต่แถลงอายุในใบคำขอเอา ประกันภัย 40 ปี เมื่อบริษัทสืบทราบในวันที่ 17 เมษายน 2551 ว่านาย ข แถลงอายุสูงกว่าอายุจริง กรณีนี้ไม่ว่านาย ข จะเสียชีวิต หรือมีชีวิตอยู่ บริษัทประกันชีวิตจะคืนค่าการประกันภัยที่เก็บไว้เกิน 2 เดือน
43
การคำนวณเงินผลประโยชน์
กรณีนาย ข แถลงอายุคลาดเคลื่อนโดยอายุจริงอยู่นอกพิกัดอัตราทางการค้าปกติ บริษัทจะบอกล้างสัญญา
44
กรณีที่ 8 กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 8 กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ หากมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยมีไม่เพียงพอที่จะชำระค่าการประกันภัย และค่าธรรมเนียม งวดประจำเดือนใด บริษัทจะให้ความคุ้มครองเต็มเดือนนั้น และหากผู้เอาประกันภัยยังไม่ได้ชำระเบี้ยประกันภัยภายในเดือน นั้น กรมธรรม์ประกันภัยจะสิ้นผลบังคับเมื่อสิ้นเดือนนั้น วันที่ 3 เมษายน 2551 นาย ข ต้องชำระค่าการประกันภัย และค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัยดังนี้
45
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ค่าการประกันภัยเดือนเมษายน 51.79 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัย บาท บาท (รวม ) บัญชีกรมธรรม์มีหน่วยลงทุนเหลือ 55 หน่วย ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน หน่วยละ บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (55 * 11.10) บาท หน่วยลงทุนที่เหลือทำให้ได้รับความคุ้มครอง (30 * /722.07) 25 วัน บริษัทจะคุ้มครองจนถึงวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 หากนาย ข ไม่ชำระเบี้ยประกันภัยภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 กรมธรรม์ประกันภัยจะสิ้นผลบังคับ 55 หน่วย COI = 51.79฿ ค่าบริหารกธ.= ฿ 55 หน่วย คุ้มครองได้จริง 25 วัน 3 มีค.51 3 เมย.51 3 พค.51
46
ชำระเบี้ยประกันภัยรายงวด
การคำนวณเงินผลประโยชน์ ชำระเบี้ยประกันภัยรายงวด ในวันที่ 3 มีนาคม 2551 นาย ข ตกลงทำประกันชีวิตแบบ Unit-Linked -จำนวนเงินเอาประกันภัย 300,000 บาท -ซึ่งมีเงื่อนไขการจ่ายผลประโยชน์กรณีเสียชีวิต เท่ากับจำนวนเงินเอาประกันภัย รวมกับมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย -โดยชำระเบี้ยประกันภัยราย 3 เดือน ค่าเบี้ยประกันภัย 30,000 บาท -ซึ่งบริษัทประกันชีวิตมีค่าในค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมดังนี้ - ค่าใช้จ่ายหักเบี้ยประกันภัย (Premium Charge) 20% ของเบี้ยประกันภัย - ค่าการประกันภัย (Cost of Insurance) บาท ต่อจำนวนเงินเอา ประกันภัย 1,000 บาท - ค่าธรรมเนียมในการบริหารกรมธรรม์ประกันภัย (Administration Fee) 1% ต่อปี ของมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัย
47
กรณีที่ 1 การหักค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 1 การหักค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียม เบี้ยประกันภัยที่นาย ข ชำระ 30, บาท ค่าใช้จ่ายหักจากเบี้ยฯ 6, บาท ค่าการประกันภัยต่อเดือน (300,000 * )/12 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน 20.00 บาท (24,000 * 0.01/12) 23, บาท นาย ข เหลือเงินที่จะนำไปซื้อหน่วยลงทุน 3 มีค.51 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51
48
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ในวันที่ 6 มีนาคม 2551 นาย ข เลือกลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุน A ราคาขาย (Offer Price) หน่วยละ บาท ฉะนั้น นาย ข ซื้อหน่วยลงทุนได้ 2, หน่วย (23,948.65/11.08)
49
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ในเดือนต่อมา (วันที่ 3 เมษายน 2551) -ราคาประเมินของหน่วยลงทุน (NAV) กองทุน A หน่วยละ บาท -ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ บาท 49 49
50
ค่าการประกันภัย ต่อเดือน ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน
การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 3 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (300,000 * )/12 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน ((2, * 11.15)* 0.01)/12 20.08 บาท รวมเป็นเงิน 51.43 บาท บริษัทจะทำการขายหน่วยลงทุน เพื่อชำระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น เป็นจำนวน 4.63 หน่วย (51.43/11.10) นาย ข เหลือหน่วยลงทุน 2,156.8 หน่วย (2, ) 3 มีค.51 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20.08฿
51
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ในเดือนต่อมา (วันที่ 3 พฤษภาคม 2551) ราคาประเมินของหน่วยลงทุน (NAV) กองทุน A หน่วยละ บาท ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ บาท
52
ค่าการประกันภัย ต่อเดือน ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน
การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 3พฤษภาคม 2551 ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (300,000 * )/12 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน ((2, * 11.20)* 0.01)/12 20.13 บาท รวมเป็นเงิน 51.48 บาท บริษัทจะทำการขายหน่วยลงทุน เพื่อชำระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น เป็นจำนวน 4.62 หน่วย (51.48/11.15) นาย ข เหลือหน่วยลงทุน 2, หน่วย (2, ) 3 มีค.51 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย 2, หน่วย COI = ฿ COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ ค่าบริหารกธ.= 20.13฿
53
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ในเดือนต่อมา (วันที่ 3 มิถุนายน 2551) -นาย ข ชำระเบี้ยประกันภัย 30,000 บาท -ราคาประเมินของหน่วยลงทุน (NAV) กองทุน A หน่วยละ บาท -ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ บาท
54
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ชำระเบี้ยประกันภัย 30, บาท ค่าใช้จ่ายหักจากเบี้ยฯ 6, บาท ค่าการประกันภัยต่อเดือน (300,000 * )/12 31.35 บาท ((2, * 11.25) + 24,000) * 0.01/12) ค่าบริหารกรมธรรม์ต่อเดือน 40.18 บาท นาย ข เหลือเงินที่จะนำไปซื้อหน่วยลงทุน (24,000 – 71.53) 23, บาท 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 มีค.51 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ 2, หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.13฿ 4, หน่วย ค่าบริหารกธ.= 40.18฿ 3 มิย.51
55
นาย ข มี หน่วยลงทุนทั้งสิ้น
การคำนวณเงินผลประโยชน์ นาย ข มี หน่วยลงทุนทั้งสิ้น 4, หน่วย (2, ,132.66)
56
กรณีที่ 2 บริษัทบอกล้างสัญญา
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 2 บริษัทบอกล้างสัญญา หากในเดือนต่อมา -บริษัทสืบทราบว่า นาย ข เป็นโรคเบาหวาน และไม่ได้แถลงในใบคำ ขอเอาประกันภัย บริษัทบอกล้างสัญญาในวันที่ 1 เมษายน 2551 -ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนของกองทุน A หน่วยละ บาท -นาย ข จะได้รับเงินคืนทั้งหมด เท่าใด
57
การคำนวณเงินผลประโยชน์
บริษัทบอกล้างสัญญา วันที่ 1 เมษายน 2551 ค่าใช้จ่ายหักจาก เบี้ยประกันภัย 6, บาท (300,000 * )/12 ค่าการประกันภัย ต่อเดือน 31.35 บาท (24,000 * 0.01/12) ค่าบริหารกรมธรรม์ ประกันภัยต่อเดือน 20.00 บาท (2, * 11.12) ค่าขายหน่วยลงทุน 24, บาท 3 มีค.51 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 บอกล้างสัญญา 1 เมย.51
58
การคำนวณเงินผลประโยชน์
นาย ข ได้เงินคืนรวม 30, บาท
59
กรณีที่ 3 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 3 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ภายใน 15 วัน หากในวันที่ 10 มีนาคม 2551 นาย ข ขอยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ 10.05 บาท นาย ข จะได้รับเงินคืนเท่าใด
60
การคำนวณเงินผลประโยชน์
บอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ภายใน 15 วัน ค่าใช้จ่ายหักจาก เบี้ยประกันภัย 6, บาท ค่าการประกันภัย ต่อเดือน (300,000 * )/12 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัย ต่อเดือน (24,000 * 0.01/12) 20.00 บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (2, * 11.05) 23, บาท หักค่าใช้จ่ายในการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย บาท 3 มีค.51 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 ขอยกเลิก 10 มีค.51
61
การคำนวณเงินผลประโยชน์
นาย ข ได้เงินคืนรวม 29, บาท
62
กรณีที่ 4 ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 4 ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต นาย ข เสียชีวิต ในวันที่ 15 เมษายน 2551 ผู้รับผลประโยชน์แจ้งเรื่องการเสียชีวิตของผู้เอา ประกันภัยในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ 11.20 บาท ณ วันที่ 17 เมษายน 2551 ผู้รับผลประโยชน์จะได้รับเงินดังนี้
63
ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต จำนวนเงินเอาประกันภัย
การคำนวณเงินผลประโยชน์ ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ11.20 บาท ผู้รับผลประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงินดังนี้ ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ค่าขายหน่วยลงทุน (2, * 11.20) 24, บาท จำนวนเงินเอาประกันภัย 300, บาท ผู้รับประโยชน์ จะได้รับเงิน 324, บาท 3 มีค.51 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ แจ้งบริษัท 17 เมย.51
64
กรณีที่ 5 เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 5 เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หาก นาย ข มาขอเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัยในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ 11.20 บาท นาย ข จะได้รับเงินดังนี้
65
การคำนวณเงินผลประโยชน์
เวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย ค่าขายหน่วยลงทุน (2, * 11.20) 24, บาท ค่าการประกันภัยส่วนที่ ยังไม่ได้รับความคุ้มครอง ของเดือนเมษายน (31.35 * 15/30) 15.68 บาท รวมเงินที่ได้ 24, บาท 3 มีค.51 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ เวนคืน 17 เมย.51
66
กรณีที่ 6 ผู้เอาประกันภัย ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 6 ผู้เอาประกันภัย ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย หากนาย ข ระบุผู้รับประโยชน์สองคนคือ นาง ค และ นาย ง ต่อมานาย ข ถูกนาง ค ฆาตกรรม ในวันที่ 15 เมษายน นาย ง แจ้งบริษัทประกันชีวิตในวันที่ 17 เมษายน 2551 ราคารับซื้อหน่วยลงทุนกองทุน A ราคาหน่วยละ บาท นาย ง จะได้รับเงินเท่าใด
67
ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย จำนวนเงินเอาประกันภัย ส่วนของนาย ง
การคำนวณเงินผลประโยชน์ ถูกผู้รับประโยชน์ฆ่าตาย ค่าขายหน่วยลงทุน 24, บาท (2,156.8 * 11.20) จำนวนเงินเอาประกันภัย ส่วนของนาย ง 150,000 บาท (300,000/2) รวมเงินที่ได้ 174, บาท 3 มีค.51 2, หน่วย COI = ฿ ค่าบริหารกธ.= 20฿ 3 เมย.51 3 พค.51 2,156.8 หน่วย ค่าบริหารกธ.= 20.08฿ แจ้งบริษัท 17 เมย.51
68
กรณีที่ 7 ผู้เอาประกันภัย
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 7 ผู้เอาประกันภัย แถลงอายุคลาดเคลื่อน กรณีแถลงอายุต่ำกว่าความจริง หากนาย ข แถลงอายุในใบคำขอเอาประกันชีวิต 35 ปี แต่อายุจริง 40 ปี ค่าการประกันภัยอายุ 35 ปี และ 40 ปี เท่ากับ 1.055 บาท และ บาท ต่อจำนวนเงินเอาประกันภัย 1,000 บาท ตามลำดับ
69
การคำนวณเงินผลประโยชน์
กรณีนาย ข ยังมีชีวิตอยู่ บริษัทสืบทราบว่า นาย ข แถลงอายุต่ำกว่าอายุจริง ใน วันที่ 17 เมษายน 2551 นาย ข จะต้องชำระค่าการประกันภัยเพิ่มอีก ในเดือน ใดบ้าง เป็นจำนวนเท่าใด
70
การคำนวณเงินผลประโยชน์
วันที่ 17 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย อายุ 35 ปี (300,000 * /12) 26.38 บาท ค่าการประกันภัย อายุ 40 ปี (300,000 * /12) 31.35 บาท นาย ข ต้องชำระ เบี้ยประกันภัยเพิ่มเติม (บริษัทจะเรียกเบี้ยประกันภัยส่วนที่นาย ข ชำระขาดในเดือนเมษายนเท่านั้น ) 4.97 บาท
71
การคำนวณเงินผลประโยชน์
กรณีนาย ข เสียชีวิต -บริษัทสืบทราบว่า นาย ข แถลงอายุต่ำกว่าอายุจริง ใน วันที่ 17 เมษายน 2551 -ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับผลประโยชน์ มรณกรรม เท่าใด
72
ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงิน
การคำนวณเงินผลประโยชน์ วันที่ 17 เมษายน 2551 ค่าการประกันภัย บาท 300,000 บาท ค่าการประกันภัย บาท (300,000 * 26.38/31.35) 252, บาท ผู้รับประโยชน์ของนาย ข จะได้รับเงิน (252, ,156.16) 276, บาท
73
การคำนวณเงินผลประโยชน์
กรณีแถลงอายุสูงกว่าความเป็นจริง -นาย ข อายุจริง 35 ปี แต่แถลงอายุในใบคำขอเอา ประกันภัย 40 ปี -บริษัทสืบทราบในวันที่ 17 เมษายน 2551 ว่านาย ข แถลงอายุสูงกว่าอายุจริง กรณีนี้ไม่ว่านาย ข จะเสียชีวิต หรือมีชีวิตอยู่ บริษัทประกันชีวิตจะคืนค่าการประกันภัยที่เก็บไว้เกิน 2 เดือน
74
การคำนวณเงินผลประโยชน์
กรณีนาย ข แถลงอายุคลาดเคลื่อนโดยอายุจริงอยู่นอกพิกัดอัตราทางการค้าปกติ บริษัทจะบอกล้างสัญญา
75
กรณีที่ 8 กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 8 กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ หากมูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยมีไม่เพียงพอที่จะชำระค่าการประกันภัย และค่าธรรมเนียม งวดประจำเดือนใด -บริษัทจะให้ความคุ้มครองเต็มเดือนนั้น -และหากผู้เอาประกันภัยยังไม่ได้ชำระเบี้ยประกันภัยภายใน เดือนนั้น กรมธรรม์ประกันภัยจะสิ้นผลบังคับเมื่อสิ้นเดือนนั้น วันที่ 3 เมษายน 2551 นาย ข ต้องชำระค่าการประกันภัย และค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัยดังนี้
76
การคำนวณเงินผลประโยชน์
ค่าการประกันภัย ประจำเดือนเมษายน 31.35 บาท ค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัย 20.08 บาท (รวม ) 51.43 บาท มูลค่าบัญชีกรมธรรม์ประกันภัยมีหน่วยลงทุนเหลือ 3 หน่วย ราคารับซื้อคืนหน่วยลงทุน (Bid Price) หน่วยละ บาท ค่าขายหน่วยลงทุน (3 * 11.10) 33.30 บาท จำนวนเงินขายหน่วยลงทุน ทำให้ได้รับความคุ้มครอง (30 * 33.30/51.43) 19 วัน บริษัทจะคุ้มครองจนถึงวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 หากนาย ข ไม่ชำระเบี้ยประกันภัยภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 กรมธรรม์ประกันภัยจะสิ้นผลบังคับ
77
กรณีต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัย
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัย หากนาย ข มีความประสงค์จะต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัย นาย ข จะต้อง ชำระเบี้ยประกันภัยและ ชำระหนี้สิน ในส่วนของหนี้สินคือค่าการประกันภัย และค่าบริหารกรมธรรม์ประกันภัยส่วนที่ขาด
78
นาย ข ต้องชำระหนี้สินเป็นจำนวน
การคำนวณเงินผลประโยชน์ นาย ข ต้องชำระหนี้สินเป็นจำนวน บาท (51.43 – 33.30)
79
กรณีที่ 9 หยุดพักชำระเบี้ยประกันภัย
การคำนวณเงินผลประโยชน์ กรณีที่ 9 หยุดพักชำระเบี้ยประกันภัย เมื่อถึงกำหนดชำระเบี้ยประกันภัย ผู้เอาประกันภัยไม่ชำระเบี้ยประกันภัย บริษัทจะขายหน่วยลงทุนชำระค่าการประกันภัยและค่าธรรมเนียมให้
80
ถาม-ตอบ
81
ขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.