ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิชา การขนส่งทางอากาศ
วิชา การขนส่งทางอากาศ ผู้บรรยาย พ.ท.ชูชาติ ตะระโสภณ พ.ท.พงศ์นิกูล ไชยะบุรินทร์
2
ความหมายของการขนส่ง “การขนส่ง” หมายถึง การจัดให้มีการเคลื่อนย้ายบุคคล สัตว์ หรือสิ่งของต่างๆ ด้วยเครื่องมือ และอุปกรณ์ในการขนส่งจากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง ตามความประสงค์ และเกิดอรรถประโยชน์ตามต้องการ
3
ความสำคัญของการขนส่ง
ช่วยให้ ปชช.มีมาตรฐานการครองชีพดีขึ้น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ช่วยกระจายความเจริญเติบโต มีการเปลี่ยนแปลงของสังคม
4
ความสำคัญของการขนส่ง
ช่วยให้การติดต่อสื่อสารสะดวกขึ้น ช่วยให้มาตรฐานการศึกษาดีขึ้น ช่วยเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพิ่มความมั่นคงให้กับประเทศ
5
หลักการขนส่งทางอากาศ
1. พร้อมที่จะใช้งานได้ รวดเร็ว ไม่ยุ่งยาก 2. มีอิสระในการใช้ 3. ใช้เท่าที่จำเป็น และมีการควบคุมทุกขั้นตอน เพื่อประหยัดงบประมาณ
6
การขนส่ง แบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท คือ
ประเภทของการขนส่ง การขนส่ง แบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท คือ - การขนส่งทางถนน หรือทางรถยนต์ (Road Transportation) - การขนส่งทางน้ำ (Water Transportation) - การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation) - การขนส่งทางรถไฟ (Railroad Transportation) - การขนส่งทางท่อ (Pipelines Transportation)
7
กรมการขนส่งทหารบก ทำหน้าที่บริการขนส่งทางอากาศอย่างจำกัด
เคลื่อนย้ายกำลังพล และสิ่งอุปกรณ์ให้ถึงสนาม รบในแนวหน้าได้ทันเวลา การขนส่งทุกอย่างต้องเสียเวลา ค่าใช้จ่าย เป็นหน่วยงานที่บ่งชี้ในการเลือกใช้ประเภท การขนส่งให้เหมาะสม และการขนส่งที่เสียเวลา น้อยที่สุด
8
ความเป็นมาของการขนส่งทางอากาศ
หลายพันปีมาแล้ว มนุษย์เราเฝ้าสังเกตดูนก และอยากบินได้เหมือน นก แต่พวกนกนั้น มีกล้ามเนื้อแข็งแรง กระดูกเบา มีขนป้องกันการ ไหลทะลุผ่านอากาศ แต่มนุษย์ไม่เหมาะที่จะบินด้วยกำลังของตนเอง เพราะมีกล้ามเนื้อที่ไม่แข็งแรงพอ ไม่มีโครงกระดูกที่จะลดน้ำหนัก ไม่มีหัวใจสูบฉีดโลหิตได้เร็วพอ จึงบินไม่ขึ้น
9
ความเป็นมาของการขนส่งทางอากาศ
ค.ศ นายลีโอนาโด ดาวินซี ได้ร่างแบบอุปกรณ์การบิน ได้ในหลายๆรูปแบบ ซึ่งเลียนแบบการกระพือปีก ของนก ผลงานถูกลืมเลือนไปกว่า 300 ปี ค.ศ.1783 สองพี่น้องสกุลมองต์โกลฟีเยร์ (โจเซฟ และแจ๊คควิส) สร้างบอลลูนได้สำเร็จ โดยบรรจุอากาศร้อนไว้ภายใน บอลลูนเพื่อให้เกิดแรงยก เพราะอากาศร้อนเบากว่า อากาศเย็น ทำให้ความหนาแน่นรวมของบอลลูนต่ำ กว่าความหนาแน่นของอากาศโดยรอบ จึงลอยขึ้น
11
ต่อมาในปีเดียวกัน ศาสตราจารย์ ชารลส์ แห่งนครปารีส ได้ใช้ก๊าซ
ไฮโดรเจนบรรจุเข้าไปในบอลลูน แทนที่จะใช้อากาศร้อน บอลลูนก็ ลอยขึ้นไปในอากาศได้เช่นเดียวกัน และการที่จะให้บอลลูนมีขีด ความสามารถเพิ่มขึ้น เขาได้ใช้หัวเผาไหม้ตรงฐานบอลลูน ทำให้ก๊าซ ไฮโดรเจนซึ่งสามารถทำให้บอลลูนลอยได้อยู่แล้ว ก็ร้อนยิ่งขึ้นไปอีก จึงทำให้บอลลูนลอยสูงขึ้นไปอีก แล้วยังสามารถยกตะกร้าและผู้โดยสาร ขึ้นจากพื้นได้เป็นอย่างดี
12
ค.ศ เซอร์ จอร์จ เคย์ลีย์ ชาวอังกฤษ ได้ออกแบบรูปร่างของเครื่องบินบนจานเงิน และยังเป็นบุคคลแรก ที่เขียนแผนภาพของแรงยก-แรงต้าน ปัจจุบันนี้ จานเงินดังกล่าวถูกเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ ณ กรุงลอนดอน ค.ศ เขาได้สร้างเครื่องร่อนยาว 5 ฟุต ปีกเป็นรูปว่าว คล้ายปลากะเบน และสามารถร่อนไปได้เพียงระยะสั้นๆ เท่านั้น
13
ค.ศ.1891 ออตโตลิเลียนทาล (Otto Lilienthal) วิศวกรเยอรมัน ศึกษาแรงที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของนกในอากาศ ว่าปีกที่เป็นอุ้งโค้งจะให้แรงยกได้ดีกว่าปีกที่แบนราบ และได้นำเครื่องร่อนที่สร้างไว้ทดลองบิน ค.ศ เกิดลมแปรปรวน กรรโชกอย่างแรง หางเสือบังคับหลุด จึงบังคับเครื่องร่อนไม่ได้ เครื่องร่อนพร้อมร่างของเขาจึงตกจากระยะสูง 50 ฟุต กระแทกพื้น
14
ค.ศ.1896 นายแซมมูเอล พี.แลงลีย์
(Sammuel P. Langley) ชาวอเมริกัน ซึ่งขณะนั้น เป็นเลขาธิการของสถาบันสมิทโซเนียน ประดิษฐ์ เครื่องยนต์ติดกับเครื่องบินขนาดเล็ก แล้วปล่อยบินไปได้ ไกลเกือบไมล์ ค.ศ.1898 เขาได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลสหรัฐฯ เพื่อสร้าง เครื่องบินที่คนสามารถขึ้นไปนั่งได้ แต่ไม่สำเร็จ เครื่องตกลง แม่น้ำ
15
ค.ศ. 1901 สองพี่น้องช่างซ่อมจักรยานตระกูลวไรท์
วิลเบอร์ และออร์วิล (Wilbur&Orville Wright) ทดลองสร้างเครื่องร่อนทดลองบินบนหาดทราย ค.ศ สร้างอุโมงค์ทดลองหาภาคตัดปีก ใบพัด หางเสือปรับมุมได้ ค.ศ.1903 ติดตั้งเครื่องยนต์เบนซิน 4 กระบอกสูบ กำลัง แรงม้า น้ำหนัก 90 ก.ก. ให้เครื่องบิน “ฟลายเออร์” รวมน้ำหนักกว่า 200 ก.ก. ได้ทำการบินสำเร็จ ณ วันที่ 17 ธ.ค. ใช้เวลา 12 วินาที ใช้ระยะทางประมาณ 37 เมตร จากจุดวิ่งขึ้น
18
ประวัติและวิวัฒนาการ การบิน ทบ.ไทย (ยุคแรก)
2454 มีการแสดงการบินที่สนามม้าสระประทุม ซึ่งนักบิน คนแรกของไทย (พล.อ.ท.พระยาเฉลิมอากาศ) ก็ร่วมทดลอง ต่อมา ร.6 ได้ส่งนายทหาร 3 นาย ไปเรียนบิน ณ ฝรั่งเศส 2456 ตั้ง แผนกการบิน ขึ้นกับ กรมจเรทหารช่าง โดยกรมหลวง พิษณุโลกประชานารถ (เสธ.ทบ.) มี เบร์เกต์ปีก 2 ชั้น 3 ลำ และ นิเออพอร์ตปีกชั้นเดียว 5 ลำ เก็บไว้ ณ วังสระประทุม มี.ค. 57 ขยายเป็น กองการบินทหารบก ไปตั้งที่ดอน เมือง เปิดรับบุคคลเข้าเรียนเป็นนักบินขึ้นกับ กรมจเรทหาร ช่าง ถือเอาวันนี้เป็น วันที่ระลึกกองทัพอากาศ
19
2460 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 นำกำลังพลส่วนหนึ่งมาจัดตั้ง
เป็น กองบินทหารบก (แยกกับกองการบินทหารบก)ไปร่วม รบกับพันธมิตรที่ฝรั่งเศส 2461 กองการบินทหารบกรวมกับกองบินทหารบกตั้งเป็น กรมอากาศยานทหารบก ขึ้นกับ กรมเสนาธิการทหารบก 3 ปี ต่อมาเเปรเป็น กรมอากาศยาน ขึ้นกับเสนาบดี กระทรวงกลาโหม 4 ปีต่อมา เป็นกรมทหารอากาศ เม.ย. 80 ยกฐานะเป็น กองทัพอากาศ จึงถือเป็น วันกองทัพอากาศของทุกปีเรื่อยมา (ประกาศสำนักนายกฯ 26 มี.ค.41)
20
พล.อ.ท.พระยาเฉลิมอากาศ น.อ.พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ น.อ.พระยาทะยานพิฆาต (สุณี สุวรรณประทีป) (หลง สิน-ศุข) (ทิพย์ เกตุทัต)
21
ประวัติและวิวัฒนาการ การบิน ทบ.ไทย (ยุคปัจจุบัน)
ทบ.จัดตั้ง แผนกวิชาการบินตรวจการณ์ที่ ศป. ทบ.ส่งคน ไปเรียนบิน และช่างซ่อมฯ กับ ทอ. มีบางส่วนไปเรียนที่ สรอ. และ สรอ.ส่งเจ้าหน้าที่มาช่วยเหลือ และให้คำปรึกษาด้านกิจการ การบินทหารบกมาประจำ ณ ศป. ( พ.ต.แมคคาเนย์ ) 2497 ทอ.ขาย บ.L-4 จำนวน 22 ลำ, L-5 จำนวน 5 ลำ ให้ ทบ. 2499 เปลี่ยนจาก แผนกวิชาการบินตรวจการณ์เป็น กองโรงเรียน การบิน ศป. ซึ่ง สรอ. ได้มอบ บ.ต.19 จำนวน 6 ลำ ให้ ทบ.
22
สรอ.ส่ง บ.ต.19 ให้อีก 36 ลำ, บ.ท.20 อีก 4 ลำ
กอง รร.การบิน ศป. ได้แปรเป็น รร.การบิน ศป. เปิดหลักสูตร การบิน ทบ.และช่างซ่อมอากาศยาน ตั้งชุดซ่อม บ.ทบ. 2510 รร.การบิน ศป. แปรเป็น รร.การบิน ทบ. และย้ายไป อยู่ที่ตั้งใหม่ ณ บริเวณเขาสระพรานนาค ตั้งร้อย ซบร.บ.ทบ. สังกัด ขส.ทบ. รร.การบิน ทบ.แปรเป็น กรมการบินทหารบก กรมการบินทหารบก แปรเป็น ศูนย์การบินทหารบก และได้รับพระราชทานนามค่ายจากสมเด็จพระศรีนครินทราฯ เป็นค่ายสมเด็จพระศรีนครินทรา
23
PIPER L-4 GRASSHOPPER
24
STINSON L-5 (U-19A) SENTINEL
25
CESSNA L-19 BIRDDOG
26
CESSNA L-19 BIRDDOG
27
บ.ท.20
28
14 มิ.ย. 12 ร.ท.ชูชาติ วณีสอน (ร้อยบินปีกหมุน ทภ.3) บิน ฮ.ไป
ปฏิบัติภารกิจส่งกำลังบำรุง สป.5 และส่งกลับสายแพทย์ ให้ ร.พัน 3 ณ ฐานปฏิบัติการบ้านผาแลเหนือ อ.เทิง จ.เชียงราย ซึ่ง ร.ท.ชูชาติฯ ได้บินฝ่าห่ากระสุนของ ผกค. เข้าไปช่วยเหลือหน่วย ร.พัน 3 ที่กำลัง ถูก ผกค.โจมตีอย่างหนัก ร.ท.ชูชาติฯ ได้ถูกยิง แต่ท่านก็ได้ฝืนใจ ลำเลียงกำลังพลที่บาดเจ็บ กลับสู่ฐานได้อย่างปลอดภัย แต่ตนก็ได้ เสียชีวิตทันทีที่ถึงฐาน จึงถือวันที่ 14 มิ.ย. ของทุกปี เป็น วันการบินทหารบก
29
ประวัติและวิวัฒนาการบิน ทบ.สหรัฐ
2484 ทบ.สรอ.เริ่มนำ บ.เบามาสนับสนุนการรบภาคพื้นให้ หน่วยปืนใหญ่ เพื่อตรวจตำบลกระสุนตก ณ หลุยเซียน่า 2485 เปิดหลักสูตรบิน ณ ฟอร์ดซิล ใช้ บ.เบา 2490 ทบ.มี บ.เบา นักบินและช่างประจำหน่วยในอัตรา ส่วน ทอ.ยังดำเนินการซ่อมขั้นสนาม และประจำที่(คลัง) 2492 ทบ.ได้รับอนุมัติให้ทำการซ่อมบำรุงได้ถึงขั้นสนาม โดยสรรพาวุธ ทบ. ส่วน ทอ.ยังคงทำการซ่อมขั้นคลัง 2493 ใช้ L 19 ตรวจการณ์ และ มีการตั้งกองร้อยทหารขนส่ง เฮลิคอปเตอร์ขึ้นเป็นครั้งแรก (ช่วงสงครามเกาหลี)
30
2494 มีการใช้ ฮ.ปฏิบัติภารกิจส่งกลับสายแพทย์
ทบ.สรอ. มีคำสั่งโอนภารกิจซ่อมบำรุงขั้นสนามจาก สรรพาวุธ มาให้เหล่าขนส่ง 2499 ขส.ทบ.สรอ.รับผิดชอบการซ่อมบำรุงขั้นประจำที่ 2505 สหรัฐได้จัดกองทัพบกใหม่ และได้โอนความ รับผิดชอบบางอย่าง ไปยังหน่วยยุทโธปกรณ์ กองทัพบก
31
ประโยชน์และข้อดีข้อเสีย ของการขนส่งทางอากาศ
ประโยชน์ที่นำมาใช้เฉพาะ 1. สามารถปฏิบัติภารกิจได้มากขึ้น 2. ใช้ความได้เปรียบที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ กับภารกิจมากที่สุด
32
ข้อดี 1. มีความเร็วสูง - เสียเวลาการเดินทางน้อย
1. มีความเร็วสูง - เสียเวลาการเดินทางน้อย - เพิ่มเที่ยวขนได้มากขึ้น - เลือกเวลาเดินทางได้ 2. มีความอ่อนตัว เพราะปราศจากสิ่งกีดขวาง 3. มีความพร้อมในการปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว
33
ข้อเสีย 1. บรรทุกน้ำหนักได้น้อย 2. การลงทุนและค่าใช้จ่ายสูงมีความสิ้นเปลืองมาก 3. จำกัดด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกสถานีปลายทาง 4. การปฏิบัติการบินขึ้นอยู่กับดินฟ้าอากาศ ปฏิบัติการของข้าศึก 5. เทคนิคในด้านการบิน และการซ่อมบำรุงยุ่งยาก ซับซ้อน
34
อากาศยานในโครงการช่วยเหลือของสหรัฐฯ
2497 สหรัฐฯได้ส่ง จนท.ที่ปรึกษาทางการทหาร มาประจำที่ศูนย์การทหารปืนใหญ่ 2498 คัดเลือกนักบินและช่างไปศึกษาที่ สหรัฐฯ เมื่อศึกษาจบ สหรัฐฯ ได้มอบอากาศแบบ บ.ต.19 จำนวนหนึ่ง
35
2500 สหรัฐฯได้ส่ง บ.ต.19 อีกจำนวน 36 เครื่อง
และในปีนั้นเอง ศูนย์การทหารปืนใหญ่ ได้จัดตั้งโรงเรียนการบินทหารบก และผลิต ช่างเครื่องบินประจำหน่วย เมื่อ ต่อมา ทบ.ไทย ได้รับเครื่องบิน จากสหรัฐฯ ประเภท ปีกติดลำตัว และปีกหมุนแบบต่างๆ
36
เช่น บ.ต.19 , บ.ท.17 , บ.ฝ.41 , ฮ.ท.1 , ฮ.ล.47 รวมทั้งการส่งกำลังและซ่อมบำรุง บ.ทบ. และงดการ ช่วยเหลือเมื่อสงครามเวียตนามยุติลง
37
หลักการใช้การขนส่งทางอากาศ
1. พร้อมที่จะใช้งานได้ โดยหน่วยบินที่สนับสนุนนั้นต้องอยู่ใกล้กับหน่วยขอรับการสนับสนุน 2. มีอิสระในการใช้ ผู้บังคับหน่วยทางภาคพื้นดินจะต้องมีอิสระในการใช้หน่วยอากาศยานพอสมควร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการยุทธนั้น
38
3. ประหยัดการใช้ เนื่องจากการขนส่งทางอากาศมีข้อเสียในด้านการลงทุน ค่าใช้จ่ายในการบินและการซ่อมบำรุง มีความสิ้นเปลืองมาก แต่ถ้าภารกิจนั้นมีความสำคัญเร่งด่วนไม่สามารถใช้วิธีการขนส่ง อย่างอื่นให้บรรลุภารกิจได้เลือกใช้การขนส่งทางอากาศ
39
หน่วยความเร็วของอากาศยาน
1 น๊อต [ Knot (Kt.) ] = 1 ไมล์ทะเล ต่อ หนึ่งชั่วโมง มัค 1 (Mach 1) = Kt. หรือ 1,225 กม./ชม. หน่วยระยะทางที่ใช้ 1 ไมล์ทะเล [ Nautical Mile (Nm.) ] = กิโลเมตร 1 ไมล์บก [ Statute Mile ] = กิโลเมตร 1 ไมล์ทะเล = ไมล์บก
44
โจทย์ อากาศยาน ฮ.ท.212 (Bell 212) ต้องการเดินทางจากจุด
A ไปยังจุด B ซึ่งจากการวัดระยะทางบนแผนที่แล้ว จุด B ห่างจากจุด A คือ 120 ไมล์ทะเล (Nautical mile) จงคำนวณเวลา เดินทาง (ฮ.ท.212 มีความเร็วเดินทาง 100 knots หรือ 100 ไมล์ทะเล ต่อ ชม.) วิธีทำ บัญญัติไตรยางค์ ระยะ 100 ไมล์ทะเล ใช้เวลาเดินทาง 60 นาที ระยะ 120 ไมล์ทะเล ,,__________,, 120 * 60/100 120 * 0.6 = 72 นาที
45
โจทย์ อากาศยาน บ.ท.1900 (Beechcraft) ต้องการเดินทางจากจุด
A ไปยังจุด B ซึ่งจากการวัดระยะทางบนแผนที่แล้ว จุด B ห่างจากจุด A คือ 120 ไมล์ทะเล (Nautical mile) จงคำนวณเวลา เดินทาง (บ.ท.1900 มีความเร็วเดินทาง 240 knots หรือ 240 ไมล์ทะเล ต่อ ชม. วิธีทำ บัญญัติไตรยางค์ ระยะ 240 ไมล์ทะเล ใช้เวลาเดินทาง 60 นาที ระยะ 120 ไมล์ทะเล ,,__________,, 120 * 60/240 120 * 1/4 หรือ 120 * 0.25 = 30 นาที
46
โจทย์ อากาศยาน บ.ท.41 (Jetstream) ต้องการเดินทางจากจุด
ก. ไปยังจุด ข. ซึ่งจากการวัดระยะทางบนแผนที่แล้ว จุด ข. ห่างจากจุด ก. คือ 100 ไมล์ทะเล (Nautical mile) จงคำนวณเวลาเดินทาง (บ.ท.41 มีความเร็วเดินทาง 240 knots หรือ 240 ไมล์ทะเล ต่อ ชม. วิธีทำ บัญญัติไตรยางค์ ระยะ 240 ไมล์ทะเล ใช้เวลาเดินทาง 60 นาที ระยะ 100 ไมล์ทะเล ,,__________,, 100 * 60/240 100 * 1/4 หรือ 100 * 0.25 = 25 นาที
47
โจทย์ อากาศยาน บ.ล.212 (CASA) ต้องการเดินทางจากจุด
A ไปยังจุด B ซึ่งจากการวัดระยะทางบนแผนที่แล้ว จุด B ห่างจากจุด A คือ 120 ไมล์ทะเล (Nautical mile) จงคำนวณเวลา เดินทาง (บ.ล.212 มีความเร็วเดินทาง 160 knots หรือ 160 ไมล์ทะเล ต่อ ชม.) วิธีทำ บัญญัติไตรยางค์ ระยะ 160 ไมล์ทะเล ใช้เวลาเดินทาง 60 นาที ระยะ 120 ไมล์ทะเล ,,__________,, 120 * 60/160 120 * 0.375 = 45 นาที
49
องค์ประกอบของการขนส่งทางอากาศ
1. อากาศยาน 2. หน่วยบิน 3. ท่าอากาศยาน 4. สิ่งอำนวยความสะดวก ระหว่างเส้นทางบิน
50
อากาศยาน คือ ยานพาหนะที่เคลื่อนที่ไปในอากาศ โดยอาจอาศัยแรง
ลมพัดไป หรือ ใช้แรงดันจากเครื่องจักรกลชนิดใดก็ได้ที่ ติดตั้งไว้ในอากาศยานนั้นๆ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. เบากว่าอากาศ ได้แก่ บอลลูน เรือเหาะ มีลักษณะเป็น ลูกโป่งขนาดใหญ่ เปลือกเบาแต่เหนียว บินได้โดยอัดอากาศ ร้อน อัดก๊าซไฮโดรเจน หรือก๊าซอื่นๆ เข้าไป 2. หนักกว่าอากาศ ได้แก่ เครื่องบิน เครื่องร่อน เฮลิคอปเตอร์ เคลื่อนที่ไปโดยอาศัยจากปีกหรือโรเตอร์
52
เครื่องบินที่จะบินไปในอากาศได้นั้น จะต้องมีหลักและทฤษฎีการบินในอากาศประกอบด้วยแรง 4 แรง คือ
55
1. แรงขับ (THRUST) หรือพลังขับเคลื่อนเป็นแรงที่ทำให้เครื่องบิน เคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ แรงขับได้มา
จากเครื่องยนต์ของเครื่องบิน ถ้าต้องการไปข้างหน้าได้เร็วขึ้น ก็ต้องเพิ่มแรงขับมากขึ้น หรือ เร่งเครื่องยนต์ นั่นเอง (ป้อนน้ำมันเพิ่ม) แต่ถ้าให้เครื่องบินช้าลง ก็ทำได้โดยลดแรงขับ หรือผ่อนเครื่องยนต์ให้เบาลง (ลดปริมาณน้ำมัน)
56
2. แรงต้าน (DRAG) คือ เป็นแรงที่มีการกระทำตรงกันข้าม กับแรงที่ขับเคลื่อน (THRUST) นี่ก็คือแรงเสียดทานของอากาศ ที่ผ่านส่วนต่างๆ ของเครื่องบิน แรงต้านเกิดจากการกระทบของอากาศต่อพื้นผิวเครื่องบิน ก่อให้เกิดการเสียดทานบนพื้นผิวเครื่องบิน
57
3. แรงยก (LIFT) เกิดขึ้นโดยความกดอากาศต่ำ ที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวด้านบนของปีก เมื่อเปรียบเทียบกับความกดอากาศที่เกิดขึ้นที่พื้นผิวด้านล่างของปีก หรือแรงยกก็คือ แรงที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวด้านบนของปีก น้อยกว่า แรงที่เกิดขึ้นที่พื้นผิวด้านล่างของปีก ทำให้เกิดแรงยกขึ้นด้านบนที่ปีกของเครื่องบิน
58
ลักษณะรูปร่างของปีกเครื่องบิน ถูกออกแบบมาให้
อากาศที่พัดไหลผ่านด้านบนของปีก จะมีระยะที่ อากาศต้องเดินทางมากกว่า จึงทำให้ไหลผ่านเร็ว กว่าด้านล่าง ทำให้เกิดความกดอากาศต่ำ (ตามรูป) จึงทำให้ปีกถูกยกขึ้นแรงยก เป็นแรงที่กระทำตรง กันข้ามกับน้ำหนัก หรือแรงดึงดูดของโลก
60
Airfoil หมายถึง พื้นผิวของเครื่องบิน ซึ่งช่วยให้เกิดแรงทางด้านแอร์โร่ไดนามิค มีการเคลื่อนที่ของอากาศผ่านพื้นผิว ปีกก็จะสร้างแรงยกเมื่อมีอากาศไหลผ่านเท่านั้น ส่วนของ Airfoil มี
61
- ชายปีกหน้า (Leading Edge)
- ชายปีกหลัง (Trailing Edge) - เส้นสมมติตัดผ่านด้านทางข้างของผิวปีก (Chord line) - พื้นผิวปีก (Camber) - ทิศทางสัมพันธ์ของอากาศ (Relative Wind) - มุมปะทะ (Angle of attack)
62
Asymetrical Airfoil
63
4. แรงถ่วง (WEIGHT) เป็นแรงซึ่งเกิด
ตรงกันข้ามกับแรงยก แรงถ่วงเกิดจากแรงดึงดูด ของโลกกระทำต่อตัวเครื่องบิน นักบิน ลูกเรือ ผู้โดยสาร สป.3 และสินค้าของทั้งหมดที่อยู่บน เครื่องบิน นั้นก็คือน้ำหนักทั้งหมดของเครื่องบิน นั่นเอง
65
แกนแนวตั้ง (vertical Axis), ทำ Yaw
แกนขวาง (Lateral Axis), ทำ Pitch แกนตามยาว (longitudinal Axis),ทำ Roll
66
หลักการบินของเฮลิคอปเตอร์
แรงยก (lift) ของเฮลิคอปเตอร์ ได้มาจากการหมุน ใบพัดหลัก (Main Rotor) และในเวลาเดียวกัน ก็จะเกิดแรงบิดต้าน (Reaction torque) หรือแรงหมุนที่ลำตัวของเฮลิคอปเตอร์ด้วย
67
โดยทั่วไป เฮลิคอปเตอร์ที่มี Main rotor ชุดเดียว ก็จะมีใบพัดชุดเล็กที่หาง ซึ่งเรียกว่า Tail Rotor เพื่อใช้ในการต่อสู้กับแรงบิดต้าน สำหรับเฮลิคอปเตอร์ที่มีใบพัดหลัก 2 ชุด เขาจะออกแบบให้ทั้ง 2 ใบพัดหมุนสวนทางกัน เพื่อให้ค่าแรงบิดต้าน (Reaction torque) หักลบกันหมดไป
69
เครื่องบิน แบ่งส่วนใหญ่ๆได้ 2 ส่วน คือ ชุดเครื่องยนต์ (Powerplant)
ตัวเครื่องบิน (Structure)
70
ตัวเครื่องบิน มีส่วนประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน
1. ลำตัว (fuselage) 2. ปีก (Wing) 3. ชุดพวงหาง (Empennage) 4. ฐานล่าง (Landing Gear)
72
- ภารกิจมูลฐาน - ลักษณะโครงสร้าง การแบ่งลักษณะและประเภทของอากาศยาน
อากาศยาน แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ - ภารกิจมูลฐาน - ลักษณะโครงสร้าง
73
ภารกิจมูลฐาน - ATTACK โจมตี AH-1 - CARRIER ลำเลียง C-130
- HELICOPTER เฮลิคอปเตอร์ UH-1,CH-47 - OBSERVATION ตรวจการณ์ O-1 - TRAINER ฝึก T-41 - UTILITY ใช้ฝึกงานทั่วไป UH-1
74
ลักษณะโครงสร้าง - ปีกติดลำตัว (FIXED WING AIRCRAFT)
- ปีกหมุน (ROTARY WING AIRCRAFT)
75
ประเภทปีกติดลำตัว แบ่งตามภารกิจมูลฐานในการใช้งาน ออกเป็น 3 แบบ คือ
แบ่งตามภารกิจมูลฐานในการใช้งาน ออกเป็น 3 แบบ คือ 1. แบบตรวจการณ์ (OBSERVATION TYPE) 1.1 แบบเบา เช่น L-4, L-5, L-19 1.2 แบบกลาง เช่น OV-1, OV-10 2. แบบใช้งานทั่วไป (UTILITY TYPE) เช่น U-17, U-21 3. แบบขนส่งหรือลำเลียง (TRANSPORT TYPE) เช่น C-12, C-5A, C-130
77
ประเภทปีกหมุน แบ่งตามภารกิจมูลฐานในการใช้งาน ออกเป็น 3 แบบ คือ
แบ่งตามภารกิจมูลฐานในการใช้งาน ออกเป็น 3 แบบ คือ 1. แบบตรวจการณ์ (OBSERVATION TYPE) เช่น OH-6,OH-13,HUGES-300 2. แบบใช้งานทั่วไป (UTILITY TYPE) เช่น UH-1 H,UH-60 3. แบบขนส่งหรือลำเลียง (TRANSPORT TYPE) แบ่งออกเป็น 3 พวก
78
3.1 เฮลิคอปเตอร์ขนส่งเบาหรือใช้งานทั่วไป
เช่น UH-212,UH-1 3.2 เฮลิคอปเตอร์ขนส่งกลาง เช่น ฮ.ล.-37 หรือ CH-37 ฮ.ล.-47 หรือ CH-47 3.3 เฮลิคอปเตอร์ขนส่งหนัก เช่น CH-54 หรือ SKY CRANE
80
ลักษณะอันพึงประสงค์ของอากาศยานบรรทุก
ระยะบินไกล รับน้ำหนักบรรทุกได้มาก ห้องบรรทุกสัมภาระใหญ่ ห้องบรรทุกสัมภาระกว้าง และต่ำใกล้พื้นดิน สามารถบรรทุกได้ทางตรง ใช้ทางวิ่งขึ้นและวิ่งลงสั้น
81
มีที่ยึดสัมภาระแข็งแรง
มีพื้นที่แข็งแรง มีรูปร่างเหมาะสมและสะดวกในการทิ้งสัมภาระ ทางอากาศ มีเครื่องมืออุปกรณ์สำหรับการยกขนสัมภาระสร้าง ไว้ประจำอากาศยาน มีความเร็วสูง มีทางเดินของจุดศูนย์ถ่วงยาว
82
ลักษณะของ บ. แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1. เครื่องบินยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องบินใช้ในการยับยั้ง, การรุกรานซึ่งประกอบด้วย ความเร็ว,บินระยะไกล อำนาจในการโจมตี 2. เครื่องบินยุทธวิธี เพื่อเสริมกำลังภาคพื้นดิน คงความยิ่งใหญ่ทางอากาศ มีความคล่องตัวสูง 3. เครื่องบินขนส่ง ใช้สนับสนุนการส่งกำลังบำรุง สำหรับการเคลื่อนย้าย 4. เครื่องบินฝึก ใช้ในการฝึกนักบินในอนาคต
93
หน่วยบินต่างๆ ในกองทัพบก
94
กองทัพบก กรมการขนส่งทหารบก ส่วนบัญชาการ ส่วนกำลังรบ ส่วนภูมิภาค
ส่วนการศึกษา ส่วนสนับสนุนการรบ ส่วนช่วยการพัฒนาประเทศ ส่วนส่งกำลังบำรุง กรมการขนส่งทหารบก
95
กองการบิน กรมการขนส่งทหารบก
96
ประวัติ กองการบิน กรมการขนส่งทหารบก
กองบินขนส่ง กรมการขนส่งทหารบก ได้จัดตั้งตามอนุมัติกองทัพบกเมื่อเดือน สิงหาคม ๒๕๐๑ เป็นหน่วยขึ้นตรงต่อ กรมการขนส่งทหารบก มีภารกิจในการขนส่งทางอากาศ เพื่อสนับสนุนหน่วยในกองทัพบก ที่ตั้งของหน่วยเริ่มแรก อาศัยพื้นที่โรงเก็บอากาศยานในบริเวณสนามบินดอนเมืองเป็นการชั่วคราวมี กองบังคับการ,หมวดบินปีกหมุน และหมวดบินปีกติดลำตัว
97
ตามคำสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ที่ ๘๓/๒๑ ลง ๔ ส. ค
ตามคำสั่ง ทบ.(เฉพาะ) ที่ ๘๓/๒๑ ลง ๔ ส.ค. ๒๐ ใน ๒๑ เมษายน ๒๕๐๔ กองทัพบกได้อนุมัติให้สร้างสนามเฮลิคอปเตอร์ขึ้นในบริเวณพื้นที่ของ กรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ และได้ย้ายกองบังคับการ และหมวดบินปีกหมุน เข้าสู่ที่ตั้งใหม่ ส่วนหมวดบินปีกติดลำตัว ยังคงอยู่ที่สนามบินดอนเมืองเช่นเดิม เนื่องจากอากาศยานปีกติดลำตัว จำเป็นต้องใช้ทางวิ่ง (RUNWAY) ในการวิ่งขึ้น - ลง ซึ่งกองการบิน ขส.ทบ.ได้ยึดถือวันที่ ๒๑ เม.ย. ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนา กองการบิน กรมการขนส่งทหารบก
98
การบริการขนส่งทางอากาศ ส่งกำลัง สป.บ.ทบ.สาย ขส.
ภารกิจ การบริการขนส่งทางอากาศ ส่งกำลัง สป.บ.ทบ.สาย ขส. ซ่อมบำรุง สป.บ.ทบ.สาย ขส. (เฉพาะของ กบบ.ขส.ทบ.)
99
เป็น หน่วยขึ้นตรง กรมการขนส่งทหารบก
การแบ่งมอบ เป็น หน่วยขึ้นตรง กรมการขนส่งทหารบก
100
การจัด อฉก. 3100
101
หน้าที่ และความรับผิดชอบ
อำนวยการ วางแผน ควบคุม กำกับดูแล ให้ข้อเสนอแนะ และดำเนินการเกี่ยวกับการใช้ บ. และ ฮ. อำนวยการ วางแผน ควบคุม กำกับดูแล และดำเนินการซ่อม บำรุง บ.และ ฮ. ตามอัตราของ กบบ.ฯ ขั้นหน่วย และขั้นสนาม อำนวยการ วางแผน ควบคุม และกำกับดูแลคู่มือ เอกสารทางเทคนิคแจ้งความวิทยาการเกี่ยวกับการส่งกำลัง และซ่อมบำรุง บ.และ ฮ. เฉพาะของ กบบ.ขส.ทบ. เอง
102
หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ประสานงานกับบริษัทผู้ผลิตอากาศยาน(ผ่านบริษัทผู้แทนในประเทศ หรือประเทศเพื่อนบ้าน) เกี่ยวกับการส่งกำลังและซ่อมบำรุงเฉพาะ อากาศยานของ กบบ.ขส.ทบ. เอง อำนวยการ และควบคุมการฝึกผู้ทำงานในอากาศที่สังกัด ขส.ทบ. บันทึกชั่วโมงบินของ บ.และ ฮ. เฉพาะของ กบบ.ขส.ทบ. เอง ควบคุมการตรวจสภาพร่างกายของผู้ทำงานในอากาศสังกัด ขส.ทบ. ดำเนินการในด้านธุรการและกำลังพลของ กบบ.ขส.ทบ. เอง บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
103
ฝ่ายธุรการและกำลังพล ฝ่ายยุทธการและการข่าว
กองการบิน กองบังคับการ ฝ่ายธุรการและกำลังพล ฝ่ายส่งกำลังบำรุง ฝ่ายยุทธการและการข่าว ฝ่ายนิรภัยการบิน
104
หมวดส่งกำลังและบริการ
กองการบิน หน่วยขึ้นตรง ฝูงเครื่องบิน ฝูงเฮลิคอปเตอร์ แผนกส่งกำลัง บ.ทบ. แผนกซ่อมบำรุง หมวดสื่อสาร หมวดส่งกำลังและบริการ
105
ฝูงเครื่องบินปีกติดลำตัว กบบ.ขส.ทบ. (ฝูง บ.กบบ.ขส.ทบ.)
ปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย ทำการฝึกบินและฝึกเจ้าหน้าที่ตามหลักสูตรและระเบียบที่กำหนด ซ่อมบำรุง บ.ของ กบบ.ขส.ทบ. ขั้นหน่วย อบรมวิทยาการการบินแก่นักบินและเจ้าหน้าที่ประจำ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
106
ฝูงเฮลิคอปเตอร์ กบบ.ขส.ทบ. (ฝูง ฮ.กบบ.ขส.ทบ.)
ปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย ทำการฝึกบินและฝึกเจ้าหน้าที่ตามหลักสูตรและระเบียบที่กำหนด ซ่อมบำรุง ฮ.ของ กบบ.ขส.ทบ. ขั้นหน่วย อบรมวิทยาการการบินแก่นักบินและเจ้าหน้าที่ประจำ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
107
แผนกส่งกำลัง กบบ.ขส.ทบ. (ผสล.กบบ.ขส.ทบ.)
รวบรวมความต้องการของหน่วยบินต่างๆ ใน ทบ.รวมทั้งอากาศยานของ กบบ.ขส.ทบ.เอง เพื่อเป็นข้อมูลใช้เสนอความต้องการชิ้นส่วนอะไหล่ และชิ้นส่วนซ่อมตามสายงาน เก็บรักษา-รับสิ่งอุปกรณ์อากาศยาน บันทึกประวัติ ควบคุมอากาศยานใน ทบ. รวมทั้งอากาศยานของ กบบ.ขส.ทบ.เอง แจกจ่าย สป.อากาศยาน และสป.ตามอัตราให้แก่หน่วยบินต่างๆใน ทบ. รวมทั้งภายใน กบบ.ขส.ทบ.เอง ดำเนินการจำหน่าย บ.และ ฮ., สป.อากาศยาน, สป.ต่างๆ บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
108
แผนกซ่อมบำรุง กบบ.ขส.ทบ. (แผนก ซบร.ฯ)
ดำเนินการซ่อมบำรุงขั้นสนามแก่ บ. และ ฮ. ของ กบบ.ขส.ทบ. เท่านั้น อบรมวิทยาการด้านการซ่อมบำรุงให้แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง บันทึกและรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่
109
ซ่อมบำรุงเครื่องบินทหารบก
กองพันทหารขนส่ง ซ่อมบำรุงเครื่องบินทหารบก
110
ประวัติโดยย่อ พ.ศ.2501 จัดตั้ง ชุดซ่อมบำรุงเครื่องบินทหารบก เป็นหน่วยในอัตรา กองซ่อม ขส.ทบ. อจย มีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ บน.2 จ.ลพบุรี ดำเนินการสนับสนุนการซ่อมบำรุงขั้นสนาม เฉพาะ บ. ของ รร.การบิน ศป. พ.ศ เพิ่มอัตรากำลังพล และยุทโธปกรณ์ ของ อจย เนื่องจาก จำนวน บ.เพิ่มมากขึ้น และได้ย้ายที่ตั้งเข้ามาอยู่ในพื้นที่ของ ศป. คือที่ตั้งปัจจุบัน มีโรงซ่อม 1 หลัง
111
ประวัติโดยย่อ 3. พ.ศ.2510 ทบ.ได้รับอากาศยานเพิ่มมากขึ้น จากการช่วยเหลือของ สรอ.จึงแปรสภาพเป็น กองร้อยซ่อมบำรุงเครื่องบินทหารบก กรมการขนส่งทหารบก ชื่อย่อคือ ร้อย ซบร.บ.ทบ. ขส.ทบ. อจย และได้มี ชุดซ่อมบำรุงเครื่องบินปีกหมุนที่ 1 อจย 4. พ.ศ.2514 ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.ขส.ทบ.ปรับปรุง อจย.ให้เพิ่มกำลังพล และยุทโธปกรณ์มากขึ้น ใช้ นามหน่วย กองร้อยทหารขนส่งซ่อมบำรุงเครื่องบินทหารบก ชื่อย่อ ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.
112
ประวัติโดยย่อ อจย และได้เพิ่ม ชุดซ่อมบำรุงเครื่องบินปีกหมุนที่ 2 และ 9 (ผสม) ใช้ อจย ( ใน พ.ศ รร.การบิน ทบ. ได้แปรสภาพ เป็น กรมการบินทหารบก เป็นหน่วยขึ้นตรงต่อกองทัพบก และต่อมาในปี พ.ศ กรมการบินทหารบก ได้แปรสภาพ เป็นศูนย์การบินทหารบก
113
ประวัติโดยย่อ พ.ศ.2534 ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ. แปรสภาพ เป็น พัน.ขส.ซบร.บ.- ทบ. ใช้ อจย (1 ส.ค.29) ประกอบด้วย 4 กองร้อย ได้แก่ 1. ร้อย.บก.พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. 1 กองร้อย 2. ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.สท กองร้อย 3. ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.สต กองร้อย
114
อจย.55 - 455 พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. บก.และ ร้อย.บก. ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.๑ สท.
๑ ส.ค. ๒๙ บก.และ ร้อย.บก. พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.๑ สท. ชุด.ขส.ซบร.บ.ทบ.สต. กองพลทหารราบ ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.๒ สต. ชุด.ขส.ซบร.บ.ทบ.สต. กองพลทหารราบ ชุด.ขส.ซบร.บ.ทบ.สต. กองพลทหารราบ ชุด.ขส.ซบร.บ.ทบ.สต. กองพลทหารราบ ชุด.ขส.ซบร.บ.ทบ.สต. กองพลทหารราบ ชุด.ขส.ซบร.บ.ทบ.สต. กองพลทหารราบ ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.๓ สต.
115
การแบ่งมอบ พ.ศ พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ.เป็นหน่วยบรรจุมอบให้กับ ขส.ทบ.และยกเลิกการมอบอำนาจการบังคับบัญชา และการสนับสนุนทางธุรการที่มอบไว้กับ ศป. ตามคำสั่ง ทบ. ลับ ที่ 64 / 46 เรื่อง ปรับการบังคับบัญชา พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. ลง 23 ธ.ค. 46
116
ภารกิจ 1. สนับสนุนการซ่อมบำรุงขั้น 3,4 โดยปกติ และซ่อม
บำรุงขั้น 5 อย่างจำกัด 2. ดำเนินการกู้ซ่อมด้วยยานพาหนะ หรืออากาศยาน ใน อัตราของหน่วย ให้แก่อากาศยาน ของกองทัพบก และ อากาศยานของเหล่าทัพอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย 3. ดำเนินการตรวจสภาพอากาศยานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การซ่อมบำรุง เพื่อให้อากาศยานอยู่ในสภาพใช้งาน ได้มากที่สุด
117
วิธีการกู้ซ่อม และการนำอากาศยานออกจากพื้นที่
วิธีที่ การบินกลับ (FLY OUT) วิธีที่ การบรรทุกขบวนยานยนต์ (SURFACE RECOVERY AND EVACUATION) วิธีที่ การใช้อากาศยานปีกหมุนยก (SLING LOAD)
118
การยกหิ้ว ฮ.ล.47 ที่ประสบอุบัติเหตุ จาก ศูนย์ฝึกยุทธวิธี ทบ.
ยกหิ้ว ฮ.ล.47 # จาก ศูนย์ฝึกยุทธวิธี ทบ. กลับมา ที่ ศบบ.
119
การกู้ซ่อม ฮ.ท.1 ที่ประสบอุบัติเหตุ
ฮ.ท.1 # 7510 อุบัติเหตุ ที่ จ.เชียงราย เมื่อ 8 ก.ค.47 ฮ.ท.1 # 2094 อุบัติเหตุ ที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ เมื่อ 20 มี.ค.48
121
ทบ. ผังการจัดหน่วยบิน ทบ.ไทย ศบบ. ชุด สชด.ศปก.ทบ. พล. ม.๒ พล. ม.๑
ร้อย.ม.(อ)ที่ ๑ พัน.บ. รร.การบิน ทบ. กบท.ศบบ. ร้อย.บ.พล.ม.๑รอ. พล.ป. ร้อย.ป.คปม.(UAV) กองบ.๑ กองบ.๒ กองบ.๓ กองบ.๙(ผสม) กองบ.เบา ทภ.๑ ทภ.๒ ทภ.๓ ทภ.๔ แผนกการบิน ทภ1 แผนกการบิน ทภ.2 แผนกการบิน ทภ.3 แผนกการบินทภ.๔ ร้อย.บ.พล. ร.๓ ร้อย.บ.พล.๑ รอ. ร้อย.บ.พล.ร.๕ ร้อย.บ.พล.ร.๒ รอ. ร้อย.บ.พล.ร.๖ ร้อย.บ.พล.ร.๔ ร้อย.บ.พล.ร.๑๕ ร้อย.บ.พล.ร.๙
122
การจัดหน่วยบินในกองทัพบก
1. ส่วนบัญชาการ
123
การจัดหน่วยบินในกองทัพบก
2. ส่วนกำลังรบ
124
ทภ.1 พล.1รอ. พล.ร.2รอ. พล.ร.9 บทบ.ยว.1 แผนกการบิน ทภ.1 ทภ.1
ร้อย บ.พล.1รอ. ร้อย บ.พล.2 รอ. ร้อย บ.พล.ร.9 ชปบ.กกล.สุรสีห์ มว.บิน
125
ชปบ.กกล.สุรศักดิ์มนตรี
ทภ.2 ทภ.2 แผนกการบิน ทภ.2 พล.ร.3 พล.ร.6 บทบ.ยว.2 ร้อย บ.พล.ร.3 ร้อย บ.พล.ร.6 ชปบ.กกล.สุรนารี มว.บิน ชปบ.กกล.สุรศักดิ์มนตรี
126
ทภ.3 พล.ร.4 บทบ.ยว.3 พล.ม.1 แผนกการบิน ทภ.3 ทภ.3 ร้อย บ.พล.ร.4 ชปบ.327
ร้อย บ.พล.ม.1 ร้อย บ.พล.ร.4 ชปบ.327 ชปบ.32 ชปบ.32 ชปบ.31 มว.บิน
127
ทภ.4 พล.ร.5 บทบ.ยว.4 แผนกการบิน ทภ.4 ทภ.4 ร้อย บ.พล.ร.5 มว.บิน ชปบ.41
ชปบ.43
128
พล.ม.2 มี - กองร้อยบิน พล.ม.2
129
การจัดหน่วยบิน ทบ.ยุทธวิธี และชุดปฏิบัติการบิน ทบ.
และชุดปฏิบัติการบิน ทบ. การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด การปราบปรามขบวนการโจรก่อการร้าย การต่อสู้ภายในของประเทศเพื่อนบ้าน ที่มีผลกระทบ กระเทือนต่อความมั่นคงของไทย ตามแนวชายแดน การสนับสนุนการพัฒนาชนบท การป้องกันประเทศ
130
สนับสนุนด้านการบินให้แก่ผู้บังคับบัญชาและ
แผนกการบิน ทภ. ภารกิจ สนับสนุนด้านการบินให้แก่ผู้บังคับบัญชาและ ฝอ.ของ ทภ. แนะนำทางเทคนิคด้านการบิน,บินทาง ธุรการ จัดทำแผนฝึกในส่วนของการบิน กำกับดูแล การ ซบร.บ. ใช้งานได้ วางแผนการใช้ บ. ในการ สนับสนุนการรบ จัดตั้งและดำเนินการของระบบ จราจรทางอากาศช่วยอำนวยการในการทำงบประมาณ
131
แผนกการบิน แผนคำสั่งว่าด้วยการบิน จัดทำแผนเคลื่อนย้ายทาง
แผนคำสั่งว่าด้วยการบิน จัดทำแผนเคลื่อนย้ายทาง ทางอากาศ ประสานกับฝ่ายขนส่ง และฝ่ายเคลื่อนย้าย ถึงเรื่องความต้องการ บ.สนับสนุนการช่วยรบ แผนกการบิน
132
กองร้อยบิน กองพล ภารกิจ ให้การสนับสนุนในด้านกิจการบินให้แก่
กองพลและหน่วยรองรับของกองพล และเพื่อ 1. ดำเนินการตรวจการณ์ทางอากาศ,ลาดตระเวน ชี้เป้าหมาย และเฝ้าตรวจพื้นที่รับผิดชอบ 2. สนับสนุนผู้บังคับบัญชา,ฝ่ายอำนวยการในการอำนวยการรบ และธุรการอื่นๆในพื้นที่รับผิดชอบ 3. ถ่ายภาพทางอากาศเมื่อจำเป็น
133
การจัด 4. บริการ การนำสาร ทิ้งใบปลิว 5. การส่งกลับสายแพทย์ อย่างจำกัด
4. บริการ การนำสาร ทิ้งใบปลิว 5. การส่งกลับสายแพทย์ อย่างจำกัด 6. ถ่ายทอดวิทยุ 7. ส่องสว่างสนามรบ และพื้นที่ก่อการร้าย การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอัตราของกองพล ตามอัตราการจัดและยุทโธปกรณ์ หมายเลข 1-17 (7 ต.ค.25) การจัด
134
พล.ม.2 ร้อย ม.(อ)1 พล.ป. ฮท-212 4 เครื่อง ฮท-206 6 เครื่อง ร้อย.ป.คปม.
ฮท เครื่อง ฮท เครื่อง ฮฝ เครื่อง ร้อย.ป.คปม. อากาศยานไร้คนขับUAV กองร้อยบินกองพล , พล.ม.1 จะมีบ.ในอัตราดังนี้ ฮท เครื่อง ฮฝ เครื่อง
135
ศูนย์การบินทหารบก 1. วางแผนอำนวยการ กำกับการและดำเนินการฝึกและ
ภารกิจ 1. วางแผนอำนวยการ กำกับการและดำเนินการฝึกและ ศึกษาเกี่ยวกับกิจการการบินของกองทัพบก 2. ดำเนินการวิจัยและพัฒนา กำหนดหลักนิยมและทำ ตำราในทางสายวิชาการที่เกี่ยวข้อง 3. ปกครองบังคับบัญชาหน่วยทหารที่กระทรวงกลาโหม กำหนด
136
เป็นส่วนราชการขึ้นตรงต่อกองทัพบก
การแบ่งมอบ เป็นส่วนราชการขึ้นตรงต่อกองทัพบก การจัด ใช้ อฉก.4700
137
ศูนย์การบินทหารบก บก. กองวิทยาการ กองบริการ กองสนามบิน
กองสื่อสารการบิน แผนกเครื่องช่วยฝึก แผนกสื่อสารการบิน แผนกนิรภัยการบิน หน่วยตรวจโรค รร.การบิน กองบินสนับสนุน ทั่วไป ร้อย.ขส.ซบร.บทบ.2 กองพันบิน พัน ปฐบ.
138
สถานที่ตั้ง ค่ายสมเด็จพระศรีนครินทรา
เขาพระงาม จ.ลพบุรี รร.การบินทหารบก เป็นแหล่งผลิตนักบิน ทหารบกเพื่อบรรลุตามหน่วยบินที่มี อากาศยานในอัตรา กองบินสนับสนุนทั่วไป เป็นหน่วยปฏิบัติ การบิน
139
มีอากาศยานในอัตราดังนี้
รร.การบิน ทบ บ.ฝ เครื่อง - บ.ฝ เครื่อง - บ.ฝ เครื่อง นอกอัตรา - ฮ.ท เครื่อง, ฮ.ท เครื่อง - ฮ.ฝ เครื่อง, บ.ฝ เครื่อง กองบินสนับสนุนทั่วไป ( กบท. ) - ฮ.ท เครื่อง, ฮ.ล เครื่อง
140
กองพันบิน เป็นหน่วยหลักในการปฏิบัติภารกิจสนับสนุน
การปฏิบัติทางอากาศ แก่หน่วยทหารภาคพื้นดิน และใช้อาวุธยิงจากทางอากาศสนับสนุน หน่วยที่ ปฏิบัติการรบติดพัน ได้อย่างจำกัด
141
การแบ่งมอบ เป็นหน่วยขึ้นตรงกับ ทบ. ฝากการปกครองบังคับบัญชา กับ ศบบ.
142
ขีดความสามารถ ในสภาพอากาศที่มีทัศนะวิสัยดี สามารถปฏิบัติการ
ในสภาพอากาศที่มีทัศนะวิสัยดี สามารถปฏิบัติการ สนับสนุนในเขตหน้าได้อย่างต่อเนื่อง สามารถปฏิบัติการขนส่งทางอากาศ(ได้หลายๆกองร้อย) เป็นเครื่องบินพยาบาล หรือส่งกลับสายแพทย์ได้ สามารถใช้ในยานพิเศษอื่นๆได้ สามารถใช้อาวุธยิงจากอากาศสนับสนุนภาคพื้นดิน
143
กองพันบิน บก.พัน ร้อยบก. กองบินปีกหมุน บก.ร้อย ตอน บก.พัน มว.เสนารักษ์
ตอนนำทาง
144
กองบินปีกหมุนที่ 1 กองพันบิน จะประกอบกำลังดังนี้ ฮ.ท.1 17 เครื่อง
กองพันบิน จะประกอบกำลังดังนี้ กองบินปีกหมุนที่ 1 ฮ.ท เครื่อง ฮ.ท.1 ติดอาวุธ 8 เครื่อง ฮ.ท เครื่อง
145
กองบินปีกหมุนที่ 2 กองบินปีกหมุนที่ 3 ฮ.ท.1 17 เครื่อง
กองบินปีกหมุนที่ 2 ฮ.ท เครื่อง ฮ.ท.1 ติดอาวุธ 8 เครื่อง ฮ.ท เครื่อง กองบินปีกหมุนที่ 3 ฮ.ท เครื่อง ฮ.ท เครื่อง
146
กองบินปีกหมุนที่ 9 (ผสม)
กองบินปีกหมุนที่ 9 (ผสม) ฮ.ท เครื่อง ฮ.ท.1 ติดอาวุธ 8 เครื่อง กองบินเบา บ.ต เครื่อง บ.ฝ เครื่อง บ.ท เครื่อง
147
มว.ขนส่งทางอากาศ 24 เครื่อง มว.บริการและซบร. 1 เครื่อง
กองบินหมุนที่1,2,3 และ 9 จะแบ่งออกเป็น 3 มว. มว. ฮ.โจมตี 8 เครื่อง มว.ขนส่งทางอากาศ 24 เครื่อง มว.บริการและซบร. 1 เครื่อง
148
ภารกิจของ ฮ.ติดอาวุธ ใช้ในการระวังป้องกันให้กับหน่วยกำลัง
รบเคลื่อนที่ทางอากาศ การปฏิบัติการด้วย วิธีรุก, วิธีรับ โดยใช้กำลังยิง
149
ภารกิจของ ฮ.ติดอาวุธ มี 3 ประการ
ภารกิจของ ฮ.ติดอาวุธ มี 3 ประการ 1. คุ้มกัน ก. คุ้มกันขบวน ฮ.ลำเลียงทางอากาศ - ในเขตบรรทุก - ระหว่างเส้นทาง - พื้นที่ลง ข. คุ้มกันขบวนการเคลื่อนที่ทางพื้นดิน ค. คุ้มกันเครื่องบินตก
150
2. การลาดตระเวนและการระวังป้องกัน
- ลาดตระเวนเส้นทาง - ลาดตระเวนด้วยการบิน 3. การสนับสนุนการยิง
151
ขีดความสามารถของ ฮ.ติดอาวุธ
1. ทำการยิงได้อย่างรวดเร็ว 2. เลือกที่หมายยิงได้แน่นอน 3. มีความอ่อนตัวในการใช้อาวุธ 4. ติดอาวุธได้หลายประเภท 5. ภารกิจเปลี่ยนแปลงสามารถปฏิบัติได้ ทันท่วงที
152
ขีดจำกัด ของ ฮ.ติดอาวุธ
1. ในการปฏิบัติการในเวลากลางคืนและสภาพ อากาศปิด 2. รัศมีปฏิบัติการจำกัด 3. น้ำหนักบรรทุกจำกัด 4. การปฏิบัติระยะไกล จำนวนอาวุธกระสุน ต้องลดลง
153
การจัด ฮ.ติดอาวุธในทางยุทธวิธี จัดออกเป็น 3 แบบ
1. ชุดยิงเบา จัด 2 เครื่อง 2. ชุดยิงหนัก จัด 3 เครื่อง 3. ชุดยิงเพิ่มเติมกำลัง จัด 4 เครื่อง การจัด ฮ.ติดอาวุธของ ทบ.ไทย ให้จัด ฮ.ติดอาวุธ 1 หมวดในอัตราของกองบิน ปีกหมุน ประกอบด้วย 2 ตอนๆละ 4 เครื่อง
154
การวางแผนขนส่งทางอากาศ
1. แบบและจำนวน 2. การบรรทุก 3. ชม.การใช้งาน - ฮ.ใช้ 4 ชม./วัน - บ.ใช้ 6 ชม./วัน 4. อากาศยานที่ใช้งาน บ.ระยะยาว 75% ฮ.ระยะยาว 75%
155
ระยะใกล้ไม่เกิน 50 ไมล์ 4/ว เกิน 50 ไมล์ 1/ว
การขนส่ง ระยะใกล้ไม่เกิน ไมล์ 4/ว เกิน ไมล์ 1/ว
156
การประมาณการขนส่งทาง ฮ.
= ชม.การใช้งานต่อวัน ฮ.ใช้ วัน บ.ใช้ 6 ชม. = เกณฑ์เฉลี่ยของอากาศยานที่ใช้งาน บ. 75% 75% = เวลาที่เสียไปในการขนส่งขึ้น-ลง
157
ปีกหมุน ปีกติดลำตัว ทหาร 1 หมู่ ทหารเจ็บตาย สป.ในลำตัว สป.นอกลำตัว เติม สป.3 อ. 3 นาที 3 นาที 10น. 10น. 5-15น น. 30น. - 7น.
158
- สัมภาระในการบรรทุก - กำลังพล สามารถทำการบรรทุกได้ง่าย ปัญหาที่ เกิดขึ้นมีน้อยแยกเป็น ธรรมดา หนัก 200 ป. ติดอาวุธพร้อมรบ หนัก 240 ป. ผู้เจ็บป่วยพร้อมเปล หนัก 250 ป. พลร่ม หนัก 260 ป.
159
- สัมภาระบรรทุกทำได้ยาก ล่าช้าแบ่งเป็น
- ยุทธสัมภาระทั่วไปและพัสดุ - ยุทธสัมภาระรูปร่างเฉพาะ
160
ท่าอากาศยาน (AIRPORT)
หมายถึง พื้นที่ที่กำหนดไว้บนพื้นดิน หรือพื้นน้ำ สำหรับ ใช้เพื่อการขึ้น-ลง หรือการเคลื่อนไหวของอากาศยาน รวมตลอดถึงอาคาร และบริภัณฑ์ซึ่งอยู่ภายในท่าอากาศ ยานนั้น
161
แบ่งออกเป็นส่วนย่อยที่สำคัญ 4 ส่วน คือ
แบ่งออกเป็นส่วนย่อยที่สำคัญ 4 ส่วน คือ 1. ทางวิ่งและทางขับ (RUNWAY&TAXIWAY) 2. เครื่องช่วยการเดินอากาศสำหรับการขึ้นลง และ ช่วยเหลืออากาศยานประสบอุบัติเหตุ 3. อาคารต่างๆ เช่น โรงเก็บโรงซ่อม ที่พัก ที่ทำงาน ที่จำเป็นแก่การดำเนินงานและบำรุงรักษา 4. ลานจอด (APRON&RAMP)
162
ส่วนประกอบของสนามบิน
1. ทางวิ่งและทางขับ (Runway & Taxiway) 2. เครื่องช่วยการเดินอากาศสำหรับการขึ้นลง และ ช่วยเหลืออากาศยานประสบอุบัติเหตุ - วิทยุติดต่อ, หัว-ท้าย สนามบินให้นักบินทราบระยะ ความสูงและให้ตรงทิศทางของสนามบิน - ไฟส่องสว่างสนามบิน - รถดับเพลิงฉีดน้ำ, โฟม - เครื่องบอกทิศทางลม
163
3. อาคารต่างๆเช่น โรงเก็บหรือ โรงซ่อม ที่พัก
ที่ทำงาน ที่จำเป็นแก่การดำเนินงานและการบำรุงรักษา 4. ลานจอด - ลานจอด (APRON&RAMP) ลานจอดอุ่นเครื่อง ลานจอดเตรียมปฏิบัติงาน ลานจอดเพื่อการ ซบร. ลานจอดเพื่อการซ่อมใหญ่
164
ทางวิ่งและทางขับ (RUNWAY&TAXI WAY)
แบบของรูปร่างทางวิ่งที่สำคัญ 3 แบบ SINGLE RUNWAY มีทางวิ่งเดียว ขึ้น-ลง 2 ทาง PARALLEL RUNWAY มี 2 ทางวิ่งขนานกัน ขึ้น-ลง ได้ 4 ทาง DIVERGENT RUNWAY ทางวิ่งตัดกัน หรืออาจจะไม่ตัดกันก็ได้ ซึ่งไม่ได้มีทิศทางขนานกัน ขึ้นลงได้ 4 ทาง หรือมากกว่า
166
ลาดจอดอากาศยาน (Apron & Ramp)
เป็นที่จอดของอากาศยาน นอกจากนี้ยังเป็น.- การขน สป. ขึ้น-ลง, เติม สป.3 (อ.), การนำ ผู้โดยสารขึ้น-ลงอากาศยาน ซึ่งก็ต้องมีกฏระเบียบ เพื่อควบคุมการจราจรแยกต่างหากจาก Taxiway และ Runway เรียกว่า “Apron Traffic”
167
- Apron มีความหมายถึง พื้นที่สำหรับจอด และปรนนิบัติบำรุง (ปบ.)
Ramp มีความหมายถึง พื้นที่จอดอากาศยาน สำหรับนักบินไว้เตรียมดำเนินการก่อนการนำอากาศ ยานวิ่งขึ้น (Pre-flight activities) นอกจากนี้ ทางประตูสำหรับผู้โดยสารเดิน (Passenger Gates) ก็เป็นส่วนหนึ่งของ Terminal Ramp
168
ลานจอดอากาศยาน(APRON)
มี 4 แบบ 1. FRONTAL SYSTEM เป็นวิธีการจอดเรียง เป็นแถวหน้าอาคารสถานี วิธีนี้เหมาะสำหรับมีอากาศยาน จอดน้อย อาคารสถานี
169
2. OPEN APRON SYSTEM เป็นวิธีการจอดของอากาศยานเมื่อมีจำนวนมากขึ้นการจอดเรียงเป็นแถวเดียวไม่เพียงพอจึงต้องจอดกันหลายแถว อากาศยาน
170
3. FINGER SYSTEM เป็นวิธีการจอดตามรูปต่างๆ
มี 3 รูปแบบคือ STRAIGHT ,Y-SHAPE และ T-SHAPE
171
4. SATELLITE SYSTEM เป็นวิธีการจอดโดยแบ่งเป็น
บริวารเล็กๆและเชื่อมกับอาคารสถานีใหญ่
172
สิ่งอำนวยความสะดวกระหว่างเส้นทางบิน
1. เส้นทางบิน เป็นเส้นสมมุติขึ้นในอากาศโดย จนท. ที่ เกี่ยวข้องเป็นผู้กำหนด 2. อุตุนิยมวิทยาการบิน เป็นการตรวจสอบดินฟ้าอากาศ เพื่อให้การบินดำเนินไปด้วยความปลอดภัย
173
3. โทรคมนาคมการบิน เป็นการติดต่อสื่อสารการบิน
จุดถึงจุด บนอากาศยานพื้นดิน 4. บริการควบคุมการจราจรทางอากาศ เป็นการให้การ บริการควบคุมอากาศยานที่ดำเนินการบินอยู่โดยมี หอ บังคับการบินที่ท่าอากาศยานเป็นผู้ควบคุมที่อยู่ในรัศมี ควบคุมของท่าอากาศยาน และศูนย์ควบคุมการจราจรทาง อากาศยานที่บินอยู่ในอากาศป้องกันมิให้ชนกัน
174
การส่งกำลังและซ่อมบำรุง
สป.บ.ทบ.
175
Military Supply Chain Management
is the discipline that integrates acquisition, supply, maintenance, and transportation functions with the physical, financial, information, and communications networks in a results-oriented approach to satisfy joint force material requirements.
176
สิ่งอุปกรณ์เครื่องบินทหารบก สาย ขส.
1. อากาศยาน 2. เครื่องมือซ่อมบำรุง 3. บริภัณฑ์ภาคพื้น 4. ชิ้นส่วนซ่อม
177
ซ่อม ) รวมทั้งการควบคุมการปฏิบัติตามขั้นตอนดังกล่าว
การส่งกำลัง สป.บ.ทบ. หมายถึง การปฏิบัติการในเรื่อง ความต้องการ การจัดหา การเก็บรักษา การแจกจ่าย และการจำหน่าย (อากาศยาน,เครื่องมือซ่อม, บริภัณฑ์ภาคพื้น, ชิ้นส่วน ซ่อม ) รวมทั้งการควบคุมการปฏิบัติตามขั้นตอนดังกล่าว
178
วงรอบในการส่งกำลัง สป.บ.ทบ.
การจัดหา ความต้องการ ควบคุม การเก็บรักษา การแจกจ่าย การจำหน่าย สป.
179
ความต้องการ การกำหนด และเสนอคำขอ
การจัดหา กรรมวิธีเพื่อให้ได้มาซึ่ง สป. การเก็บรักษา การเก็บรักษาเข้าคลังเพื่อรอเบิกจ่าย การแจกจ่าย การรับ - จ่าย และการขนส่ง สป. การจำหน่าย การตัดยอด สป. ออกจากความรับ ผิดชอบ เนื่องจากสูญไป, ซ่อมไม่คุ้มค่า, ล้าสมัย การควบคุม เพื่อมิให้เกิดความผิดพลาด
180
มาตรฐาน สป.ใหม่ การเพิ่ม-ลดจำนวนเนื่องจากการปรับ
ความต้องการ สป.บ.ทบ. แบ่งเป็น 4 ประเภท 1. ความต้องการขั้นต้น จัดตั้งหน่วยใหม่ กำหนด มาตรฐาน สป.ใหม่ การเพิ่ม-ลดจำนวนเนื่องจากการปรับ 2. ความต้องการทดแทน แทน สป.ที่หมดเปลืองไป, สป. ที่ชำรุด หรือ สป.ที่อยู่ระหว่างการซ่อมบำรุง เพื่อใช้ชั่วคราว 3. ความต้องการเพื่อรักษาระดับ เพื่อรักษาระดับให้ปลอดภัย 4. ความต้องการในโครงการ นอกเหนือความต้องการปกติ เพื่อสนับสนุนแผนพิเศษ
181
1. การจัดซื้อและการจ้าง กจห.ขส.ทบ.
การได้มาซึ่ง สป.บ.ทบ. 1. การจัดซื้อและการจ้าง กจห.ขส.ทบ. 2. การได้รับการช่วยเหลือจากต่างประเทศ 3. กบบ.ขส.ทบ.มีคลังเก็บ สป.บ.ทบ.แล้วส่งให้ พัน ขส.ซบร.บ.ทบ.เบิก ส่วนหน่วยบินใน กทม.เบิกตรง 4. การเก็บซ่อม สป. ที่ชำรุดให้ใช้การได้ 5. การบริจาคจากบุคคลใดๆ ให้เข้าระบบส่งกำลังฯ 6. การยืม สป. 7. การแลกเปลี่ยน
182
ดำเนินการตามหลังระยะเวลา
การรายงานสถานภาพ ดำเนินการตามหลังระยะเวลา 1. หน่วยใช้และหน่วยบิน รายงานรอบ 3 เดือน โดยใช้แบบพิมพ์ ทบ รายงานถึงกรมฝ่ายยุทธบริการถึง ทบ. 2. หน่วยสนับสนุนการส่งกำลัง รายงานรอบ 6 เดือนโดยใช้แบบ พิมพ์ ทบ ถึง กบบ.ขส.ทบ. ( แผนกส่งกำลังฯ ) 3. แผนกส่งกำลังฯ รายงานถึงกรมฝ่ายยุทธบริการภายใน 30 วัน และรายงานต่อถึง ทบ.
183
สายการส่งกำลัง สป. อากาศยาน
อากาศยานทุกแบบ เว้น ฮ.ท.๑ เฉพาะ ฮ.ท.๑ แผนกส่งกำลัง กบบ.ขส.ทบ. บริษัทเอกชน สนับสนุนทั่วไป พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. สนับสนุนโดยตรง หน่วยบิน
184
การซ่อมบำรุง Maintenance repair and operations (MRO) is fixing any sort of mechanical or electrical device should it become out of order or broken (repair or corrective maintenance), as well as performing the routine actions which keep the device in working order or prevent trouble from arising (Preventive Maintenance).
185
Preventive maintenance is conducted to keep equipment working and/or extend the life of the equipment. Corrective maintenance, sometimes called "repair", is conducted to get equipment working again.
186
การซ่อมบำรุง ตามระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์ พ.ศ.2524
หมายถึง การกระทำใดๆ ที่มุ่งหมายจะรักษายุทโธปกรณ์ ต่างๆให้อยู่ในสภาพใช้การได้ หรือมุ่งหมายที่จะ ทำให้ยุทโธปกรณ์ที่ชำรุดกลับคืนมาอยู่ในสภาพ ที่สามารถใช้การได้มากที่สุด
187
การจัดหน่วยสนับสนุนการซ่อมบำรุงอากาศยาน
( จ้างซ่อม ) คลัง พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. แผนกส่งกำลังฯ ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.1 สนาม แผนก ซบร. กบบ.ขส.ทบ. ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.2 ร้อย.ขส.ซบร.บ.ทบ.3 ร้อย.บ.พล.ร. แผนกการบิน ทภ. กอง บ.เบา หน่วย รร.การบิน ทบ. ร้อย ม. (อ) 1 ชุด UAV ร้อย.คปม. ฝูง บ. กองบินปีกหมุนที่ 1,2,3 และ 9 (ผสม) กอง บท.ศบบ. ชุด สชด.ศปก.ทบ. ฝูง ฮ.
188
การดำเนินการซ่อมบำรุง
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ 1. การซ่อมบำรุงระดับหน่วย 2. การซ่อมบำรุงระดับสนาม 3. การซ่อมบำรุงระดับโรงงาน
189
1. วางแผน อำนวยการ ประมาณงาน แนะนำ
ภารกิจ 1. วางแผน อำนวยการ ประมาณงาน แนะนำ กำกับการ วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับการส่งกำลังบำรุง สายขนส่ง 2. กำหนดหลักนิยม โดยเฉพาะเรื่องการส่งกำลัง และซ่อมบำรุงอากาศยานทหารบก ยึดระเบียบว่าด้วย การส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ. 2534
190
การเบิก สป. ประเภท 2 และ 4 สายอากาศยาน
-การเบิกขั้นต้น ทำใบเบิกส่งพัน ขส.ฯ ยกเว้นหน่วยในกรุงเทพ -การเบิกทดแทน ให้เบิกตามสายการส่งกำลัง -การเบิกเพิ่มเติมกำลัง เป็นเรื่องของหน่วย สนับสนุนโดยตรง และคลัง เพื่อรักษาระดับ -การเบิกพิเศษ เป็นกรณีพิเศษ
191
หน่วยที่รับผิดชอบในการส่งกำลัง
1. แผนกส่งกำลัง กบบ.ขส.ทบ 2. พัน ขส.ซบร.บ.ทบ. 3. ฝ่ายส่งกำลังบำรุงของหน่วยใช้ 4. บริษัทเอกชน (เฉพาะ ฮ.ท.1)
192
- ร้อยบิน พล.1 รอ. - ร้อยบิน พล.ม.2 ให้หน่วยต่อไปนี้
เบิกตรงจากแผนกส่งกำลัง สป.บ.ทบ.ขส.ทบ. - ร้อยบิน พล.1 รอ. - ร้อยบิน พล.ม.2
193
การซ่อมบำรุง บ.ทบ. คือการรักษา บ.ทบ.
ตลอดชิ้นส่วนต่างๆให้อยู่ในสภาพใช้งานได้โดยปลอดภัย คือ การซ่อมแก้ - การซ่อมสร้าง การซ่อมใหญ่ - การซ่อมคืนสภาพ
194
ระดับและขั้นการซ่อมบำรุง บ.ทบ.
จะแบ่งเป็นการซ่อม 3 ประเภท 5 ขั้น 1. การซ่อมบำรุงระดับหน่วย มี 2 ขั้น ซ่อมบำรุงขั้น ที่ 1 ผู้ใช้ คือ นักบิน และช่างประจำเครื่อง ซ่อมบำรุงขั้น ที่ 2 ขั้นหน่วย คือ มว.ซ่อมบำรุงของหน่วย 2. การซ่อมบำรุงระดับสนาม มี 2 ขั้น ซ่อมบำรุงประเภทที่ 3 ร้อย ขส.ซบร.บทบ.สต. ซ่อมบำรุงประเภทที่ 4 ร้อย ขส.ซบร.บทบ.สท. 3. ซ่อมบำรุงระดับประจำที่หรือขั้นคลัง มี 1 ขั้น ซ่อมบำรุงประเภทที่ 5 ร้อย ขส. ซบร.บทบ.สท.
195
ความรับผิดชอบของ ขส.ทบ. เกี่ยวกับ
ความรับผิดชอบของ ขส.ทบ. เกี่ยวกับ การบินทหารบก
196
ระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยความรับผิดชอบใน สิ่งอุปกรณ์ พ.ศ. 2535 กรมการขนส่งทหารบก
197
ระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการโดยสารและการขนส่งสิ่งอุปกรณ์ โดยสารอากาศยานทหารบก พ.ศ. 2525
198
คำจำกัดความ อากาศยาน หมายถึง อากาศยานทุกชนิดที่ ใช้ในกองทัพบก
อากาศยาน หมายถึง อากาศยานทุกชนิดที่ ใช้ในกองทัพบก ผู้บังคับอากาศยาน หมายถึง นักบินผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบในการปฏิบัติการบิน และความปลอดภัย ของอากาศยานในเที่ยวนั้นๆ
199
ผู้บังคับหน่วยบิน หมายถึง ผู้บังคับหน่วยที่มีอากาศยาน
ในอัตรา ผู้บังคับหน่วยบินที่มีหน่วยบินในอัตรา หมายถึงผู้บังคับ หน่วยที่มีใช้หน่วยบินอยูในอัตรา ผู้โดยสาร หมายถึง บุคคลที่มิได้เกี่ยวข้องกับกิจการการ บินในครั้งคราวนั้น แต่ได้โดยสารไปกับอากาศยานนั้นด้วย ความสมัครใจ
200
2. ข้าราชการทหารและครอบครัว
การจัดลำดับความสำคัญของประเภทผู้โดยสารที่ได้รับการอนุมัติให้โดยสารอากาศยาน ได้แบ่งออกเป็น 4 ประเภท 1. ข้าราชการทหารสังกัดหน่วยบินและครอบครัว 2. ข้าราชการทหารและครอบครัว 3. ข้าราชการอื่นๆ 4. บุคคลทั่วไป
201
ผู้มีอำนาจให้โดยสารอากาศยาน
ผู้บังคับบัญชา ตั้งแต่ ผบ.ศูนย์การบิน และ จก.ขส.ทบ. ขึ้นไปมี อำนาจให้ผู้โดยสาร ทั้ง 4 ประเภท ผู้บังคับการจังหวัดทหารบก , ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก หรือผู้ บังคับหน่วยทหารที่ปฏิบัติงานอิสระ ทีมีสนามบิน อยู่ในพื้นที่รับผิด ชอบ มีอำนาจอนุมัติให้ผู้โดยสารประเภท 1-3 เว้นบุคคลทั่วไป ผู้บังคับหน่วยบิน มีอำนาจอนุมัติ ผู้โดยสาร ประเภท 1-2 โดยสารอากาศยานได้ ผู้บังคับอากาศยาน มีสิทธิอนุญาตให้ผู้โดยสาร โดยสารอากาศยานได้ เฉพาะในกรณี ประสบภัยพิบัติ หรือเหตุร้ายแรง ได้
202
การปฏิบัติในการโดยสารอากาศยาน เว้นอากาศยานของ ขส.ทบ.
การปฏิบัติในการโดยสารอากาศยาน เว้นอากาศยานของ ขส.ทบ. 1. ผู้ที่ประสงค์จะโดยสารอากาศยาน ให้ขออนุญาตโดยตรงต่อ ผู้มีอำนาจอนุญาตโดยสารอากาศยานได้ โดยทำแบบรายงาน การขอโดยสารตาม ผนวก ก. 2. แบบรายงานขอโดยสารจัดทำเป็น 2 ฉบับ เก็บไว้ที่ผู้มีอำนาจ ขออนุญาต 1 ฉบับ และเก็บไว้ที่ ผู้บังคับอากาศยาน 1 ฉบับ 3. สถานีหรือหน่วยต้นทางจัดทำรายการผู้โดยสาร ตามผนวก ข. 2 ฉบับ เก็บไว้ต้นทาง 1 ฉบับ ผู้บังคับอากาศยาน 1 ฉบับ 4. ผู้บังคับอากาศยานรับผิดชอบตรวจสอบรายการผู้โดยสาร ผนวก ข. และเก็บหลักฐานไว้ที่หน่วยบินเมื่อเสร็จกิจ
203
อากาศยาน ของ ขส.ทบ. 1. ผู้ประสงค์จะโดยสาร ทำรายงานขออนุญาตโดยสาร
อากาศยาน ของ ขส.ทบ. 1. ผู้ประสงค์จะโดยสาร ทำรายงานขออนุญาตโดยสาร ตามผนวก ก. เสนอต่อผู้ที่มีอำนาจอนุญาต 2. เมื่อได้รับอนุญาตแล้วทำหลักฐาน ผนวก ก. ไปมอบให้กับ กจย.ขส.ทบ.หรือสถานีขนส่ง (สขส.) ต้นทาง ทำบัญชีโดยสารผนวก ข. ก่อนเวลา เดินทางไม่น้อยกว่า 24 ชม. 3. เมื่อผู้โดยสารรับทราบเที่ยวบินแล้ว ให้ไปรายงานด้วยพร้อม หลักฐาน ต่อผู้บังคับอากาศยาน ก่อนกำหนดอากาศยานออก 1 ชม. ผู้โดยสารจะนำสิ่งของติดตัวไปกับอากาศยานไม่เกิน 20 กก.
204
การขนส่งสิ่งอุปกรณ์ หน่วยส่ง
ทำหีบห่อ ใบรายการ บรรจุ และทำเครื่องหมายตามระเบียบ แจ้งแผนกขนส่ง ขส.ทบ.หรือ สขส.ต้นทาง ทำป้ายบอกชนิดอันตราย ว.แจ้งหน่วยรับ แผนกขนส่ง ขส.ทบ.หรือ สขส.ต้นทาง ประสานหน่วยบิน แจ้งหน่วยส่ง ทำใบตราส่ง นำสิ่งอุปกรณ์ไปบรรทุกบนอากาศยาน ถ้าเป็นอาวุธขนาดใหญ่ต้องยึดตรึง ว.แจ้ง สขส.ปลายทาง ผู้บังคับอากาศยาน แนะนำการบรรทุกและยึดตรึงบนอากาศยาน สขส. ปลายทาง ไปรับหีบห่อ นำหีบห่อไปส่งหน่วยรับพร้อมใบตราส่งเขียว ส่งใบตราส่งฟ้าให้ สขส.ต้นทาง เก็บใบเหลืองไว้ แจ้ง สขส.ต้นทาง รับหีบห่อ แจ้งกรรมการตรวจรับ สป. ลงนามรับ เก็บใบฟ้า ส่งใบเขียวคืน ว.แจ้งหน่วยส่ง หน่วยรับ
205
การจัดลำดับความเร่งด่วน
อันดับ 1 ผู้เจ็บป่วย หรือยาเวชภัณฑ์ อันดับ 2 เอกสารประเภทด่วนมากหรือ จนท. ไปปฏิบัติภารกิจด่วน อันดับ 3 บุคคลหรือเอกสารรองลงมา
206
ผู้บังคับอากาศยาน มีอำนาจและสิทธิในการสั่งการ
เกี่ยวกับความปลอดภัยในการโดยสาร ศบบ. และ ขส.ทบ. เป็นผู้รักษาระเบียบและออกระเบียบปลีกย่อย ซึ่งไม่ขัดกับระเบียบนี้ได้ตามความจำเป็น
207
การส่งกำลัง สป.อากาศยาน 3. บริษัทผู้ผลิตหรือผู้แทน
หน่วยรับผิดชอบ 1. พัน.ขส.ซบร.บ.ทบ. 2. แผนกส่งกำลัง กบบ.ขส.ทบ. 3. บริษัทผู้ผลิตหรือผู้แทน
208
ความรู้เกี่ยวกับน้ำหนักและสมดุล
ความไม่ปลอดภัยในการบินมีสาเหตุเนื่องมาจาก 1. การบรรทุกน้ำหนักเกิน 2. การบรรทุกไม่สมดุล
209
ผลเสียของการบรรทุกน้ำหนักเกิน
1. โครงสร้างอากาศยานชำรุด 2. เครื่องยนต์มีอายุการใช้งานน้อยลง 3. ต้องเพิ่มระยะทางวิ่งขึ้น 4. เพิ่มความเร็วร่วงหล่น (ความเร็วรอบเครื่องยนต์คงเดิม แต่แรงยกชนะน้ำหนักน้องลง) 5. ลดอัตราการไต่ (ต้องใช้เวลานานขึ้นกว่าจะได้ระยะสูง ตามความต้องการ) 6. ลดระยะทางบิน 7. เกิดความลำบากอื่นๆ
210
อาการไม่สมดุลยังเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ
อาการไม่สมดุลยังเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ 1. อาการทางข้าง 2. อาการทางยาว
211
นน. บรรทุกวางไว้ทางด้านซ้ายหรือขวา
ความสมดุลทางข้าง นน. บรรทุกวางไว้ทางด้านซ้ายหรือขวา ของลำตัวอากาศยานจะทำให้อากาศยานเอียงไปทาง ข้างที่มีนน.อยู่ เมื่อวิ่งขึ้นหรือลอยตัวขึ้น มักจะเกิด ปัญหาแก่นักบิน มักจะเกิดขึ้นกับเครื่องบินขนาดเล็ก
212
เครื่องบินปีกติดลำตัวจะออกแบบให้มี
ความสมดุลทางยาว เครื่องบินปีกติดลำตัวจะออกแบบให้มี ลำตัวจะออกแบบให้มีลำตัวยาว การบรรทุกจะเป็น ไปในแนวยาว ถ้าวางสิ่งบรรทุกนอกเขตสมดุลก็จะ ทำให้หัวหรือท้ายของเครื่องบินตก เป็นการเสี่ยง อันตรายอย่างมากในการบิน
213
1. แบบการเฉลี่ยน้ำหนัก ใช้กับสัมภาระหีบห่อเล็กๆ
การบรรทุกบนพื้นห้อง บรรทุกสัมภาระ 2 แบบ 1. แบบการเฉลี่ยน้ำหนัก ใช้กับสัมภาระหีบห่อเล็กๆ มีหลักการระวางบรรทุก ดังนี้ 1.1 วางบนพื้นราบให้เต็มโดยให้ของหนักอยู่ตรงกลาง 1.2 วางให้เต็มกรอบพื้นที่ 1.3 ใช้เชือกตาข่ายคลุมป้องกันลอยตัว 1.4 ถ้าของหนักต้องมีแท่นรองรับป้องกันพื้นชำรุด 1.5 ถ้าน้ำหนักเกิน 100 กก. ต้องใช้เครื่องมือยึดตรึง 1.6 วางซ้อนกันได้โดย ให้ของหนักอยู่ด้านล่าง แบบปิรามิด
214
2. แบบการบรรทุกสัมภาระโดยเจาะจง ใช้กับ
2. แบบการบรรทุกสัมภาระโดยเจาะจง ใช้กับ สัมภาระขนาดใหญ่ น้ำหนักมากมีกฎดังนี้ 2.1 สัมภาระนั้นจะต้องมีรายละเอียดบอกให้ครบถ้วน เช่น น้ำหนักรวม , ตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วง 2.2 สัมภาระที่มี นน.มากที่สุด ให้จัดวางจุดCGสัมภาระใกล้กับ CG อากาศยาน 2.3 การบรรทุกง่ายและปลอดภัย โดยถอยหลังขึ้นเพราะ ถอยขึ้นช้าๆแต่ได้กำลัง 2.4 การบรรทุกรถเทรลเลอร์พ่วง ย้ายเทรลเลอร์พ่วงมาเกาะ หน้ารถหัวลากและดันเข้าไป 2.5 เว้นช่องว่างระหว่างดัน เพื่อการยึดตรึง
215
การขนส่งทางอากาศเชิงพาณิชย์
แบ่งพื้นที่บรรทุกออกเป็น 2 ส่วน ใหญ่ๆ โดยใช้จุดศูนย์ถ่วงของอากาศยาน บริเวณ ปีกเป็นจุดแบ่ง คือ ด้านหน้าของปีก และด้าน หลังของปีก
216
แบ่งชนิดของการบรรทุกสัมภาระเข้าไปใน
อากาศยาน แบ่งเป็น 2 แบบ 1. การวางบรรทุกทีละชิ้นกับพื้นห้องเก็บของแล้วใช้ ตาข่ายรัด 2. การวางบรรทุกบนอุปกรณ์ส่วนควบแล้วนำไปบรรทุก ในอากาศยาน อุปกรณ์ส่วนควบของเครื่องบิน มี 3 ชนิด 1. แผ่นรอง(CARGO PALLET) ใช้คู่กับตาข่าย 2. ตู้(CONTAINER) 3. ลัง(TGLOO)
217
ปัจจัยหลักในการพิจารณาวางแผนการบรรทุก
1. บรรทุกได้ง่าย พิจารณาจาก ความปลอดภัย , การ คัดแยก , การยึดตรึง , เวลา 2. ขนลงได้ง่าย พิจารณาจาก เครื่องมือปลายทาง 3. สละทิ้งได้ง่าย เมื่อเกิดภาระฉุกเฉิน เช่น เครื่องยนต์ ขัดข้อง แต่ต้องคำนึงถึงความสมดุลและเขตเมือง
218
การจัดลำดับพัสดุสละทิ้งทางอากาศ
ซึ่งอยู่ในอำนาจของผู้บังคับการบิน ในการจัดลำดับ 1. พัสดุอันตราย-นน.มาก , มีอันตราย 2. พัสดุทั่วไป 3. ไปรษณียภัณฑ์ ธรรมดา 4. ไปรษณียภัณฑ์ อากาศ 5. พัสดุที่มีค่าสูง มีราคาแพง 6. พัสดุแยกประเภท 7. ไปรษณียภัณฑ์ลงทะเบียน 8. ศพ
219
อากาศยานที่ใช้ในกิจการพลเรือน
แบ่งออกตามความมุ่งหมายในการใช้ มี 3 ประเภท คือ ก. อากาศยานขนส่ง (TRANSPORT AIRCRAFT) เป็นอากาศที่มุ่งหมายใช้ขนส่งผู้โดยสารหรือ สินค้าอากาศยานแบบนี้มีความสำคัญมากต่อกิจการบินพลเรือน แบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆคือ 1. เครื่องบินโดยสาร 2. เครื่องบินบรรทุกสินค้า
220
ข. อากาศยานบริการทางอากาศ (AERIAL SERVICE)
เป็นอากาศยานที่ใช้ประโยชน์ในการบริการ เช่น โครงการชลประทาน , โครงการฝนหลวง , การบินโฆษณาทาง อากาศ , โครงการสำรวจพื้นที่ทางเกษตร , การบินถ่ายภาพทาง อากาศ เป็นต้น ค. อากาศส่วนตัว (PRIVATE AIRCRAFT) เป็นอากาศยานที่รัฐสนับสนุนให้เอกชนมีไว้ใช้เป็น ส่วนบุคคลสามารถบินไปลงยังสนามบินต่างๆได้ โดยผู้ขับขี่จะ ต้องปฏิบัติตามระเบียบ การบินตามที่รัฐบาลกำหนด
221
การวางแผนการบรรทุกแบบสากล
1. ใช้พื้นที่บรรทุกให้มากที่สุด โดยคำนึงถึงความปลอด ภัยและโครงสร้าง 2. ใช้เวลาในการบรรทุกน้อย โดยการเตรียมเครื่องมือ ยกขนให้พร้อม 3. วางแผนการบรรทุกล่วงหน้า โดยแบ่งระวางบรรทุก ออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ ด้านหน้าของปีก และด้านหลังของปีก
222
แบ่งชนิดของการบรรทุกเป็น 2 แบบ
แบ่งชนิดของการบรรทุกเป็น 2 แบบ บรรทุกทีละชิ้นกับพื้นห้องเก็บสิ่งของแล้วใช้ตาข่ายรัด บรรทุกบนอุปกรณ์ส่วนควบ มี 3 ชนิด 1. แผ่น PALLET 2. ตู้ CONTAINER 3. ลัง IGLOO
223
การปฏิบัติในการวางแผน การบรรทุกเบื้องต้น 7 ประการ
การบรรทุกเบื้องต้น 7 ประการ 1. การรวบรวมพัสดุเพื่อใช้ในการตัดสินใจถึงปัญหาการระวาง บรรทุก 2. คัดเลือกพัสดุที่จะสละทิ้งได้ 3. จัดตำแหน่งวาง เพื่อความสมดุลและการสละทิ้ง 4. คำนวณหาจุดสมดุลของวัตถุ 5. เตรียมเครื่องมือช่วยการบรรทุก เช่น รถฟอรค์ลิฟ 6. พิจารณาใช้แท่นรองรับกระจายน้ำหนัก 7. พิจารณาใช้ชนิดและจำนวนเครื่องมือยึดตรึง
224
หลักการบรรทุกยุทโธปกรณ์เข้าไปใน อ.
มีข้อพิจารณาดังนี้ 1. ขนาดยุทโธปกรณ์เข้าประตู อ.กxยxส ได้หรือไม่ 2. น้ำหนักเกินขีดความสามารถของ อ. หรือไม่ 3. เมื่อนำเข้าไปวางไว้แล้วอยู่ในสภาพสมดุลหรือไม่
225
แท่นรองรับน้ำหนักบรรทุก
มีประโยชน์ดังนี้ 1. เพื่อป้องกันพื้นห้องบรรทุกชำรุด 2. เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการเคลื่อนย้ายพัสดุ 3. เพื่อลดการขูดลากที่เกิดขึ้นกับพื้นห้องบรรทุก
226
แบ่งเป็นชนิดต่างๆดังนี้
1. แผ่นกระดานสั้น (PLANK SHORING) 2. แผ่นกระดานซ้อนไขว้เพิ่มฐานกว้างขึ้น (BRIDQE SHORING) 3. แผ่นกรดานยางรองรับการเคลื่อนที่ (PARKING SHORING) 4. สะพานลูกกลิ้ง (ROLLING AND SKID SHORING) 5. แผ่นรองรับพัสดุ (CARGO PALLET)
227
กฏแห่งความปลอดภัยในการบรรทุก
1. เตรียมหม้อดับเพลิง ในขณะบรรทุก ยานพาหนะ 2. ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าให้น้อยที่สุด อาจเป็นสาเหตุ การเกิดไฟไหม้ 3. การระบายอากาศ เปิดประตู อ. ให้หมด 4. ผ้าเช็ดน้ำมันหกห้ามเอาไว้ใน อ. อาจทำให้ไฟไหม้ได้ 5. ตรวจเช็คห้ามล้อยานพาหนะให้ดีก่อนขึ้นบรรทุก
228
6. จำกัดความเร็วยานพาหนะขณะบรรทุก
7. การจอดยานพาหนะใน อ. ใส่เกียร์ต่ำสุด ดึงเบรกมือ ปิดสวิทกุยแจ และพลขับจะต้องอยู่ในรถจนกว่าจะ ยึดตรึงเสร็จ 8. การบรรทุก PALLET จะต้องปะคองให้เข้าล่อง พอดี 9. การบรรทุกทั่วไป ให้บรรทุกตามหลักเกณฑ์
229
10. พัสดุอันตรายควรวางไว้ใกล้ประตู
11. เมื่อจอดยานพาหนะควรมีไม้รองล้อ 12. ห้ามใช้เครื่องมือช่วยบรรทุกเกินขีดจำกัด 13. ระมัดระวังป้องกันมิให้พัสดุเสียหายระหว่าง การบรรทุก 14. การใช้ลอกไฟฟ้าใน อ. ให้ใช้กับสิ่งของที่หนัก และไม่เกินขีดความสามารถ
230
การวางแผนการบรรทุก 1. สัมภาระในการบรรทุก
1. สัมภาระในการบรรทุก กำลังพล การบรรทุกทำได้ง่าย สะดวกรวดเร็ว ธรรมดา หนัก 200 ปอนด์ ติดอาวุธพร้อมรบ หนัก 240 ปอนด์ ผู้เจ็บป่วยพร้อมเปล หนัก 250 ปอนด์ พลร่ม หนัก 250 ปอนด์
231
สัมภาระ กระทำได้ยาก ล่าช้า มีปัญหาเรื่องรูปร่าง
ขนาดน้ำหนัก ยุทธสัมภาระทั่วไปและพัสดุ บรรทุกแบบกระจาย น้ำหนัก ยุทธสัมภาระรูปร่างเฉพาะ บรรทุกแบบเจาะจง
232
การตรวจและการปฏิบัติก่อนการบรรทุก
1. หน่วยส่งต้องทำเครื่องหมายและป้ายต่างๆตามชนิด ของพัสดุ 2. สัมภาระที่มี นน ยาว 10 ฟุตขึ้นไปหรือรูปร่าง เฉพาะให้หา CG ทำเครื่องหมายแสดงไว้ 3. ดูจุดหมายปลายทางของพัสดุ แยกประเภท จักลำดับ ความเร่งด่วน 4. ตรวจสอบ นน. สภาพหีบห่อ , เครื่องหมายและที่อยู่ ปลายทางถูกต้องเรียบร้อย
233
5. พัสดุล้อเลื่อน ยานพาหนะ ให้ตรวจสอบสลักหรือ
ระบบห้ามล้อว่า ใช้งานได้หรือไม่ 6. ต้องคำนึงถึง เวลา , ระยะทาง ในการเคลื่อนย้ายพัสดุ จากคลังมายังสนามบิน 7. นำข้อพิจารณาต่างๆในการบรรทุกมาใช้ให้เกิด ประโยชน์และปลอดภัย 8. สัมภาระใด ไม่มีรายละเอียดสภาพไม่เรียบร้อยส่งคืน หน่วยส่ง
234
อากาศยานที่ใช้ในการบรรทุก
1. ลักษณะโครงสร้าง ปีกติดลำตัว สภาพเหมาะกับภารกิจหรือไม่ เพราะใช้บรรทุกได้เฉพาะภายในเท่านั้น ปีกหมุน บรรทุกได้ทั้งภายนอกและภายใน เหมาะกับสัมภาระจำนวนน้อย , ระยะทางใกล้ๆ บรรทุกภายนอกแล้วต้องใช้เจ้าหน้าที่เฉพาะ
235
2. จำนวนอากาศยาน คิดความพร้อมการใช้งาน 75% อีก 25% ซ่อม บำรุงและใช้งานภายในหน่วย 3. ข้อมูลความสามารถ อากาศยาน เช่น รัศมีทำการ บิน อัตราความเร็ว ความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ปัจจัยแรง G นน.มูลฐาน นน.ปฏิบัติการ นน.อากาศยานพร้อม บรรทุก พิกัดอัตราบรรทุก ขนาดห้องบรรทุก สิ่ง อำนวยความสะดวก การบรรทุก ยึดตรึง จุดศูนย์ถ่วง อากาศยานฯ
236
ในการยกขนสัมภาระและเจ้าหน้าที่
สิ่งอำนวยความสะดวก ในการยกขนสัมภาระและเจ้าหน้าที่ 1. รถยกขนฟ๊อกลิฟ ช่วยเคลื่อนย้ายสัมภาระ หนัก 2,000-10,000ปอนด์ มีแบบยางตันและสูบลม 2. รอกไฟฟ้า ดึงพัสดุ เข้าสู่พื้นห้องบรรทุก 3. ตะเฆ่ ช่างเคลื่อนย้ายสัมภาระไม่เกิน 2,000 lb 4. ประตูด้านท้ายอากาศยาน ใช้ขนขึ้น-ลง รับ นน.ได้ 2,500-8,000 lb
237
การบรรทุก 5. สะพานล้อเลื่อนสัมภาระ ขนสัมภาระได้ง่ายขึ้น
5. สะพานล้อเลื่อนสัมภาระ ขนสัมภาระได้ง่ายขึ้น 6. แม่แรงช่วยรองรับประตูด้านท้าย ให้ขนานกับพื้น 7. แรมช่วย ใช้เป็นสะพานต่อ ต่อระหว่างพื้นดินกับแรม 8. อื่นๆ เช่น รถเข็น 4 ล้อ , 2 ล้อ รับ นน.ได้ 1,000 ปอนด์ การบรรทุก ต้องไม่ให้น้ำหนักเกิน และจัดวางพัสดุให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง เพื่อให้จุดศูนย์ถ่วงของอากาศยานอยู่ในสภาพสมดุล บินได้โดยปลอดภัย โดยการจัดทำลำดับการบรรทุก อย่างมีขั้นตอนถูกต้อง
238
การบรรทุกสัมภาระในอากาศยาน
ให้เกิดความปลอดภัย 1. ความหมายนิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง 2. หลักการของ นน.และสมดุล 3. การคำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงของสิ่งบรรทุก 4. การคำนวณหาตำแหน่งวางให้อากาศยานอยู่ใน สภาพสมดุล
239
การคำนวณหาตำแหน่งวางสป.
ให้ อ. อยู่ในสภาพสมดุล ควรทำความเข้าใจในสิ่งต่อไปนี้ 1. เส้นข้อมูลที่อ้างถึง คือเส้นตรงจากทางดิ่ง ตัดกับเส้นทางระดับ ที่วัดไปตามแนวทางยาวของอากาศยาน กำหนดขึ้นโดยผู้ออกแบบสร้าง 2. จุดข้อมูลที่อ้างถึง คือ จุดเริ่มต้นของเส้น ข้อมูลที่อ้างถึง เริ่มจากศูนย์กำหนดให้อยู่ตรงจมูกของอากาศยาน 3. หมายเลขตำบลบรรทุก คือ หมายเลขบอกระยะ ยาวที่อยู่บนเส้นข้อมูลที่อ้างถึง
240
4. แขน คือ ระยะทางจากจุดหมุนที่สมมุติขึ้นถึง
จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ 5. แรงหมุน คือ ผลคูณของน้ำหนักศูนย์แขนมี หน่วยเป็น นิ้ว - ปอนด์ 6. จุดศูนย์ถ่วง (CG) คือ จุดๆหนึ่งของวัตถุที่เรา ยกหรือแขวนพันพื้นแล้ว จะทำให้วัตถุนั้นอยู่ในสภาพสมดุล ไม่เอียงหรือพลิกใน อ. แบ่งออกเป็น
241
ก่อนวางสิ่งบรรทุก เรียก
ก่อนวางสิ่งบรรทุก เรียก * จุดศูนย์ถ่วงของ อ. พร้อมบรรทุก คือจุดศุนย์ถ่วง ของเครื่องบินที่พร้อมใช้งาน (ยังไม่ได้บรรทุก สป.) กำหนดขึ้นโดย บริษัทผู้ผลิต หลังจากวางสิ่งบรรทุก เกิดขึ้น 2 ชนิด เรียก * จุดศูนย์ถ่วงพึงประสงค์ คือ จุดศูนย์ถ่วงของเครื่องบิน ที่กำหนดไว้แน่นอนแล้ว หลังจากการวาง สป. จะต้องคำนวณหา ว่าจะวาง สป. ณ จุดใดบนเครื่องบินจึงจะทำให้จุดศูนย์ถ่วง อ. ย้ายมาลงตามตัวเลขที่กำหนดจึงทำให้ อ. บินได้ปลอดภัยที่สุด
242
* จุดศูนย์ถ่วงสัมพันธ์ระยะจำกัด คือ จุดศูนย์ถ่วงของ
เครื่องบินที่กำหนดไว้เป็นช่วง แน่นอนหลังจากวาง สป. จะต้อง คำนวณหาว่า เมื่อวาง สป. บน อ.แล้วจะทำให้บินได้ปลอดภัยหรือไม่ 7. น้ำหนักตัวเปล่า คือ นน. ตัวเปล่าของเครื่องบิน โดยไม่รวมอุปกรณ์ใดๆทั้งสิ้น 8. น้ำหนักมูลบาน คือ นน.ตัวเปล่าของเครื่องบิน พร้อมอุปกรณ์ติดตั้งประจำและน้ำมันที่ค้างอยู่ตามท่อทางต่างๆ ในการทดลองเครื่อง 9. น้ำหนักปฏิบัติการ คือ นน.มูลฐาน รวมกับ นน. พลประจำ, น้ำมันหล่อลื่น และ นน.อุปกรณ์พิเศษ
243
10. น้ำหนักอากาศยานพร้อมบรรทุก คือ นน.
มูลฐาน รวมกับ นน.พลประจำ น้ำมันหล่อลื่น อุปกรณ์พิเศษ และ นน.น้ำมันเชื้อเพลิง 11. น้ำหนักพิกัดอัตราบรรทุก คือ นน. สัมภาระ และกำลังพลรวมกันสูงสุด ซึ่งยอมให้บรรทุกในอากาศยานได้ โดยกำหนดไว้ในคู่มืออากาศยาน 12. น้ำหนักบรรทุก คือ ผลรวมของ นน. สัมภาระ และกำลังพลที่บรรทุกไปใน อ. ลำนี้
244
13. น้ำหนักรวมสูงสุด คือ นน. อากาศยานพร้อม
บรรทุก รวมกับ นน.พิกัดอัตราบรรทุก 14. น้ำหนักบรรทุกทั้งสิ้น คือ นน. อากาศยาน พร้อมบรรทุก รวมกับ นน.บรรทุก 15. น้ำหนักรวมทั้งสิ้นเมื่อลงสู่พื้น คือ นน.บรรทุก ทั้งสิ้น ลบด้วนความสิ้นเปลืองของน้ำมันเชื้อเพลิงของ อ. ที่ใช้ หมดไปในระหว่างการบิน
245
หลักการของน้ำหนักและสมดุล
ในการบรรทุกบน อ. 1. เมื่อใส่ นน.เข้าไปในเครื่องหรือ ทิ้งออกไปจะทำให้จุด CG. ของ อ. เปลี่ยนแปลงต้องไม่เกินระยะจำกัดที่ กำหนดไว้ 2. นน.ที่เพิ่มเข้าไปทางข้างหน้าของ CG. อ. จะทำให้ CG. อ. เลื่อนไปด้านหน้าด้วย
246
3. นน.ที่เอาออกไปจากทางหลังของ CG. อ. จะทำให้
5. นน.จำนวนน้อยที่เลื่อนไปเป็นระยะทางยาวจะมี ผลกับการเลื่อนของจุด CG.อ. มากกว่าระยะสั้น
247
การบรรทุกให้เกิดความปลอดภัย ควรพิจารณาถึง
= ข้อมูลต่างๆที่นำมาพิจารณาในการวางแผน บรรทุก = กฎและความปลอดภัยในการบรรทุก = การวางสิ่งบรรทุกในอากาศยานให้เกิดความ ปลอดภัย
248
ความสมดุลอากาศยานทำได้ 2 วิธี
ความสมดุลอากาศยานทำได้ 2 วิธี = การคำนวณ = ผังการบรรทุก + การคำนวณ = ใช้คอมพิวเตอร์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.