งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อมูลวิทยากรโดยสังเขป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อมูลวิทยากรโดยสังเขป"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อมูลวิทยากรโดยสังเขป
ชื่อ-สกุล ธิติพัตร รอดสำอางค์ ที่ทำงาน ฝ่ายแผนงาน กองวิชาการและแผนงาน สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ตำแหน่ง เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การศึกษา ป.ตรี สาขาวิชา รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ป.ตรี สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิต วิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี การฝึกอบรม และศึกษาดูงาน -ฝึกอบรมดับเพลิงขั้นพื้นฐาน -การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางบก -การช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม -ดับเพลิงและกู้ภัยอาคารสูง ณ.เขตปกครองพิเศษฮ่องกง -หลักสูตรผู้ตรวจสอบอาคาร -หลักสูตรการดับเพลิงและการกู้ภัยในอาคาร สารเคมีและอุบัติภัย ทางถนน

2 EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาธารณภัย

3 พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มีผลใช้บังคับ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2550 ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2522 ยกเลิก พ.ร.บ. ป้องกันและ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย DEPARTMENT OF DISASTER PREVENTION AND MITIGATION MINISTRY OR INTERIOR

4 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มาตรา 4 : “สาธารณภัย” หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้ำ การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชนไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทำให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชนหรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ และให้ความหมายรวมถึงภัยทางอากาศ และ การก่อวินาศกรรมด้วย

5 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มาตรา 4 : “ภัยทางอากาศ”หมายความว่า ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ “การก่อวินาศกรรม”หมายความว่า การกระทำใดๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวาง หน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใดๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมือง การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้ความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ

6 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มาตรา 4 : “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ แต่ไม่หมายความรวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง

7 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มาตรา 4 : “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง แต่ไม่หมายความรวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด และกรุงเทพมหานคร “จังหวัด” ไม่หมายความรวมถึงกรุงเทพมหานคร “อำเภอ” หมายความรวมถึงปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ

8 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มาตรา 4 : “ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายความว่า นายกองค์การบริหารส่วนตำบล นายกเทศมนตรี นายกเมืองพัทยา และหัวหน้าผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่อื่น “ผู้บัญชาการ” หมายความว่า ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ “ผู้อำนวยการ” หมายความว่า ผู้อำนวยการกลาง ผู้อำนวยการจังหวัด ผู้อำนวยการอำเภอ ผู้อำนวยการท้องถิ่น และผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร

9 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มาตรา 4 : “เจ้าพนักงาน” หมายความว่า ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่ต่างๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ “อาสาสมัคร” หมายความว่า อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตามพระราช-บัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

10 ระดับความรุนแรงของสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department ระดับความรุนแรงของสาธารณภัย ระดับ ความรุนแรง การจัดการ 1 สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ผช.ผอ.กทม. / ผอ.เขต ควบคุมสถานการณ์ และสั่งการ 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผอ.กทม. / ผว.กทม. ควบคุมสถานการณ์ สั่งการ และบัญชาการ 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง ผู้อำนวยการกลาง / ผบ.ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ /รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ควบคุมสถานการณ์ สั่งการ และบัญชาการ 4 สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรี ควบคุมสถานการณ์

11 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 ให้ ผว.กทม. เป็นผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขต กทม. และมีอำนาจหน้าที่ จัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร ซึ่งสอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ มาตรา 32

12 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 การจัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจเมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น โครงสร้างและผู้มีอำนาจสั่งการด้านต่างๆ แผนและขั้นตอนในการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ และยานพาหนะ เพื่อใช้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มาตรา 33

13 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 แผนและขั้นตอนในการจัดให้มีเครื่องหมายสัญญาณ หรือสิ่งอื่นใดในการแจ้งให้ประชาชนได้ทราบถึงการเกิดหรือจะเกิดสาธารณภัย แผนปฏิบัติการในการป้องกันแลบรรเทาสาธารณภัยในเขต กทม. แผนการประสานงานกับองค์การสาธารณกุศล ในเขต กทม. มาตรา 33

14 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 ในการจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการ ประกอบด้วย ผว.กทม. เป็นประธาน ป.กทม. เป็นรองประธาน มาตรา 34

15 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 กรรมการอื่น ประกอบด้วย ผู้แทนหน่วยงาน / ส่วนราชการของ กทม. ผู้แทนกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผู้แทนองค์การสาธารณกุศลในเขต กทม. ผู้แทนชุมชน มาตรา 34

16 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มาตรา 34 ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนสถาบันการศึกษา

17 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สาระสำคัญของ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 มติ ครม. เมื่อ 31 มี.ค.58 อนุมัติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 จัดทำ จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแยกตามประเภทภัย จังหวัด/กรุงเทพมหานคร จัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของตนรองรับ จัดทำ เชื่อมโยง แผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย (ระบุประเภทภัย) สำนักงานเขต

18 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ ขอบเขต สาธารณภัย  คลอบคลุม 18 ประเภทภัย - ด้านสาธารณภัย 14 ประเภทภัย - ด้านความมั่นคง 4 ประเภทภัย  แบ่งเป็น 4 ระดับ - ขนาดเล็ก - ขนาดกลาง - ขนาดใหญ่ - ขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบ ร้ายแรงอย่างยิ่ง ระดับความรุนแรงของ สาธารณภัย การจัดการ ระดับ 1 ผอ.ท้องถิ่น / ผอ.อำเภอ ระดับ 2 ผอ.จังหวัด / ผอ.กทม ระดับ 3 ผอ.กลาง / ผบ.ปภ.ช. ระดับ 4 นายกรัฐมนตรี

19 ขอบเขตสาธารณภัย ด้านสาธารณภัยมี 14 ประเภทภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department ขอบเขตสาธารณภัย ด้านสาธารณภัยมี 14 ประเภทภัย 1) อุทกภัย และดินโคลนถล่ม 8) ภัยจากไฟป่าและหมอกควัน 2) ภัยจากพายุหมุนเขตร้อน 9) ภัยจากแผ่นดินไหว และอาคารถล่ม 3) ภัยจากอัคคีภัย 10) ภัยจากคลื่นสึนามิ 4) ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย 11) ภัยจากโรคระบาดในมนุษย์ 5) ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง 12) ภัยจากโรค แมลง สัตว์ ศัตรูพืชระบาด 6) ภัยแล้ง 13) ภัยจากโรคระบาดสัตว์ และสัตว์น้ำ 7) ภัยจากอากาศหนาว 14) ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ

20 ขอบเขตสาธารณภัย (ต่อ)
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department ขอบเขตสาธารณภัย (ต่อ) ด้านความมั่นคง มี 4 ประเภทภัย 1) การป้องกันและระงับการก่อวินาศกรรม 2) การป้องกันและบรรเทาภัยจากทุ่นระเบิดกับระเบิด3) การป้องกันและบรรเทาภัยทางอากาศ 4) การป้องกันและระงับการชุมนุมประท้วงและ ก่อการจลาจล

21 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2558 ขอบเขต สาธารณภัย  คลอบคลุม 14 ประเภทภัย - ด้านสาธารณภัย 13 ประเภทภัย - ด้านความมั่นคง 1 ประเภทภัย  แบ่งเป็น 4 ระดับ - ขนาดเล็ก - ขนาดกลาง - ขนาดใหญ่ - ขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบ ร้ายแรงอย่างยิ่ง ระดับความรุนแรงของ สาธารณภัย การจัดการ ระดับ 1 ผอ.ท้องถิ่น / ผอ.อำเภอ ระดับ 2 ผอ.จังหวัด / ผอ.กทม ระดับ 3 ผอ.กลาง / ผบ.ปภ.ช. ระดับ 4 นายกรัฐมนตรี

22 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2558  จากการวิเคราะห์สถานการณ์และข้อมูลสถิติสาธารณภัย ที่มีความเสี่ยงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้ 8 ประเภทภัย -นอกจากนี้ยังมีภัยจากโรคระบาดในมนุษย์และโรคระบาดในสัตว์ที่จะต้องติดตามเฝ้าระวังป้องกัน และแก้ไขปัญหาอีกด้วย ขอบเขต สาธารณภัย  แบ่งเป็น 4 ระดับ - ขนาดเล็ก - ขนาดกลาง - ขนาดใหญ่ - ขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบ ร้ายแรงอย่างยิ่ง ระดับความรุนแรงของ สาธารณภัย การจัดการ ระดับ 1 ผช.ผอ.กทม. / ผอ.เขต ระดับ 2 ผอ.กทม. / ผว.กทม ระดับ 3 ผอ.กลาง / ผบ.ปภ.ช. ระดับ 4 นายกรัฐมนตรี

23 รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
แผนผัง ระบบสั่งการ และปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย สั่งการ ผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (มท.1) รองผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (ป.มท.) ควบคุม/กำกับ ควบคุม/กำกับ ผู้อำนวยการกลาง (อ.ปภ.) ผู้อำนวยการจังหวัด (ผว.จ.)/ผู้อำนวยการ กทม.(ผว.กทม.) รอง ผอ.จ (นายก อบจ.)./รอง ผอ.กทม.(ป.กทม.) ควบคุม/กำกับ ควบคุม/กำกับ ผู้อำนวยการอำเภอ (นายอำเภอ)/ผู้อำนวยการเขต (ผอ.เขต) ควบคุม/กำกับ ผู้อำนวยการท้องถิ่น(นายก อบต./นายกเทศมนตรี/นายกเมืองพัทยา) รองผู้อำนวยการท้องถิ่น(ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) กอ.ปภ.จว./ กอ.ปภ.กทม. กอ.ปภ.อ./ กอ.ปภ.เขต กอ.ปภ.ทบ./ กอ.ปภ.อบต./ กอ.ปภ.เมืองพัทยา กรม ปภ. (ศูนย์ ปภ. 18 เขต) หน่วยปฏิบัติการเฉพาะด้าน ก่อนเกิดเหตุ หน่วยปฏิบัติการเฉพาะด้าน/ หน่วยร่วมปฏิบัติการ ขณะเกิดเหตุ หน่วยปฏิบัติการหลัก หน่วยบรรเทาทุกข์ หลังเกิดเหตุ

24 แผนผังการปฏิบัติงานแบบบูรณาการในกทม
แผนผังการปฏิบัติงานแบบบูรณาการในกทม. (แยกตามประเภทภัยและระดับความรุนแรง) นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4) รายงาน จัดตั้ง สั่งการ คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ สมช. ประสานงาน ผบ.ปภ.ชาติ (รมว.มท.)หรือ ผอ.กลาง (อ.ปภ.) ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับชาติ (ความรุนแรงระดับ 3) สั่งการ รายงาน ร้องขอ ผอ.กทม. (ผว.กทม.) หน่วยปฏิบัติการหลัก ปภ. ช่วยเหลือ/สั่งการ จัดทำ แผน ปภ.กทม./ แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา อุทกภัยและดินโคลนถล่ม หน่วยปฏิบัติการ - กระทรวงมหาดไทย อำนวยการ/สั่งการ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เฝ้าระวัง/ดูแลพื้นที่เกษตรที่ได้รับ ความเสียหาย บริการจัดการน้ำ - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ดูแลเรื่องสภาพอากาศและ การสื่อสาร การแจ้งเตือน - กระทรวงสาธารณสุข ให้บริการทางการแพทย์และ สาธารณสุข ควบคุมโรคระบาด - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ รักษาความปลอดภัย/พิสูจน์ เอกลักษณ์บุคคล - กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ สงเคราะห์/ฟื้นฟูผู้ประสบภัย - กระทรวงแรงงาน สร้างงาน/สร้างอาชีพ - กระทรวงการต่างประเทศ ติดต่อประสานงาน/ ขอความช่วยเหลือกับหน่วยงาน ต่างประเทศ - กระทรวงคมนาคม ช่วยเหลือด้านการขนส่ง ฯลฯ เตรียมการ ป้องกัน/เตรียมพร้อม ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ สนง.เขต กทม. (ความรุนแรงระดับ 1 และระดับ 2) ก่อนเกิดเหตุ ปฏิบัติการ ปฏิบัติการ หน่วยสนับสนุน - กระทรวงกลาโหม กำลังพล เครื่องจักรกล วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะ - กระทรวงพลังงาน สนับสนุนเชื้อเพลิงและพลังงาน - สภากาชาดไทย ให้บริการทางการแพทย์และ สาธารณสุข/สนับสนุนปัจจัยสี่ - มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ ช่วยเหลือด้านปัจจัยสี่ - มูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก - บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ดูแลระบบสื่อสาร - องค์การระหว่างประเทศ - องค์การสาธารณกุศล - อาสาสมัคร ฯลฯ หน่วยปฏิบัติการหลัก สำนักงานเขต สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักการระบายน้ำ สำนักเทศกิจ สำนักการโยธา (ผู้อำนวยการเขต/ผู้อำนวยการสำนัก) ขณะเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ ให้ความช่วยเหลือ หน่วยปฏิบัติการ - โรงพยาบาล/ ให้บริการทางการแพทย์และ ศูนย์บริการสาธารณสุข สาธารณสุข - สถานีตำรวจ รักษาความปลอดภัย/ จัดการจราจร - การประปานครหลวง น้ำดื่มน้ำใช้ - การไฟฟ้านครหลวง ดูแลระบบไฟฟ้า - กรมส่งเสริมการเกษตร แจ้งเตือนเกษตรกร/ ข้อมูลป้องกันความเสียหาย - อปพร. ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ - มูลนิธิ ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ ฯลฯ หน่วยบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูบูรณะ - กรุงเทพมหานคร - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ - กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ - กรมประมง - กรมปศุสัตว์ - กรมส่งเสริมการเกษตร - สภากาชาดไทย - มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ - มูลนิธิ/องค์การสาธารณกุศล ฯลฯ

25 การจัดตั้งองค์กรปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อำเภอ ผู้อำนวยการอำเภอ (นายอำเภอ) จังหวัด ผู้อำนวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด/รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย) รองผู้อำนวยการจังหวัด (นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด) กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ผบ.ปภ.ช./ รอง ผบ.ปภ.ช/ ผอ.กลาง (รมว.มท. /ป.มท./ อ.ปภ.) องค์การบริหารส่วนตำบล ผู้อำนวยการท้องถิ่น (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล) กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) รองผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ปลัดกรุงเทพมหานคร) สำนักงานเขตกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) เมืองพัทยา (นายกเมืองพัทยา) เทศบาล (นายกเทศมนตรี) นายกรัฐมนตรี

26 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558

27 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จัดทำแผนการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ เสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยมีความสอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้เห็นชอบและประกาศใช้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559

28 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้ดำเนินการเวียนแจ้งแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแล้ว ตามหนังสือที่ กท 1802/376 ลงวันที่ 28 เมษายน เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของสำนักและสำนักงานเขต

29 สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หน้าที่ความรับผิดชอบ
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ปฏิบัติการป้องกันและระงับอัคคีภัย และบรรเทาสาธารณภัยอื่นๆ กำหนดมาตรการในการป้องกันและระงับอัคคีภัย ให้การสงเคราะห์ และบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัย หน้าที่ความรับผิดชอบ

30 สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หน้าที่ความรับผิดชอบ
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ความรู้ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ

31 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 จัดตั้งคณะทำงาน จัดทำกรอบและรายละเอียดของแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ โดยมี ผอ.สปภ. เป็นประธาน จัดตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ โดยมี ผว.กทม. เป็นประธาน (ตาม ม.34 แห่ง พ.ร.บ. ปภ.2550)

32 ปฏิทินสาธารณภัยในกรุงเทพมหานคร
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ปฏิทินสาธารณภัยในกรุงเทพมหานคร ปฏิทินสาธารณภัย ภัย/เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. อุทกภัย ภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วง  แผ่นดินไหว พายุฤดูร้อน อัคคีภัย ปีใหม่ ตรุษจีน ลอยกระทง อุบัติเหตุทางถนน สงกรานต์

33 ความจำเป็นที่ต้องจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ความจำเป็นที่ต้องจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การเพิ่มขึ้นของประชากร แนวโน้มสถานการณ์สาธารณภัยที่มีความรุนแรงมากขึ้นจากภาวะโลกร้อน การขาดจิตสำนึกในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

34 ความจำเป็นที่ต้องจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ความจำเป็นที่ต้องจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จึงต้องมีการเตรียมพร้อมในการจัดการสาธารณภัย เพื่อลดความเสี่ยงและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้หน่วยงานใช้เป็นกรอบแนวทางปฏิบัติ และประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัย

35 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 การขับเคลื่อนแผน ฯ สถานการณ์ และแนวโน้ม นโยบาย ยุทธศาสตร์ กรอบ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ความร่วมมือระหว่างประเทศ หลักการจัดการ การฟื้นฟู การจัดการ ในภาวะฉุกเฉิน การลดความเสี่ยง

36 สถานการณ์สาธารณภัยของประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 สถานการณ์สาธารณภัยของประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทสู่สังคมเมือง แรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน เมื่อเปิดเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

37 สถิติสาธารณภัยในกรุงเทพหานคร พ.ศ. 2555 - 2557
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 สถิติสาธารณภัยในกรุงเทพหานคร พ.ศ ประเภทภัย 2555 2556 2557 รวม การคมนาคมและขนส่ง(อุบัติภัยทางถนน) อัคคีภัย ด้านความมั่นคง สารเคมีและวัตถุอันตราย วาตภัย อาคารถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง 32,385 1,145 461 43 2 3 - 1 (2 เขต) 29,964 1,311 1,056 79 45 27,460 1,373 313 99 47 (7 เขต) 89,809 3,829 1,830 221 94 8 (9 เขต)

38 จัดลำดับความเสี่ยงสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 จัดลำดับความเสี่ยงสาธารณภัย ภัยจากการคมนาคมขนส่ง อัคคีภัย ภัยจากสารเคมี และวัตถุอันตราย วาตภัย

39 จัดลำดับความเสี่ยงสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 จัดลำดับความเสี่ยงสาธารณภัย ภัยแล้ง แผ่นดินไหว และอาคารถล่ม อุทกภัย ภัยด้านความมั่นคง

40 การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย การบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วน
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 นโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย การบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วน พัฒนาระบบการฟื้นฟูให้สนองตอบต่อความต้องการของผู้ประสบภัย พัฒนาและส่งเสริมมาตรฐานความร่วมมือระหว่างประเทศ นโยบายการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ

41 การทำให้กรุงเทพมหานคร เป็น “มหานครแห่งความปลอดภัย” “มหานครแห่งเอเชีย”
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 นโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย นโยบายการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย กทม. การทำให้กรุงเทพมหานคร เป็น “มหานครแห่งความปลอดภัย” “มหานครแห่งเอเชีย”

42 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 เป้าหมาย กทม. มีระบบการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สังคมคน กทม. มีการเรียนรู้และมีภูมิคุ้มกัน ประชาชนมีความตระหนักถึงความปลอดภัย รู้รับ-ปรับตัว- ฟื้นเร็วทั่ว-อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การมุ่งเน้นการลดความเสี่ยง จากสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบูรณาการจัดการ ในภาวะฉุกเฉิน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มประสิทธิภาพ การฟื้นฟูอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างประเทศ ในการจัดการ สาธารณภัย

43 งบประมาณในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 งบประมาณในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย งบประมาณรายจ่ายประจำปี กทม. งบประมาณรายจ่ายประจำปี เงินอุดหนุนจากรัฐบาล งบกลาง กทม. งบประมาณอื่นๆ เงินทดรองราชการตามระเบียบ กระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย กรณีฉุกเฉิน

44 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 วงจรการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ฟื้นสภาพ และการซ่อมสร้าง Rehabilitation and Reconstruction เผชิญเหตุ Response บรรเทาทุกข์ ฟื้นสภาพ และ การซ่อมสร้าง Rehabilitation and Reconstruction Relief

45 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 การบริหารจัดการสาธารณภัย ตาม พ.ร.บ. ปภ และแผน ปภ.แห่งชาติ พ.ศ. 2558 ระดับนโยบาย คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ใช้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ เป็นตัวขับเคลื่อน

46 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยแห่งชาติ (บกปภ.ช.)รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย เป็นผู้บัญชาการ มีหน้าที่ บังคับบัญชา อำนวยการ ควบคุม กำกับดูแล และ ประสานการ ปฏิบัติของกองอำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแต่ละระดับ ระดับปฏิบัติ

47 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กลาง (กอปภ.ก.) อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็น ผู้อำนวยการกลาง มีหน้าที่ ภาวะปกติ ประสานงาน บูรณาการ ข้อมูลและการปฏิบัติของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมความพร้อม ภาวะเกิดภัย ติดตาม เฝ้าระวัง วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ เสนอความเห็นต่อผู้ บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ เพื่อยกระดับเป็นระดับ 3 หรือ ระดับ 4 และเป็นศูนย์ประสานการปฏิบัติ ของ บกปภ.ช. เมื่อภัยยกระดับเป็นระดับ 3 หรือ ระดับ 4 ระดับปฏิบัติ

48 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยกรุงเทพมหานคร (กอปภ.กทม.) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็น ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ อำนวยการ ควบคุม สนับสนุนการ ปฏิบัติในการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยในเขต กทม. รวมถึงเป็นหน่วยเผชิญเหตุ เมื่อเกิดสาธารณภัยในพื้นที ระดับปฏิบัติ

49 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 องค์ประกอบของ กอปภ.กทม. ผว.กทม. ผู้อำนวยการ ป.กทม. รองผู้อำนวยการ รป.กทม. กรรมการ ผอ.สำนัก/ผอ.กองใน สนป. กรรมการ ประธานกลุ่มเขต กรรมการ ผู้แทนกระทรวงกลาโหม กรรมการ ผู้แทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กรรมการ ผู้แทน อปพร. กรรมการ ผู้แทนอาสาสมัครและบรรเทาสาธารณภัย กรรมการ ผอ.สปภ. กรรมการและเลขานุการ

50 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยสำนักงานเขต (กอปภ.สนข.) ผู้อำนวยการเขต เป็นผู้ช่วย ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ ดำเนินการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในเขต ของตน ระดับปฏิบัติ

51 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 องค์ประกอบของ กอปภ.สนข. ผอ.เขต ผช.ผอ.กทม. ผู้ช่วย ผอ.เขต กรรมการ หัวหน้าฝ่ายในสังกัด กรรมการ ผู้แทนสถานศึกษาในพื้นที่ กรรมการ ผู้กำกับ สน.ในพื้นที่ กรรมการ ผู้แทนกระทรวงกลาโหม กรรมการ ผู้แทนศูนย์บริการสาธารณสุข กรรมการ หัวหน้าสถานีดับเพลิงในพื้นที่ กรรมการ ผู้แทนหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน กรรมการ หัวหน้าฝ่ายปกครอง กรรมการและเลขานุการ

52 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ระดับและการจัดการสาธารณภัย ระดับ การจัดการสาธารณภัย ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย องค์กรรับผิดชอบ 1 สาธารณภัยขนาดเล็ก ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย สำนักงานเขต 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยกรุงเทพมหานคร 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ 4 สาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย

53 ระดับการจัดการสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ระดับการจัดการสาธารณภัย พื้นที่ จำนวนประชากรที่ได้รับผลกระทบ ความซับซ้อนหรือความสามารถในการจัดการสาธารณภัย ผู้มีอำนาจประเมินศักยภาพในการจัดการสาธารณภัย

54 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 สำนักงานเขต (สนข.) จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานเขต สำรวจ จัดทำบัญชีข้อมูล อุปกรณ์ ยานพาหนะ ให้เป็นปัจจุบัน จัดทำข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ศูนย์พักพิงชั่วคราว เส้นทางการอพยพ ผู้รับผิดชอบในการประสานงาน ฝึกอบรมให้ความรู้แก่ อปพร. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวัง เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิด ให้จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ สำนักงานเขต ก่อน เกิดเหตุ (สนข.)

55 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ขณะ เกิดเหตุ (สนข.) ประสาน สปภ. (199) เพื่อดำเนินการกู้ภัย จัดกำลังเจ้าหน้าที่ให้การสนับสนุนช่วยเหลือผู้ประสบภัย กรณีจำเป็น ให้อพยพผู้ประสบภัยไปอยู่ในพื้นที่ปลอดภัย

56 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 หลัง เกิดเหตุ (สนข.) สำรวจความเสียหาย จัดทำบัญชีรายชื่อ ประชาสัมพันธ์เพื่อฟื้นฟูสภาพจิตใจ ฟื้นฟู บูรณะ สิ่งเสียหายให้กลับสู่สภาพปกติ สรุปรายงานเหตุการณ์ให้ผู้บริหาร กทม. ทราบ

57 การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย การประเมินความเสี่ยง เพิ่มศักยภาพให้กับชุมชนที่มีความเปราะบาง และความล่อแหลม มีขีดความสามารถในการรับมือสาธารณภัย

58 การฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การเตรียมการอพยพ
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย การเตรียมความพร้อม ใช้ชุมชนเป็นฐาน การฝึกการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การเตรียมการอพยพ ศูนย์พักพิงชั่วคราว

59 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 การแจ้งเตือนภัย แจ้งเตือนประชาชนโดยตรง เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หอกระจายข่าว เสียงตามสาย แจ้งเตือนผ่านหน่วยงาน โดยใช้กลไกระบบการบริหารราชการ กทม. ผ่านหน่วยงานระดับสำนัก และสำนักงานเขต

60 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 การแจ้งเตือนภัย สีเขียว หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะปกติ สีน้ำเงิน หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเฝ้าระวัง สีเหลือง หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตราย มีแนวโน้มจะรุนแรง สีส้ม หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายสูง ให้อพยพไปยังสถานที่ปลอดภัย สีแดง หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะอันตรายสูงสุด ให้ปฏิบัติตามข้อสั่งการ

61 แนวทางปฏิบัติในกรณีเกิดอัคคีภัย กรุงเทพมหานคร
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในกรณีเกิดอัคคีภัย กรุงเทพมหานคร

62 บทบาทหน้าที่หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 บทบาทหน้าที่หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (สปภ.) จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร จัดเตรียมบุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ และยานพาหนะ ตลอด 24 ชั่วโมง พัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จัดเตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค สำหรับช่วยเหลือ ก่อน เกิดเหตุ (สปภ.)

63 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ก่อน เกิดเหตุ (สปภ.) เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านสาธารณภัยแก่ประชาชน ติดตามสถานการณ์ เพื่อเตรียมให้ความช่วยเหลือ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดให้จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กทม.

64 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ขณะ เกิดเหตุ (สปภ.) ส่งกำลังพล พร้อมอุปกรณ์ ยานพาหนะออกปฏิบัติหน้าที่ ประสานการปฏิบัติกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการระงับ บรรเทา สาธารณภัย

65 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 หลัง เกิดเหตุ (สปภ.) ให้การสงเคราะห์ และบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัย ร่วมฟื้นฟู บูรณะสภาพพื้นที่เสียหาย และสิ่งแวดล้อมให้กลับสู่สภาพเดิม

66 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 ศูนย์วิทยุพระราม (199) รับแจ้งข่าวสาร ข้อมูลต่างๆ จากผู้พบเห็นสาธารณภัย ประสานการปฏิบัติไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลการแก้ไขเหตุการณ์ รายงานให้ผู้บริหารทราบ จัดเตรียมอุปกรณ์สื่อสารสำรอง

67 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (สั่งการ) ปลัดกรุงเทพมหานคร รองปลัดกรุงเทพมหานคร (สั่งการ) ศูนย์ 191 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ศูนย์พระราม 199 กรุงเทพมหานคร ศูนย์อัมรินทร์ กรุงเทพมหานคร การบัญชาการเหตุการณ์และบรรเทาสาธารณภัย สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานเขต อาสาสมัครและมูลนิธิ การไฟฟ้า การประปา ศูนย์นเรนทร เหตุเกิด สถานีโดยรอบที่เกิดเหตุ 3 สถานี สถานีทั้งหมดพร้อมสนับสนุน

68 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สำนักงานเขต 1 . การประสานงานแจ้ง สน. ท้องที่เพื่อจัดการจราจร ปิดกั้นบริเวณพื้นที่เกิดเหตุและควบคุมอาชญากรรม 2. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกปฏิบัติหน้าที่ ณ ที่เกิดเหตุ โดยร่วมปฏิบัติกับ สน.ท้องที่ตามข้อหนึ่ง 3. สั่งการให้ อปพร.ออกปฏิบัติหน้าที่และอำนวยการ ปฏิบัติการของ อปพร.ในพื้นที่ 4. เตรียมการด้านการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุตามแผน ช่วยเหลือและฟื้นฟูตามสถานการณ์ 5. ในกรณีที่เหตุเพลิงไหม้หรืออุบัติภัยทวีความรุนแรง เพิ่มขึ้น ให้ผู้อำนวยการเขตจัดตั้งกองอำนวยการ ณ ที่เกิดเหตุและศูนย์สื่อสาร เพื่อประสานการ ปฏิบัติในพื้นที่และให้การรายงานสถานการณ์ต่อ ผู้บังคับบัญชาทุกระดับที่เดินทางมายังที่เกิดเหตุ

69 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สำนักงานเขต ดำเนินการกั้นบริเวณพื้นที่ส่วนที่ต่อเนื่องจาก Hot zone (สีแดง) Warm zone (สีเหลือง)และ Cool zone (สีเขียว) ตาม สถานการณ์เพื่อกั้นผู้ไม่เกี่ยวข้องออกจากบริเวณ ถ้าเหตุการณ์ใหญ่หรือรุนแรง อำนวยความสะดวกจัดพื้นที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยที่ เกี่ยวข้อง เช่น พยาบาล บรรเทาสาธารณภัย หน่วยส่งกำลังบำรุง เป็นต้น พื้นที่สีแดง เข้าได้เฉพาะผู้ปฏิบัติการซึ่งมีหน้าที่และผู้ ที่บัญชาการเหตุการณ์ ร้องขอให้เข้าช่วยเหลือพื้นที่ Warm zone เป็นที่ตั้ง ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์และสื่อมวลชน ส่วนพื้นที่ Cool zone เป็นที่ตั้งของหน่วยสนับสนุนการ ปฏิบัติงาน ทุกหน่วย ทั้ง สามพื้นที่ประชาชนไม่สามารถเข้าไปในบริเวณได้ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน

70 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department สำนักงานเขต 9. เมื่อเพลิงสงบให้สำนักงานเขตตรวจสอบให้เป็นไปตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ร.บ.ผังเมือง ฯลฯ สำนักงานเขตจัดตั้งหน่วยรับแจ้งเดือดร้อน จัดที่พักพิงแก่ผู้ประสบภัย สรุปรายงานการดำเนินการของสำนักงานเขตเสนอผู้บังคับบัญชาการตามลำดับชั้นและสำเนาให้ สปภ.ทราบ 1 ชุด เพื่อให้สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การสงเคราะห์ผู้ประสบภัย

71 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) 1. ให้หัวหน้าหน่วยหรือประธาน อปพร. บัญชาเหตุการณ์ ในการปฏิบัติให้จัด รถที่เข้าปฏิบัติการจอดอย่างมีระเบียบ ปฏิบัติอย่างมีระบบถูกต้องตามหลัก วิชาและผู้ที่เข้าปฏิบัติการในพื้นที่สีแดงจะต้องเป็นผู้ที่ผ่านการอบรม 2. ในกรณี ผอ.เขตเข้าถึงสถานที่เกิดเหตุ ให้เป็นผู้ควบคุม กำกับดูแล อปพร. และอำนวยการแทนประธาน อปพร.หรือหัวหน้าหน่วย 3. ผอ.กองปฏิบัติการดับเพลิง เข้าถึงที่เกิดเหตุให้เป็นผู้อำนวยการเหตุการณ์ แทนตามข้อ 2 และบัญชาการหน่วยของ สปภ. อปพร.และหน่วยงานสนับสนุน

72 แนวทางการจัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ ระดับกรุงเทพมหานคร และระดับเขต
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางการจัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ ระดับกรุงเทพมหานคร และระดับเขต

73 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 จัดทำ แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา สาธารณภัย แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เชื่อมโยง จัดทำ เชื่อมโยง แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา สาธารณภัย (ระบุประเภทภัย) กรุงเทพมหานคร แผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ระบุประเภทภัย) สำนักงานเขต

74 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการจัดตั้งองค์กรปฏิบัติในการจัดการในภาวะฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร การบริหารจัดการสาธารณภัย ตาม พ.ร.บ. ปภ และแผน ปภ.แห่งชาติ พ.ศ. 2558 ระดับนโยบาย คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ใช้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ เป็นตัวขับเคลื่อน

75 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการจัดตั้งองค์กรปฏิบัติในการจัดการในภาวะฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร 1. ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์สำนักงานเขต (ศบก.สนข.) การจัดการสาธารณภัยระดับ 1 ให้กอง อำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานเขต จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ สำนักงานเขต เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสา ธารณภัยขึ้น มีหน้าที่ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) เป็นผู้ควบคุม สั่งการ เพื่อ ทำหน้าที่ในการจัดการสาธารณภัยที่เกิดขึ้น จนกว่าสถานการณ์จะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ พร้อมทั้งเป็นศูนย์กลางในการระดมสรรพกำลัง และทรัพยากรในการจัดการสาธารณภัยที่เกิดขึ้น รวมทั้งอำนวยการ และประสานการปฏิบัติ ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ได้อย่างมี เอกภาพ รวดเร็วและทั่วถึง ระดับปฏิบัติ

76 การจัดการสาธารณภัย ระดับ 1
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department กรณีเกิดภัยพิบัติ การจัดการสาธารณภัย ระดับ 1 ภาวะปกติ ในภาวะฉุกเฉิน จัดตั้ง กองอำนวยการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย สำนักงานเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) การจัดการสาธารณภัย ระดับ 1 ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ สำนักงานเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) การจัดการสาธารณภัย ระดับ 1

77 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการจัดตั้งองค์กรปฏิบัติในการจัดการในภาวะฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร 2. ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร (ศบก.กทม.) การจัดการสาธารณภัยระดับ 2 ให้กอง อำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานครจัดตั้งศูนย์บัญชาการ เหตุการณ์กรุงเทพมหานครทำหน้าที่ รับผิดชอบในการจัดการ สาธารณภัยใน พื้นที่กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานคร) เป็นผู้ควบคุม สั่ง การ และบัญชาการเหตุการณ์การป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร จนกว่า สถานการณ์จะเข้าสู่สภาวะปกติ รวมทั้งเป็น ศูนย์กลางในการระดมสรรพกำลัง เพื่อบริหาร จัดการสาธารณภัย ประสานการเผชิญเหตุ ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทีเกี่ยวข้อง ระดับปฏิบัติ

78 การจัดการสาธารณภัย ระดับ 2
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department กรณีเกิดภัยพิบัติ การจัดการสาธารณภัย ระดับ 2 ภาวะปกติ ในภาวะฉุกเฉิน จัดตั้ง กองอำนวยการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) การจัดการสาธารณภัย ระดับ 2 ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) การจัดการสาธารณภัย ระดับ 2

79 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการจัดตั้งองค์กรปฏิบัติในการจัดการในภาวะฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร 3. ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้ากรุงเทพมหานคร (ศบก.กทม.) การจัดการ สาธารณภัยระดับ ให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร แปรสภาพ เป็นศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า กรุงเทพมหานคร ของกองบัญชาการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เมื่อมีการยกระดับการ จัดการสาธารณภัยเป็นระดับ 3 – 4 มีหน้าที่ ปฏิบัติงานตามการบัญชาการเหตุการณ์ของ กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พร้อมทั้งอำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติงาน และประสานการปฏิบัติระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ฝ่ายพลเรือน และฝ่ายทหาร และเป็นศูนย์กลางใน การระดมสรรพกำลังในการป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ระดับปฏิบัติ

80 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการจัดตั้งองค์กรปฏิบัติในการจัดการในภาวะฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร 4. กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กลาง (กอปภ.ก.) อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็น ผู้อำนวยการกลาง มีหน้าที่ ภาวะปกติ ติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์ ประสานงาน บูรณาการข้อมูลและการปฏิบัติ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมความ พร้อม ภาวะเกิดภัย วิเคราะห์ประเมินสถานการณ์ แจ้งเตือนภัย และเสนอความเห็นต่อผู้ บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย) เพื่อยกระดับภัย เป็น ระดับ 3 หรือ ระดับ 4 และเป็นศูนย์ ประสานการปฏิบัติของ บกปภ.ช. ระดับปฏิบัติ

81 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการจัดตั้งองค์กรปฏิบัติในการจัดการในภาวะฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร 5. กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ (บกปภ.ช.) การจัดการสาธารณภัยระดับ 3–4 ให้ บกปภ.ช. ทำหน้าที่รับผิดชอบโดยมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้ บัญชาการ มีหน้าที่ บังคับบัญชา อำนวยการ ควบคุม กำกับ ดูแล และประสานการปฏิบัติการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยของกองอำนวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ ระดับปฏิบัติ

82 การจัดการสาธารณภัยระดับ 3 หรือ 4
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department กรณีเกิดภัยพิบัติ การจัดการสาธารณภัยระดับ 3 หรือ 4 ในภาวะฉุกเฉิน ภาวะปกติ ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) แปรสภาพจากศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร เมื่อ ผบ.ปภ.ช./นรม. ตัดสินใจยกระดับภัยเป็นระดับ 3 หรือ 4 กองบัญชาการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สั่งการ กองอำนวยการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยกลาง อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย นำเสนอ

83 ระดับและการจัดการสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department ระดับและการจัดการสาธารณภัย ระดับ การจัดการสาธารณภัย ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย องค์กรรับผิดชอบ 1 สาธารณภัยขนาดเล็ก ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานเขต 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร 3 สาธารณภัยขนาดใหญ่ ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ 4 สาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย

84 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ สำนักงานเขต ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ สำนักงานเขต ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ ส่วนอำนวยการ ส่วนปฏิบัติการ ส่วนสนับสนุน

85 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ สำนักงานเขต ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์สำนักงานเขต มี โครงสร้างและองค์ประกอบ ดังนี้ คณะที่ปรึกษา/เชี่ยวชาญ มีหน้าที่ ให้ ข้อเสนอแนะ คำแนะนำ ข้อมูลทางวิชาการ เทคนิคการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์สา ธารณภัยที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่อื่นใด ตามที่ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร เห็นสมควร ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม มีหน้าที่ ประสานข้อมูลเหตุการณ์กับส่วนต่างๆ เพื่อ สื่อสารและประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารให้กับ ประชาชน ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องทราบ รวมทั้ง ปฏิบัติการทางจิตวิทยามวลชน

86 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ สำนักงานเขต ส่วนอำนวยการ มีหน้าที่ ติดตามสถานการณ์ วิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ แจ้งเตือนภัย รวบรวมประสานข้อมูล และประเมินความต้องการ และความจำเป็นในการสนับสนุนทรัพยากรในภาวะ ฉุกเฉิน ส่วนปฏิบัติการ มีหน้าที่ ปฏิบัติการเพื่อลด อันตราย รักษาชีวิตและปกป้องทรัพย์สิน เข้า ควบคุมสถานการณ์ ฟื้นฟูเข้าสู่สภาวะปกติโดยเร็ว

87 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ สำนักงานเขต ส่วนสนับสนุน มีหน้าที่ ตอบสนองการร้องขอรับ การสนับสนุนในทุกๆ ด้านที่จำเป็นเพื่อให้การจัดการ ในภาวะฉุกเฉินดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสนับสนุนด้านงบประมาณการเงิน และ การคลัง ทั้งนี้องค์ประกอบในแต่ละส่วนของศูนย์บัญชาการ เหตุการณ์สำนักงานเขตนั้น ขึ้นอยู่กับผู้ช่วย ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร จะเห็นสมควร

88 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ ส่วนอำนวยการ ส่วนวางแผน/ประเมิน ส่วนปฏิบัติการ ส่วนสนับสนุน ส่วนบริหารและการเงิน ส่วนอำนวยความปลอดภัย

89 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้ากรุงเทพมหานคร (กรณียกระดับการจัดการสาธารณภัยเป็นระดับ 3 - 4) แปรสภาพ เมื่อ ผบปภ.ช./นรม. ตัดสินใจยกระดับการจัดการ สาธารณภัยเป็น ระดับ 3 หรือ ระดับ 4 ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม ที่ปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ ส่วนอำนวยการ ส่วน วางแผน/วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ ส่วน ปฏิบัติการ ส่วน สนับสนุน ส่วนบริหารและการเงิน ส่วน อำนวยความปลอดภัย หมายเหตุ : โครงสร้างศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานครปรับได้ตามความเหมาะสม

90 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร มีโครงสร้างและองค์ประกอบ ดังนี้ 1. คณะที่ปรึกษา/เชี่ยวชาญ ทำหน้าที่ ให้ ข้อเสนอแนะ คำแนะนำ ข้อมูลทางวิชาการ การ สังเคราะห์ แนวโน้มสถานการณ์และเทคนิคการปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้นปฏิบัติ หน้าที่อื่นใดตามที่ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร เห็นสมควร และจำนวนของคณะที่ปรึกษาและ เชี่ยวชาญให้เป็นไปตามที่เห็นสมควร 2. ศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม ทำหน้าที่ ประสาน ข้อมูลเหตุการณ์กับกลุ่มงานต่างๆ เพื่อสื่อสารและ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารกับประชาชน สื่อมวลชน รวมทั้งปฏิบัติการทางจิตวิทยา มวลชน โดยให้ กองประชาสัมพันธ์ สำนักปลัด กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานหลัก

91 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร 3. ส่วนอำนวยการ ประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนัก ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รองปลัดกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนักป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักยุทธศาสตร์ และประเมินผล สำนักเทศกิจ สำนักผังเมือง สำนักงานกฎหมายและคดี กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

92 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ อำนวยการ ควบคุม กำกับดูแล การปฏิบัติงานของ ศูนย์บัญชาการฯ ประสานและติดตามผลการปฏิบัติงานของฝ่ายต่างๆ ในศูนย์ฯ จัดเตรียมข้อมูลด้านสาธารณภัย บัญชี เครื่องมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะ เพื่อให้ผู้บริหารใช้ ประกอบการตัดสินใจสั่งการ อำนวยการและประสาน การปฏิบัติทุกภาคส่วน ติดตามประเมินสถานการณ์ และสรุปรายงานผลให้ ผู้อำนวยการ กรุงเทพมหานคร ทราบทุกวัน จัดเตรียมสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ ของใช้สำนักงาน ระบบเทคโนโลยีต่างๆ ให้พร้อมปฏิบัติงาน

93 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ (ต่อ) จัดระบบสื่อสารและโทรคมนาคม พร้อม เตรียมระบบสำรอง ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ดำเนินการด้านสารบรรณของศูนย์ ประสานการตรวจเยี่ยมของผู้บังคับบัญชา และหน่วยงาน ประสานหน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้องใน การช่วยเหลือประชาชน รับเรื่องราวร้องทุกข์ จัดเตรียมข้อมูลทางด้านกฎหมาย เพื่อใช้ ประกอบคำสั่งหรือการปฏิบัติ

94 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร 4. ส่วนวางแผน/วิเคราะห์/ประเมินสถานการณ์ ประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สั่งราชการ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล รองปลัดกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานปกครองและทะเบียน หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

95 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ วิเคราะห์ เฝ้าระวัง ติดตาม และประเมิน สถานการณ์สาธารณภัยอย่างต่อเนื่องพร้อมแจ้งเตือน ภัยตลอด 24 ชั่วโมง จนกว่าเหตุการณ์กลับสู่ ภาวะปกติ บูรณาการแผนปฏิบัติการฉุกเฉินของทุกหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง วางแผนการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิด ประโยชน์และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสูงสุด ทั้งอุปกรณ์และกำลังคน ตลอดจนรวบรวมข้อมูล จัดส่งข้อมูลสถานการณ์ต่างๆ ให้ส่วนอำนวยการทุก วัน

96 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ จัดเตรียมข้อมูลด้านสาธารณภัยที่เกี่ยวข้อง บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศและข่าวกรองต่างๆ โดยประสาน กอ.รมน. กรณีเป็นภัยเกี่ยวกับความ มั่นคง นำระบบเทคโนโลยีฐานข้อมูลต่างๆ มาใช้เอื้อต่อการ ปฏิบัติงาน เชิญคณะที่ปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมให้คำปรึกษา แนะนำ และวางแผนแก้ไขปัญหา ตามสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น

97 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร 5. ส่วนปฏิบัติการ ประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนัก ที่เกี่ยวข้องตามภารกิจของภัย รองปลัดกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนักที่เกี่ยวข้องตามภารกิจ ของภัย สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ

98 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร 5. ส่วนปฏิบัติการ ประกอบด้วย (ต่อ) สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักสิ่งแวดล้อม สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักงานเขตพื้นที่ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

99 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ จัดชุดปฏิบัติการดำเนินการค้นหา ระงับ บรรเทา และช่วยเหลือผู้ประสบภัย อพยพผู้ประสบภัยไปสู่พื้นที่ปลอดภัย จัดหาที่อยู่อาศัยชั่วคราวแก่ผู้ประสบภัย ให้การรักษาพยาบาล การบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และการนำผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาล รวมทั้งการ ป้องกันและควบคุมโรค การฟื้นฟูสุขภาพ และงาน สาธารณสุขอื่นๆ ทั้งในพื้นที่เกิดเหตุ และพื้นที่ อพยพ

100 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ (ต่อ) บริหารจัดการผู้เสียชีวิตให้เป็นไปด้วยความถูกต้อง และเรียบร้อย สำรวจและประเมินความเสียหายและความต้องการ ของผู้ประสบภัย ซ่อมแซมระบบสาธารณูปโภคที่เสียหายให้กลับสู่ สภาพเดิมโดยเร็ว ซ่อมแซมเส้นทางคมนาคม และสิ่งก่อสร้างที่เสียหาย ให้สามารถใช้การได้ รื้อถอนซาก ปรักหักพัง ทำความสะอาด และฟื้นฟู บูรณะสิ่งเสียหายจากสาธารณภัย

101 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร 6. ส่วนสนับสนุน ประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนักพัฒนาสังคม รองปลัดกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนักพัฒนาสังคม สำนักพัฒนาสังคม สำนักการศึกษา สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว สำนักอนามัย สำนักงานเขตพื้นที่ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

102 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ รับผิดชอบดูแลการจัดเลี้ยงอาหารในทุกส่วน ทั้ง ส่วนปฏิบัติการ ศูนย์พักพิงชั่วคราวผู้ประสบภัย และทุกส่วนที่เกี่ยวข้องที่อยู่ในพื้นที่เกิดเหตุ จัดระบบส่งกำลังบำรุงเพื่อช่วยเหลือการ ปฏิบัติงาน ดูแลและบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว ได้แก่ การรักษาพยาบาล การควบคุมและ ป้องกันโรค การสร้างเสริมสุขภาพ การฟื้นฟู สุขภาพ การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและการ สุขาภิบาลอาหาร

103 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร 7. ส่วนบริหารและการเงิน ประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สั่งราชการ สำนักการคลัง รองปลัดกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนักการ คลัง สำนักการคลัง สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตพื้นที่ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

104 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ จัดตั้งศูนย์รับบริจาคสิ่งของพร้อมเปิดบัญชี และ จัดเจ้าหน้าที่รับบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัย และบริหารการเงินและบัญชีให้เป็นไปตาม ระเบียบ โดยออกใบเสร็จการรับบริจาคให้ ถูกต้อง จัดสรรงบประมาณให้ทุกหน่วยงานในการปฏิบัติ หน้าที่เมื่อเกิดเหตุขึ้น จัดหาสิ่งของที่จำเป็นต่อการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ร่วมรับบริจาคสิ่งของ/จัดสรรแจกจ่ายให้ทั่วถึง รวมทั้งสิ่งของพระราชทาน จัดทำบัญชีรับ สิ่งของที่ได้รับการบริจาคทุกชนิด ยกเว้นอาหาร สด จัดสรรแจกถุงยังชีพเพื่อบรรเทาความ เดือดร้อนเฉพาะหน้า

105 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ (ต่อ) จัดเก็บรักษาสิ่งของที่ได้รับบริจาค และจัดส่ง สิ่งของที่ได้รับบริจาคตามที่ผู้อำนวยการศูนย์ บัญชาการฯ มอบหมาย การจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน ตามระเบียบของทางราชการ โดยประสานงาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานเขต กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประสานหน่วยงานต่างๆ เพื่อขอกำลังเจ้าหน้าที่ จิตอาสา สนับสนุนการบรรจุเครื่องอุปโภค บริโภค ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัย

106 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร 8. ส่วนอำนวยความปลอดภัย ประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สั่งราชการ สำนักเทศกิจ รองปลัดกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนัก เทศกิจ สำนักเทศกิจ สำนักงานเขตพื้นที่ สถานีตำรวจนครบาลท้องที่ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

107 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ ผู้ประสบภัย รักษาความความปลอดภัยสถานที่เกิดสาธารณภัย พื้นที่รองรับการอพยพ ศูนย์พักพิงชั่วคราวและ พื้นที่ใกล้เคียง จัดระเบียบการจราจรในพื้นที่เกิดสาธารณภัย พื้นที่รองรับการอพยพ ศูนย์พักพิงชั่วคราวและ พื้นที่ใกล้เคียง

108 โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department โครงสร้างของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ การจัดตั้งศูนย์บัญชาการฯ สามารถ ปรับรูปแบบของโครงสร้างหน้าที่ส่วนและงานต่างๆ ได้ตามสถานการณ์สาธารณภัย โดยมีรองผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานคร และรองปลัด กรุงเทพมหานคร ที่กำกับดูแลสำนักตามภารกิจของ ภัย เป็นผู้รับผิดชอบ ตามที่ผู้อำนวยการ กรุงเทพมหานครเห็นสมควร

109 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย เมื่อเกิดสาธารณภัยในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร อันเป็น สาธารณภัยตาม พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งมีผลกระทบต่อสาธารณชนและ ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือก่อให้เกิด ความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน ในพื้นที่ ดังกล่าว เพื่อประโยชน์ในการจัดการสาธารณภัยใน พื้นที่ให้ยุติโดยเร็ว และเพื่อให้ส่วนราชการ หน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ สามารถให้ความ ช่วยเหลือ ปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ในพื้นที่ประสบสาธารณภัย ให้ผู้อำนวยการ กรุงเทพมหานครประกาศเขตพื้นที่ประสบภัยสาธารณ ภัยได้ตามดุลพินิจ โดยมีแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้

110 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย เมื่อเกิดเหตุสาธารณภัยในพื้นที่ใดให้กองอำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยสำนักงานเขต ตรวจสอบข้อเท็จจริงและรายงานสถานการณ์สาธารณภัย ที่เกิดขึ้น ให้กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานครทราบ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจประกาศเขตพื้นที่ประสบภัย

111 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย เมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้นและส่งผลกระทบต่อสาธารณชน และก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ ให้ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานครประกาศเขตพื้นที่ประสบภัยสาธารณภัยตามดุลพินิจ โดยมีแนวทางการประกาศ ดังนี้ ระบุประเภทสาธารณภัย สาเหตุการเกิดสาธารณภัย ช่วงเวลา ที่เกิดสาธารณภัย พื้นที่ที่เกิดสาธารณภัย ผลกระทบต่อสาธารณชนและก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน

112 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย แนวทางปฏิบัติในการตัดสินใจยกระดับการจัดการสาธารณภัย ให้ผู้บัญชาการ หรือผู้อำนวยการใช้เกณฑ์หรือเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ประกอบการพิจารณา พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบและความเสียหาย จำนวนผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต หรือผู้ที่ได้รับผลกระทบ สถานการณ์ของภัยมีความรุนแรง หรืออาจมีสถานการณ์แทรกซ้อน มีการขยายตัวของภัยออกไป ขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน เช่น กำลังคน เครื่องมือ อุปกรณ์ยานพาหนะ และอุปกรณ์พิเศษต่างๆ ดุลยพินิจการประเมินศักยภาพในการจัดการสาธารณภัยของผู้บัญชาการหรือผู้อำนวยการ

113 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย ทั้งนี้ ให้ใช้เกณฑ์เงื่อนไขทางด้านพื้นที่/ ประชากร/ความซับซ้อน/ศักยภาพด้านทรัพยากร และวิจารณญาณหรือดุลยพินิจของผู้อำนวยการ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างประกอบกัน เป็นเกณฑ์ในการยกระดับการจัดการสาธารณภัย ระดับ 1 เป็นระดับ 2 และการนำเสนอผู้ บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ หรือนายกรัฐมนตรีพิจารณาตัดสินใจ ในการประกาศยกระดับเป็นการจัดการสาธารณ ภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) และการจัดการสา ธารณภัยร้ายแรงยิ่ง (ระดับ 4)

114 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย แนวทางปฏิบัติในการปฏิบัติในการอพยพ เมื่อเกิดหรือใกล้จะเกิดสาธารณภัยขึ้น ในพื้นที่ใด และการอาศัยอยู่ในเขตพื้นที่นั้น จะเป็นอันตราย ให้ผู้บัญชาการ รองผู้ บัญชาการ ผู้อำนวยการ และเจ้าพนักงานที่ ได้รับมอบหมายมีอำนาจตามมาตรา 28 แห่ง พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา สา ธารณภัย พ.ศ.2550 พิจารณาสั่งอพยพ ประชาชนออกจากพื้นที่เสี่ยงภัยก่อนเกิดสา ธารณภัย ไม่ต่ำกว่า 12 ชั่วโมง และจัดให้มี กำลังเจ้าหน้าที่เข้ารักษาความสงบเรียบร้อย เพื่อป้องกันทรัพย์สินประชาชน โดยมี สำนักงานเขตพื้นที่ หน่วยทหาร ตำรวจและ หน่วยงานอื่น ร่วมสนับสนุนในการอพยพ ตามแนวทาง ดังนี้

115 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย การอพยพเคลื่อนย้าย ประกอบด้วย จัดลำดับความสำคัญของผู้อพยพ โดย แบ่งกลุ่มผู้อพยพที่ต้องได้รับการดูแลเป็น พิเศษ เช่น กลุ่มผู้ป่วยทุพพลภาพ คนพิการ คนชรา เด็ก สตรี ควร ได้รับการพิจารณาให้อพยพไปก่อน กรณีเด็ก บิดาและมารดาควรอพยพไป ด้วยกันทั้งครอบครัว และควรอพยพเป็น กลุ่ม จัดให้มีสถานที่ปลอดภัยและที่พักพิง ชั่วคราวแก่ผู้อพยพและเจ้าหน้าที่ โดยจัด ระเบียบพื้นที่อพยพให้เหมาะสม เป็น สัดส่วน

116 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย การอพยพเคลื่อนย้าย ประกอบด้วย (ต่อ) จัดระเบียบการจราจรในพื้นที่พักพิงชั่วคราวเพื่อรองรับการอพยพ ดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้อพยพใน การขนย้ายทรัพย์สินของใช้ในพื้นที่ที่เกิด สาธารณภัยและพื้นที่ใกล้เคียงตามที่ได้รับ การร้องขอ ให้มีการจัดทำทะเบียน เพื่อตรวจสอบ จำนวนผู้อพยพและ ผู้ที่ยังติดค้างใน พื้นที่ จัดให้มีการบริการด้านการแพทย์และ สาธารณสุขในพื้นที่อพยพ

117 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย การอพยพเคลื่อนย้าย ประกอบด้วย (ต่อ) จัดให้มีระบบการรักษาความสงบเรียบร้อยของพื้นที่รองรับการอพยพ โดยกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจและอาสาสมัครตามความเหมาะสม จัดให้มีเจ้าหน้าที่ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ ตำรวจในพื้นที่ เพื่อจัดกำลังดูแล บ้านเรือนและทรัพย์สินของผู้อพยพเป็น ระยะๆ หากกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจไม่ เพียงพอ ให้ประสานขอกำลังสนับสนุน จากหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย พลเรือน (อปพร.) หรืออาสาสมัครจาก ประชาชน

118 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย การยกเลิกสถานการณ์ ให้มีการติดตามความ เคลื่อนไหวของสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อเนื่อง และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบถึง สถานการณ์เป็นระยะๆ เพื่อป้องกันความสับสน โดยให้มีการยืนยันความชัดเจนถึงการยกเลิก สถานการณ์ และแจ้งให้ผู้อพยพเตรียมพร้อมใน การอพยพ กลับสู่พื้นที่อยู่อาศัยต่อไป การอพยพกลับ ให้ผู้นำชุมชนหรือผู้นำกลุ่มอพยพ จัดระเบียบและลำดับก่อนหลังก่อนการอพยพ พร้อมทั้งประสานงานการอพยพกับเจ้าหน้าที่ที่ ดำเนินการควบคุมดูแลการอพยพเมื่อได้รับแจ้งข่าว การสิ้นสุดสถานการณ์สาธารณภัย เพื่อให้ ประชาชนเตรียมความพร้อมสำหรับการอพยพและ รอรับแจ้งจุดอพยพกลับไปสู่พื้นที่อยู่อาศัย

119 แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการประกาศเขตพื้นที่ ประสบสาธารณภัย การอพยพส่วนราชการ เป็นการเคลื่อนย้ายหน่วยราชการ เพื่อให้สามารถให้บริการได้ตามปกติ โดยให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ในเขตพื้นที่ แบ่งประเภทส่วนราชการที่จะอพยพตามลำดับ และความจำเป็นเร่งด่วน พร้อมทั้งกำหนดพื้นที่รองรับการอพยพส่วนราชการไว้ล่วงหน้า โดยการดำเนินการอพยพให้เป็นไปตามแผนอพยพส่วนราชการ

120 แนวทางปฏิบัติในการสื่อสารและโทรคมนาคม
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการสื่อสารและโทรคมนาคม แนวทางปฏิบัติในการสื่อสารและโทรคมนาคม กรุงเทพมหานครในปัจจุบันได้จัดตั้งระบบการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพที่สามารถใช้ติดต่อสื่อสารตลอด 24 ชั่วโมง กล่าวคือ การเตรียมความพร้อมด้านการสื่อสารและโทรคมนาคมเป็นการเตรียมความพร้อมด้านการสื่อสาร โทรคมนาคมและวิทยุ ให้สามารถติดต่อสื่อสารได้ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งกรุงเทพมหานคร มีระบบสื่อสาร ดังนี้ ระบบสื่อสารหลัก การติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ใช้ระบบสื่อสาร ดังนี้ ระบบ VHF ผ่านข่ายอัมรินทร์ / ศูนย์วิทยุประจำโซน ระบบโทรศัพท์ปกติ/โทรศัพท์เคลื่อนที่

121 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสื่อสารสำรอง เป็นการจัดเตรียมระบบสื่อสารสำรองไว้ ใช้ทดแทนในกรณีระบบสื่อสารหลักไม่ สามารถใช้การได้ รวมทั้งการพิจารณาใช้ ประโยชน์จากข่ายสื่อสารวิทยุของ อาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือเครือข่ายอื่นๆ ตามความเหมาะสม โดยยึดหลักการรักษาความปลอดภัยทางการ สื่อสารควบคู่กับความสะดวกรวดเร็วในการ ติดต่อสื่อสารด้วยระบบโทรคมนาคมของ หน่วยงานต่างๆ

122 ผังการติดต่อสื่อสารของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร
ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์สำนักงานเขต (จำนวน 50 เขต) ศูนย์สื่อสาร สำนักงานเขตทุกเขต สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์วิทยุพระราม สายด่วน 199 สำนักการแพทย์ ศูนย์เอราวัณ สายด่วน 1646 ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 1 (เสาชิงช้า) โทรศัพท์ –69 ศูนย์ กทม. สายด่วน 1555 สำนักเทศกิจ ศูนย์วิทยุอัมรินทร์ (แม่ข่ายในการสื่อสาร) ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกลาโหม โทรศัพท์ โทรสาร นอกเวลาราชการ กองบัญชาการตำรวจนครบาล ศูนย์ผ่านฟ้า สายด่วน 191

123 แนวทางปฏิบัติในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน แนวทางปฏิบัติในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน การกระจายข้อมูลข่าวสารที่คาดว่าจะเกิดหรือเกิดสา ธารณภัยให้ส่วนราชการและประชาชนได้รับรู้และเข้าใจ สถานการณ์ โดยผ่านช่องทางการสื่อสารที่กำหนดไว้ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หอกระจายข่าว ฯลฯ หรือวิธีการ อื่น เพื่อให้ประชาชนรับทราบและเข้าใจในสถานการณ์ที่ ถูกต้อง และลดความตื่นตระหนก ทั้งนี้ในภาวะฉุกเฉินจัด ให้มีศูนย์ประสานข้อมูลร่วม (Joint Information Center : JIC) เป็นศูนย์ย่อยในศูนย์ข้อมูลประชาสัมพันธ์ร่วม ทำ หน้าที่ Point of Contact กับสื่อมวลชนและหน่วยงานด้าน ข่าวสาร พร้อมทั้งมีหน้าที่รวบรวมข้อมูลข่าวสารที่จำเป็น และเป็นปัจจุบัน เพื่อให้ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบหรือผู้ที่ ต้องการข้อมูลข่าวสาร ใช้ในการติดตามและเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร แนวโน้มความเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์  

124 แนวทางปฏิบัติในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน การตรวจสอบยืนยันความถูกต้องของข้อมูล เป็นการดำเนินการจัดการข้อมูลข่าวสารให้เสนอข้อมูลตรงตามข้อเท็จจริง เพื่อลดความสับสน ลดความตื่นตระหนกของประชาชน โดยให้มีการคัดกรองข้อมูลข่าวสารก่อนนำไปเผยแพร่ให้ประชาชนรับทราบ และนำเสนอในทิศทางเดียวกัน ข้อมูลที่ส่งออกไปยังประชาชนในพื้นที่เป้าหมายควรเป็นข้อมูล ที่ถูกต้อง ซึ่งได้แก่ คำเตือน วิธีการ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนมีความเข้าใจและป้องกันตนเองจากความเสี่ยงนั้น และจัดเตรียมประเด็น ข้อมูลข่าวสาร สำหรับการแถลงข่าว กำหนดบุคคลสำหรับให้ข่าว หน่วยงานหลัก ได้แก่ กองประชาสัมพันธ์ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร

125 แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์ การบัญชาการเหตุการณ์ เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้นใน กรุงเทพมหานคร ให้ผู้ช่วยผู้อำนวยการ กรุงเทพมหานคร (ผู้อำนวยการเขต) มีหน้าที่เข้า ดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้นใน พื้นที่รับผิดชอบของตนโดยเร็ว และแจ้งให้ ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานครและรองผู้อำนวยการ กรุงเทพมหานครทราบทันที

126 แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์ การบัญชาการเหตุการณ์ (ต่อ) ในกรณีที่มีความจำเป็นที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดหรือหน่วยงานของรัฐใด ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้นในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานครแจ้งให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้นั้นหรือหน่วยงานของรัฐทราบ และเมื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นหรือหน่วยงานของรัฐนั้น แล้วแต่กรณีได้รับแจ้งแล้วให้เป็นหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการให้ความช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครตามที่ได้รับแจ้งโดยเร็ว

127 แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์ ระดับการจัดการสาธารณภัย องค์กรรับผิดชอบการจัดการ สาธารณภัยในภาวะปกติ (ในช่วงไม่เกิดสาธารณภัย) องค์กรรับผิดชอบในภาวะฉุกเฉิน (ในช่วงเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัย) ผู้บัญชาการ (ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย) ระดับ 1 (ผู้อำนวยการเขต เข้าควบคุมสถานการณ์ สาธารณภัย) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยสำนักงานเขต (กอปภ.สนข.) (จำนวน 50 แห่ง) ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์สำนักงานเขต (กอปภ.สนข.) (จัดตั้งศูนย์ฯ เขต) ผู้ช่วยผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร ระดับ 2 (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เข้าควบคุมสถานการณ์ สาธารณภัย) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร (กอปภ.กทม.) (จัดตั้งศูนย์ฯ กรุงเทพมหานคร) ผู้อำนวยการกรุงเทพมหานคร

128 แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department แนวทางปฏิบัติในการบัญชาการเหตุการณ์ เมื่อสาธารณภัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ลุกลามขยายเป็นวงกว้าง ประชาชนได้รับผลกระทบจำนวนมาก และผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ หรือนายกรัฐมนตรีตัดสินใจยกระดับการจัดการสาธารณภัยของกรุงเทพมหานคร เป็นการจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) หรือการจัดการสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ระดับ 4) ศูนย์บัญชา การเหตุการณ์กรุงเทพมหานคร จะแปรสภาพเป็น “ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้ากรุงเทพมหานคร” และรับข้อสั่งการจากกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติไปปฏิบัติ

129 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การบรรเทาทุกข์ เสริมสร้างระบบและแนวการปฏิบัติในการบรรเทาทุกข์ ในภาวะที่เกิดสาธารณภัยและมีผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้น กรุงเทพมหานคร จะดำเนินการบรรเทาทุกข์และสงเคราะห์ผู้ประสบภัย ตามแนวทางต่อไปนี้ แนวทางปฏิบัติในการรายงานข้อมูล เป็นการรายงานข้อมูลข่าวสารกรณีเกิดสาธารณภัย ให้ผู้รับผิดชอบจัดทำรายงาน พร้อมทั้งรายงานข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ทั้งด้านสถานการณ์สาธารณภัย ด้านการปฏิบัติการระงับบรรเทาสาธารณภัย ด้านการให้ความช่วยเหลือและด้านอื่นๆ ที่จำเป็น โดยคำนึงถึงความถูกต้อง ชัดเจน รวดเร็ว โดยให้สำนักงานเขต สำรวจความเสียหายและความต้องการเบื้องต้น แล้วรายงานต่อกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร และกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ตามลำดับชั้นที่เหนือขึ้นไป

130 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การบรรเทาทุกข์ การรับบริจาค กรณีมีความจำเป็นต้องรับบริจาคสิ่งของเพื่อนำไปให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ดำเนินการ ดังนี้ จัดตั้งศูนย์รับบริจาคเงินและสิ่งของ กรุงเทพมหานคร และสำนักงานเขต เพื่อ นำไปให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย กรณีที่หน่วยงานได้รับบริจาคเงินและทรัพย์สิน ให้นำส่งเข้ากองทุนช่วยเหลือและสงเคราะห์ ผู้ประสบสาธารณภัย และรายงานให้ผู้อำนวยการศูนย์ฯ ทราบ พร้อมทั้งดำเนินการประชาสัมพันธ์การช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบสาธารณภัยให้ประชาชนทราบ เพื่อดำเนินการให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้บริจาคต่อไป

131 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การบรรเทาทุกข์ การบริหารการแจกจ่ายสิ่งของ (ถุงยังชีพ) ช่วยเหลือผู้ประสบภัย สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จัดเตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค เพื่อใช้ใน การบรรเทาทุกข์ โดยการจัดทำทะเบียนคุม รับ - จ่าย สิ่งของถุงยังชีพ ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ในการลำเลียงสิ่งของที่มีความ จำเป็นเร่งด่วนให้แก่ผู้ประสบภัยในเบื้องต้น เพื่อนำไปแจกจ่ายให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ สำนักงานเขตจัดทำช่องทางประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ผู้ประสบภัยที่ยังไม่ได้รับความช่วยเหลือ สามารถยื่นร้องขอรับความช่วยเหลือได้

132 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การฟื้นฟู การฟื้นฟู เป็นการดำเนินการภายหลังจากที่ภาวะฉุกเฉินจากสาธารณภัยบรรเทาลง หรือได้ผ่านพ้นไปแล้ว เพื่อปรับสภาพระบบสาธารณูปโภค การดำรงชีวิต และสภาวะวิถีความเป็นอยู่ของชุมชนที่ประสบภัย ให้กลับสู่สภาวะปกติ โดยมีหลักการสำคัญของการฟื้นฟู ได้แก่ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ผู้ประสบภัยต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ การพิจารณาความเสี่ยงต่อภัยในการฟื้นคืนสภาพและการสร้างใหม่เสมอ

133 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การฟื้นฟู พิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยตาม ความเหมาะสม ฟื้นฟูบูรณะโครงสร้างพื้นฐานที่เสียหายใน เบื้องต้น รายงานสรุปการประเมินความเสียหายและ ความจำเป็นในเบื้องต้น ต่อกองอำนวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ชั้นเหนือขึ้น ไปตามลำดับ และหากมีความจำเป็นเร่งด่วน ให้รายงานไปยังกองบัญชาการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติทราบ

134 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การขับเคลื่อนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานครไปสู่การปฏิบัติ การขับเคลื่อนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานครไปสู่การปฏิบัติ การที่จะทำให้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยกรุงเทพมหานคร เกิดผลสัมฤทธิ์และบรรลุผล ตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ จำเป็นต้องมีการขับเคลื่อน แผนไปสู่การปฏิบัติ โดยให้หน่วยงานดำเนินการตาม แนวทาง ดังนี้ จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย และแผนเผชิญเหตุของตนเองรองรับ โดย ให้สอดคล้องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยกรุงเทพมหานคร รวมทั้งจัดให้มีการฝึก การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามแผนฯ

135 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การขับเคลื่อนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานครไปสู่การปฏิบัติ จัดตั้งงบประมาณ โดยบรรจุแผนงาน / โครงการ ที่เกี่ยวข้องไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปี เพื่อให้มีการนำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการบูรณาการร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนด ติดตามและประเมินผล โดยให้หน่วยงานจัดทำรายงานผลการดำเนินการเป็นประจำทุกปี รวมทั้งติดตามประเมินผลในการนำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร ไปสู่การปฏิบัติ โดยดำเนินการในช่วงกลางแผน และปลายแผน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนาปรับปรุง หรือทบทวนแผนต่อไป

136 Bangkok Fire and Rescue Department
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การขับเคลื่อนแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานครไปสู่การปฏิบัติ จัดตั้งงบประมาณ โดยบรรจุแผนงาน / โครงการ ที่เกี่ยวข้องไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปี เพื่อให้มีการนำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการบูรณาการร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนด ติดตามและประเมินผล โดยให้หน่วยงานจัดทำรายงานผลการดำเนินการเป็นประจำทุกปี รวมทั้งติดตามประเมินผลในการนำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร ไปสู่การปฏิบัติ โดยดำเนินการในช่วงกลางแผน และปลายแผน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนาปรับปรุง หรือทบทวนแผนต่อไป

137 การสิ้นสุดภารกิจของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ เมื่อสถานการณ์สาธารณภัยยุติ
EMERGENCY CALL 199 Bangkok Fire and Rescue Department การสิ้นสุดภารกิจของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ เมื่อสถานการณ์สาธารณภัยยุติ


ดาวน์โหลด ppt ข้อมูลวิทยากรโดยสังเขป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google