งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สังคมและการเมือง : Social and Politics

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สังคมและการเมือง : Social and Politics"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics : สังคมและโครงสร้างทางสังคม - : ประเภทสังคม - : โครงสร้างทางสังคม - : ลักษณะสังคมไทย 2-3 : 17/18 ส.ค. 61

2 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมของ Comte
1) ขั้นเทววิทยา (Theological stage) - วิญญาณนิยม/ภูตินิยม (Animism) - ศาสนพหุเทวนิยม (Polytheism) - ศาสนเอกเทวนิยม (Monotheism) 2) ขั้นอภิปรัชญา (Metaphysical stage) 3) ขั้นวิทยาศาสตร์ (Scientific stage) 2

3 ประเภทสังคม Charles Darwin เป็นผู้นำค้นคว้าวิธีการมาใช้ศึกษาหา
รูปแบบสังคมของ Comte วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) Charles Darwin เป็นผู้นำค้นคว้าวิธีการมาใช้ศึกษาหา ข้อเท็จจริงและความรู้ใหม่ โดยอาศัยใช้วิธีการ : - Deductive Method - Inductive Method 3

4 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมของ Comte
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) การตรวจสอบและนิยามปัญหา Identification and Definition of the Problem การตั้งสมมติฐาน Formulation of Hypothesis การรวบรวมข้อมูล จัดระเบียบและการวิเคราะห์ข้อมูล Collection Organization and Analysis of Data การสรุป Formulation of Conclusion การยืนยัน ปฏิเสธ หรือปรับสมมติฐาน Verification Rejection or Modification of Hypothesis 4

5 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมตามหลักสังคมวิทยา
นักสังคมวิทยา เสนอแนวคิดการแบ่งสังคมตาม หลักการ ดังนี้ 1) ความซับซ้อน : โครงสร้างสังคม องค์กรและสถาบัน 2) รูปแบบของความสัมพันธ์ : ใกล้ชิดเป็นกันเอง/ไม่เป็นทางการ : ห่างไกล/เป็นทางการ 3) ขั้นขนาดของสังคม : ขนาดเล็ก/ขนาดใหญ่ พัฒนา/ไม่พัฒนา 5 5

6 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมตามลักษณะสังคม
นักวิชาการทางสังคม เสนอการแบ่งสังคมตามลักษณะ สังคมออกเป็น 2 สังคม 1) สังคมชนบท (Rural Society) สังคมพื้นบ้าน (Folk Society) 2) สังคมเมือง (Urban Society) สังคมทันสมัย (Modern Society) เกณฑ์ : 1) จำนวนและความหนาแน่นของประชากร 2) กฎหมายและลักษณะการปกครอง 3) ความหนาแน่นและลักษณะสิ่งก่อสร้าง 4) ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ เช่น อาชีพ 5) ความเป็นมาในอดีต 6 6

7 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมตามลักษณะสังคม
1) สังคมชนบท (Rural Society) สังคมพื้นบ้าน (Folk Society) 1.1 ชุมชนขนาดเล็ก โดยที่มีความคล้ายคลึงกันมาก (Homogeneous) ทั้งเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ฐานะเศรษฐกิจและสังคม วิถีชีวิต และอื่นๆ 1.2 โดดเดี่ยวห่างไกล (Isolated) ติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลภายนอกค่อนข้างน้อย 1.3 ไม่ให้ความสำคัญกับภาษาเขียน การติดต่อสื่อสารเน้นภาษาพูด 1.4 มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและยึดถือร่วมกัน 1.5 การปฏิสัมพันธ์ใกล้ชิด 7 7

8 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมตามลักษณะสังคม
2) สังคมเมือง (Urban Society) สังคมทันสมัย (Modern Society) 2.1 ชุมชนที่ประชากรมีความแตกต่างกันค่อยข้างมาก (Heterogeneous) หลายเชื้อชาติ ภาษา ความเชื่อ ฐานะเศรษฐกิจและ สังคม วิถีชีวิตและอื่นๆ 2.2 ประชากรอ่านออกเขียนได้ การติดต่อสื่อสารอาศัยวิทยุ โทรทัศน์ และอุปกรณ์สื่อสารสมัยใหม่ 2.3 ความรู้สึกแปลกหน้า 2.4 การแบ่งแยกแรงงานกันตามความสามารถเฉพาะ 2.5 การติดต่อเป็นไปอย่างเป็นทางการ และเครื่องหมายแสดงสถานภาพชัดเจน 8 8

9 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมของ Morgan
Lewis Henry Morgan เสนอแนวความคิดการแบ่งสังคมตามลักษณะการยังชีพ 1. สังคมคนป่า (Savagery) เก็บของป่า ล่าสัตว์/ตกปลา โดยรู้จักใช้ธนู 2. สังคมอานารยชน (Barbarianism) ทำเครื่องปั้นดินเผา โดยรู้จักเหล็ก 3. สังคมอารยธรรม (Civillization) ประดิษฐ์อักษร 9 9

10 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมของ Ferdlnand Tonnies
1. Gemeinschaft สังคมแบบง่ายๆ ยึดถือจารีตประเพณี 2. Gesellschaft สังคมแบบชาวเมืองเน้นความสัมพันธ์หน้าที่การงาน 10 10

11 ประเภทสังคม รูปแบบสังคมของ Gerhard Lenski
1. สังคมล่าสัตว์และเก็บอาหาร 2. สังคมสัตว์เลี้ยง 3. สังคมกสิกรรมพืชสวน/ทำไร่ 4. สังคมเกษตรกรรม 5. สังคมอุตสาหกรรม 11 11

12 โครงสร้างทางสังคม รูปแบบการจัดระเบียบทางสังคมที่ก่อให้เกิด
พฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์อย่างมีระเบียบแบบ แผนในการดำเนินชีวิตร่วมกัน : - การพบปะสังสรรค์ระหว่างกัน - สถานภาพ บทบาทและบรรทัดฐานทางสังคม - กลุ่มและสถาบันภายในสังคม

13 องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม
1. กลุ่มคน (Groups) 2. สถาบันทางสังคม (Social Institution) 3. การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)

14 โครงสร้างทางสังคม สถาบัน การจัดระเบียบ กลุ่มคน ทางสังคม ทางสังคม
กลุ่มปฐมภูมิ กลุ่มทุติยภูมิ สถาบันครอบครัว สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันอื่นๆ บรรทัดฐาน สถานภาพ บทบาท ค่านิยม

15 กลุ่มคน (Groups) การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปอาศัยอยู่รวมกัน
ในดินแดนหนึ่งเป็นระยะเวลานานพอสมควร โดยที่มี - การติดต่อสัมพันธ์กันทางสังคม - การตอบสนองกันและกัน - การถ่ายทอดแนวคิดที่มีความเข้าใจร่วมกัน โดยมุ่งหวังที่จะบรรลุความสำเร็จ อันเป็นจุด มุ่งหมายปลายทางเดียวกัน

16 กลุ่มทางสังคม - กลุ่มขนาดเล็ก 1. กลุ่มปฐมภูมิ (Primary Group)
- มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดสนิทสนมเป็นส่วนตัว - มีการพบปะทะสังสรรค์กันโดยตรงบ่อยครั้ง - มีการอบรมสั่งสอนแก่สมาชิกในกลุ่ม - มีความผูกพันทางจิตใจ - มีการให้อภัยและช่วยเหลือกันและกัน

17 - กลุ่มมีสมาชิกมีความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ
กลุ่มทางสังคม 2. กลุ่มทุติยภูมิ (Secondary Group) - กลุ่มมีสมาชิกมีความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ - มีการแบ่งงานกันทำไปตามสายงาน - สมาชิกกลุ่มมีการติดต่อกันแบบผิวเผิน - พบปะเป็นไปตามตำแหน่งหน้าที่การงาน - ไม่เป็นส่วนตัวจะเป็นแบบทางการ - สมาชิกต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์หรือระเบียบ แบบแผนที่กำหนดไว้

18 สถาบันทางสังคม (Social Institution)
แนวทางการปฏิบัติอันมีระบบและระเบียบ ซึ่งบุคคล ส่วนใหญ่ในสังคมนั้นยอมรับนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ ร่วมกันในสังคม รูปแบบพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมเพื่อสนองความ ต้องการร่วมกันในด้านต่างๆ และการคงอยู่ของสังคม โดย แบบแผนพฤติกรรมต่างๆ เป็นไปตามบรรทัดฐานทางสังคมที่ กำหนดอย่างแน่นอนและเป็นไปตามวัฒนธรรมของแต่ละ สังคม

19 สถาบันทางสังคม (Social Institution)
องค์ประกอบของสถาบันสังคม 1. บุคคลคือ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบหรือบุคคลที่ได้จัดระเบียบแล้ว โดย ที่มีสถานภาพ บทบาท หรือหน้าที่ควบคุมทางสังคมที่มีการจัดระเบียบ และมีค่านิยมยึดถือ 2. หน้าที่ของสถาบันทางสังคม คือ วัตถุประสงค์เพื่อสนองตอบ ความต้องการของ สังคม 3. แบบแผนการปฏิบัติ หรือพฤติกรรม คือ กฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน ที่เป็นแนวทางใน การปฏิบัติของสมาชิกในสังคม

20 สถาบันครอบครัว สถาบันที่เกี่ยวกับแบบแผนในการปฏิบัติทาง
ครอบครัวและเครือญาติที่มีความเกี่ยวพันกันทาง สายโลหิตหรือกฎหมาย โดยที่มีการกระทำระหว่าง กันทางสังคมและความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้น แบ่ง ออกเป็น : 1. ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) 2. ครอบครัวขยาย (Extended Family)

21 สถาบันการเมืองและการปกครอง
สถาบันที่เกี่ยวกับการใช้อำนาจ การปกครอง และการบริหารเพื่อควบคุมดูแลให้ผู้คนในสังคมมี การปฏิบัติตามบรรทัดฐานในการอยู่ร่วมกัน : 1. แบบประชาธิปไตย (Democracy) เป็นรัฐที่ให้ อำนาจประชาชน มีความเป็นอิสระ กฎเป็นของประชาชน 1.1 ระบบการปกครองจากคณะผู้ปกครองแบบ ทางการที่ประชาชนเลือก 1.2 รัฐจะไม่ควบคุมกิจการทุกอย่างและอำนาจ ตัดสินใจกระจาย

22 สถาบันการเมืองและการปกครอง
2. รัฐเผด็จการ 2.1 รัฐเผด็จการโดยตัวบุคคล/อำนาจนิยม (Authoritarianism) เป็นรูปแบบรัฐที่สิทธิอำนาจขึ้น อยู่บุคคลคนเดียว 2.2 รัฐเผด็จการโดยคณะบุคคล/เบ็ดเสร็จ (Totalitarianism) เป็นรูปแบบรัฐที่ปกครองโดย พรรคเดียว

23 สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันเกี่ยวกับการผลิต และการบริโภคของ
บุคคล โดยที่มีเป้าหมายเพื่อการกินดีอยู่ดีประชาชน ความต้องการใช้สินค้าและบริการต่างๆ ซึ่งจะ ประกอบด้วย การผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยน และการกระจาย เศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประชาชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน (ทุน ที่ดิน แรงงาน ประกอบการได้อย่างเสรี) มีความอิสระใน การประกอบการต่างๆ โดยสามารถเคลื่อนย้ายทุน อย่างเสรี

24 สถาบันเศรษฐกิจ เศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
ประชาชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินต่าง ๆ และ เลือกลงทุนบางอย่าง แต่ถ้าเป็นกิจกรรมหลักๆ ทาง เศรษฐกิจ รัฐบาลจะดำเนินการเอง เช่น สวัสดิการ ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ ประชาชนในระบบเศรษฐกิจไม่ให้กรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินส่วนตัว ทรัพย์สินทั้งหมดเป็นของรัฐและ รัฐจะเป็นผู้จำกัดในการเลือกปัจจัยในการผลิต

25 สถาบันการศึกษา สถาบันเกี่ยวกับการทำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้
ความสามารถ คุณธรรม ความคิดให้แก่สมาชิกใน สังคม การช่วยส่งเสริมให้บุคคลมีความรู้ มีเหตุมีผล ในการกระทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อการอยู่รวมกัน

26 สถาบันศาสนา สถาบันเกี่ยวกับเป็นแบบแผนความเชื่อ และ
ศรัทธาของบุคคลในสังคม แหล่งที่ยึดเหนี่ยวของจิตใจคนในสังคม และยัง กำหนดวิถีการปฏิบัติประจำวันบางประการ

27 การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
บรรทัดฐานของสังคม (Norms) ระเบียบแบบแผนที่บุคคลในสังคมจะยึดถือ เป็นแนวทางปฏิบัติในการกระทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน - วิถีประชา (Folkways) - จารีต (Mores) - กฎหมาย (Laws)

28 การกระทำหน้าที่ที่กำหนดไว้ หรือพฤติกรรมที่คาด
สถานภาพ (Status) - สถานภาพโดยกำเนิด - สถานภาพโดยการกระทำ บทบาท (Role) การกระทำหน้าที่ที่กำหนดไว้ หรือพฤติกรรมที่คาด หวังสำหรับผู้ที่อยู่ในสถานภาพต่างๆ ว่าจะต้องปฏิบัติ อย่างไร

29 ค่านิยม (Value) สิ่งที่คนสนใจ สิ่งที่คนปรารถนา จะได้ปรารถนา จะเป็นหรือกลับกลายมาเป็นความสุขที่ได้เห็น ได้ฟัง ได้เป็นเจ้าของค่านิยมในสังคมจึงเป็น "วิถีของการ จัดรูปความประพฤติ" มีความหมายต่อบุคคล เป็นแบบฉบับ ของความคิดที่มีคุณค่าสำหรับยึดถือในการปฏิบัติ

30 ลักษณะของค่านิยม 2. สมาชิกในสังคมยึดถือมานาน
ลักษณะของค่านิยม            1. กำหนดการประพฤติปฏิบัติของคนในสังคม 2. สมาชิกในสังคมยึดถือมานาน      3. ค่านิยมที่ยึดถือนั้นเป็นความต้องการของคนในสังคม      4. สมาชิกในกลุ่มให้การยอมรับ

31 ลักษณะค่านิยมของสังคมไทยในอดีต
 1. ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา 2. เชื่อเรื่องในกฎแห่งกรรม 3. เชื่อในเรื่องวิญาณ ภูตผีปีศาจ 4. ยกย่องระบบศักดินา 5. เคารพผู้อาวุโส 6. ชอบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน

32 ลักษณะค่านิยมของสังคมไทยในปัจจุบัน
1. ยึดถือในพระพุทธศาสนา 2. เคารพเทิดทูนพระมหากษัตริย์ 3. เชื่อในเรื่องของเหตุผล ความเป็นจริงและความถูกต้องมากขึ้นกว่าในอดีต 4. ค่านิยมในการให้ความรู้ 5. นิยมร่ำรวยและมีเกียรติ 6. นิยมการบริโภค

33 ลักษณะค่านิยมของสังคมไทยในปัจจุบัน
7. ชอบอิสระ ไม่ชอบอยู่ภายใต้อำนาจใคร 8. ต้องการสิทธิความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย เท่าเทียมกัน 9. นิยมการทดลองอยู่ด้วยกันก่อนแต่งงาน 10. นิยมภาษาต่างประเทศ

34 สรุปโครงสร้างลักษณะสังคมไทย
1. โครงสร้างสังคมแบบหลวม - เลือกปฏิบัติในสิ่งที่ตนพอใจ - ขาดระเบียบวินัย บุคคลจะทำตามความพอใจ ของตนมากกว่า จนกลายเป็นคนเห็นแก่ตัว - แต่บางครั้งประสานประโยชน์ร่วมกัน ไม่ก่อให้เกิดการ ขัดแย้ง

35 สรุปโครงสร้างลักษณะสังคมไทย
2. ความสัมพันธ์ของบุคคลในสังคมเป็นปฐมภูมิ ยึดการเป็นส่วนตัวมาก 3. ส่วนใหญ่เป็นสังคมเกษตรประมาณ 40% 4. การยึดขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นหลักและ ไม่ค่อยยอมรับความคิดใหม่ๆ ที่ขัดกับรูปแบบขนบธรรมเนียมเดิม 5. ไม่นิยมอพยพเคลื่อนย้ายไปสู่ถิ่นอื่น

36 สรุปโครงสร้างลักษณะสังคมไทย
6. มีการศึกษาค่อนข้างต่ำ โดยเฉพาะคนชนบท 7. ฐานะเศรษฐกิจยังยากจนเป็นส่วนใหญ่ 8. ยึดมั่นองค์พระมหากษัตริย์ที่เป็นศูนย์รวมจิตใจ ของประชาชน 9. มีการแบ่งชนชั้นทางสังคม ทำให้เกิดช่องว่าง ระหว่างสังคม

37 ลักษณะสังคมไทยแบ่งเป็น 8 ชั้นดังนี้
ชั้นสูงสุด ชั้นสูงธรรมดา ชั้นกลางสูง ชั้นกลางธรรมดา ชั้นกลางค่อนข้างต่ำ ชั้นต่ำปานกลาง ชั้นต่ำ 1. มหากษัตริย์และพระราชินี พระบรมวงศานุวงศ์ 2. คณะรัฐมนตรี รัฐบุรุษ ชั้นนำ 3. ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ นักธุรกิจ อุตสาหกรรมชั้นนำที่มี อิทธิพล 4. ปัญญาชนชั้นนำ ข้าราชการชั้นพิเศษ 5. ข้าราชการชั้นเอก พ่อค้า 6. ข้าราชการชั้นผู้น้อย ช่างฝีมือ 7. เสมียน พนักงาน ลูกจ้าง 8. กรรมกร ชาวนา พ่อค้าหาบเร่ ชั้นค่อนข้างสูง

38 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
ชุมชนเมืองในปัจจุบัน เป็นเขตพื้นที่ที่ประกอบด้วย เขตเทศบาลตำบล เทศบาลเมือง เทศบาลนครและเทศบาลพิเศษ หรือ กรุงเทพมหานครและพัทยา

39 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
กลุ่มสังคมในชุมชนเมือง 1. ครอบครัวและเครือญาติ ครอบครัวขนาดเล็กมีพ่อแม่ลูก ชนชั้นสูง-กลางอาจมี คนรับใช้ พ่อแม่ลูกมักไม่ค่อยพบกันอยู่ด้วยกันนานๆ เหมือนอดีต

40 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
กลุ่มสังคมในชุมชนเมือง 2. การศึกษา ระดับการศึกษาตั้งแต่ชั้นอนุบาล-ระดับอุดมศึกษา โดย มีความหลากหลายและระดับสูงมากกว่าเขตชนบท เกิดกลุ่มทางการศึกษา เช่น สมาคมครูและผู้ปกครอง สมาคมนิสิตเก่า สถาบันวิจัย

41 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
กลุ่มสังคมในชุมชนเมือง 2. การศึกษา ความเป็นนักเรียน/นิสิต/นักศึกษาอย่างเป็นทางการ มีระยะเวลายาวนาน เกิดกลุ่มสังคมเกี่ยวกับการศึกษาที่มีความชำนาญ เฉพาะด้าน แบ่งสายชัดเจน สายสามัญ สายอาชีวะ

42 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
กลุ่มสังคมในชุมชนเมือง 3. สภาพเศรษฐกิจ ศูนย์กลางกิจกรรมทางเศรษฐกิจของสังคมและยัง เป็นแหล่งตลาดสำคัญที่มีกำลังซื้อสูง - ประเภทธุรกิจการค้า ร้านค้าปลีกและร้านค้าส่ง - ประเภทการเงินและการธนาคาร ธนาคารของรัฐ ธนาคาร พาณิชย์ บริษัทประกันชีวิต ประกันภัย

43 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
กลุ่มสังคมในชุมชนเมือง 4. การเมือง กลุ่มสังคมจะกว้างขวางและก้าวหน้าจากอดีตมาก พลเมืองมีสิทธิเลือกตั้งและมีส่วนร่วมหรือแสดงออก ประชาชนให้ความสำคัญติดตามข่าวสารการเมือง และภาวะการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอยู่เสมอ

44 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
ชุมชนชนบทในปัจจุบัน เป็นเขตพื้นที่ที่อาณาเขตนอกจากเขตเทศบาล นอกเขตกรุงเทพมหานคร และนอกเขตเมืองพัทยาเป็นที่ อยู่อาศัยของคนชนบทที่ส่วนใหญ่เป็นชาวนา ชาวไร่ ชาวสวนหรือคนงานรับจ้างในนา-ไร่

45 กลุ่มคนชนบท

46 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
กลุ่มสังคมในชุมชนชนบท กลุ่มเพื่อนบ้าน กลุ่มเพื่อนเล่น กลุ่มเพื่อนร่วมงาน กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเพื่อนคนงานในโรงงานเดียวกัน 1. ครอบครัวและเครือญาติ ครอบครัวขนาดใหญ่มีพ่อแม่ ลูกและญาติพี่น้องอื่นๆ หรือครอบครัว 2 ครอบครัว ภายในครอบครัวมีความใกล้ชิดกัน สัมพันธ์กันอย่างดี ช่วยเหลือกัน

47 โครงสร้างสังคมไทยในปัจจุบัน
กลุ่มสังคมในชุมชนชนบท 2. การศึกษา ระดับการศึกษาค่อนข้างต่ำจบภาคบังคับ การเรียนรู้ ข่าวสารน้อยและไม่แตกต่างกัน 3. สภาพเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจต้องพึ่งพาภายนอกสังคมและ เกี่ยวข้องภาคการเกษตรเป็นหลัก

48 ลักษณะเด่นสังคมไทยในปัจจุบัน
1. เป็นสังคมที่มีน้ำใจต่อกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน และมีความเอื้ออาทรต่อกัน 2. ถือความเป็นพี่เป็นน้องกันเป็นหลักในการครองเรือนและครองงาน 3. มีลักษณะของการประนีประนอมกัน (Conciliation) ไม่พยายามให้ข้อพิพาทหรือข้อขัดแย้งลุกลามใหญ่โตออกไป

49 ลักษณะเด่นสังคมไทยในปัจจุบัน
4. สังคมมีความยืดหยุ่นไม่ปิดกั้นของใหม่ 5. ยึดถือคำสอนทางพุทธศาสนามาใช้กับชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะจะเดินตามทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) และถือหลักว่า "ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว“ 6. เป็นนักปฏิบัตินิยม (Pragmatism) คือ เป็นผู้คิดแก้ปัญหาต่างๆ ในทางปฏิบัติมากกว่าอาศัยหลักทฤษฎี

50 ลักษณะด้อยสังคมไทยในปัจจุบัน
1. ขาดความมุ่งมั่นเอาจริงเอาจังในการงานและความเป็นอยู่ ไม่มีความตรงต่อเวลา 2. ขาดความเป็นเลิศ (Excellence) ทำอะไรแบบจับจด ไม่มีเป้าหมายที่ชัดเจน 3. เป็นสังคมที่มีความเกรงอกเกรงใจกันมากเกินไป จึงขาดความหลากหลายทางด้านความคิด เพราะไม่อยากจะโต้แย้งความคิดกลัวว่าจะกระทบกระเทือนจิตใจของผู้อื่น

51 ลักษณะด้อยสังคมไทยในปัจจุบัน
4. ขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) 5. ขาดจิตสาธารณะ ขาดความรับผิดชอบต่อส่วนรวม 6. ขาดจิตสำนึกในการรักความยุติธรรม ไม่มีการลงโทษทางสังคมต่อผู้กระทำ และสังคมมีลักษณะลืมง่าย ข้อพิจารณา


ดาวน์โหลด ppt สังคมและการเมือง : Social and Politics

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google