ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNelson Gabeira ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
จังหวัด พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูล ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP
เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัด พะเยา
2
ขั้นตอนการประชุม ระดมความคิดเห็น
STEPs Tasks 1) VC / CSF ปรับ VC และ กำหนด CSF 2) Data Analysis วิเคราะห์แบบ Infographic และ GIS พร้อม สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ 3) ข้อเสนอแนะนโยบาย หรือ โครงการสำคัญ เสนอโครงการหรือมาตรการจากผลการวิเคราะห์ ในขั้นตอน 3 4) Project Idea เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ
3
Value Chain Product Champion(ห่วงโซ๋มูลค่าของ ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ ) “ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP”
1 การวิจัยและพัฒนา(R&D)และพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร 2 การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน 3 การแปรรูป การเพิ่มและสร้างคุณค่า 4 การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหารสินค้า (Logistics) 5 การพัฒนา ระบบการตลาด 6 1.1 วิจัยความต้องการข้าวหอมมะลิปลอดภัยของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ(เช่นราคา ชนิดข้าว ที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภค เป็นต้น) 1.2 เป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดี 1.3 พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี เช่นการปรับปรุงดิน การบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว เป็นต้น 1.4 วิจัยและพัฒนาระบบมาตรฐานการปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่เทียบเท่ามาตรฐาน GAP เช่น เกณฑ์มาตรฐาน กลไกและผู้ให้การตรวจรับรองพันธุ์ข้าวและผลผลิตข้าวปลอดภัยทีรวดเร็วและน่าเชื่อถือเทียบเท่ามาตรฐาน GAP 1.5 การพัฒนา ดัดแปลงและเลือก ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยทั้งกระบวนการ 2.1 ขยายการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัย 2.2 สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เช่น การอบรม สาธิต ดูงานด้านการใช้พื้นที่เพาะปลูก การพัฒนาคุณภาพดิน แหล่งน้ำที่ปลอดภัยจากสารเคมี การเพิ่มผลผลิต และการลดต้นทุน เป็นต้น 2.3 เกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐานข้าวปลอดภัยของจังหวัด และ/หรือมาตรฐาน GAP 2.4 ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.5 พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยทั้งกระบวนการ 2.6 มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัย 3.1 ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวหอมมะลิปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบลดความชื้นข้าว เป็นต้น) 3.2 ผลผลิตข้าวสารหอมมะลิปลอดภัยได้รับการรับรองคุณภาพข้าวเพื่อการค้าในประเทศ ตามมาตรฐานข้าวปลอดภัยของจังหวัด หรือในกรณีที่เป็นเงื่อนไขการส่งออกให้ต้องมีมาตรฐาน GAP/ HACCP 3.3 เกษตรกรมีแผนการผลิต และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม(Crop Zoning and planning) 3.4 เกษตรกรมีความ สามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัยให้เกิดประโยชน์ 4.1 โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวหอมมะลิปลอดภัยชนิดต่างๆ 4.2 ใช้เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวหอมมะลิปลอดภัย 4.3 โรงสีชุมชนในกระบวน การผลิตข้าวปลอดภัยของจังหวัดส่วนใหญ่เป็น Zero Waste Industry เช่นโรงสีข้าวสามารถควบคุมการปล่อยของเสียได้/แกลบสามารถขายไปทำเชื้อเพลิง/รำข้าวสามารถนำไปทำน้ำมันรำข้าว 4.4 ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตข้าวให้เป็นผลิตภัณฑ์เอกลักษณ์ของพะเยา เช่น ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ และสินค้า OTOP ที่หลากหลายและได้มาตรฐาน เช่น มผช. /OTOP 5 ดาว/ GMP/HACCP เป็นต้น 4.5 การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark) ผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ดึงดูด และเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดพะเยา 5.1 ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยในระดับจังหวัด เช่น มียุ้งฉาง หรือโกดัง หรือสถานที่รวบรวมสินค้าข้าวที่ได้มาตรฐาน(Warehouse) 5.2 ใช้ระบบการขนส่งข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าข้าวที่ร่วมในกระบวน การผลิตข้าวปลอดภัยจนถึงตลาด 6.1 มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน 6.2 มีระบบตลาดซื้อขายข้าวหอมมะลิปลอดภัยล่วงหน้า 6.3 มีกลไกการกำหนดราคาข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่เหมาะสมตามคุณภาพ 6.4 มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว 6.5 การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ 6.6 พัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขันทางการตลาด (เช่น การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการตลาดกับภาคส่วนต่าง ๆ การรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มอำนาจการต่อรอง )
4
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มขีดวามสามารถในการแข่งขัน Product Champion (ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ) : ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP แผนผังสถิติทางการ (Data mapping) หน่วยงานผู้รับผิดชอบ ห่วงโซ่คุณค่า (VC) และปัจจัยแห่งความสำเร็จ (CSF) ตัวชี้วัด ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น หน่วย มี/ไม่มี ฐานข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ความถี่ของข้อมูล สถานีพัฒนาที่ดิน VC1 : การวิจัยและพัฒนา(R&D)และพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน CSF 1.3 พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี เช่นการปรับปรุงดิน การบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว เป็นต้น KPI คุณภาพดินและลักษณะพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการเพาะปลูกข้าวปลอดภัยจากสารเคมี Data ข้อมูลชุดดินในแต่ละพื้นที่ (รหัสชุดดิน) ไร่ มี ทะเบียน รายปี เกษตรจังหวัดพะเยา VC2 : การพัฒนาเกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร CSF 2.1 ขยายการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัย KPI ร้อยละของพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัยเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมดของจังหวัด Data จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมดของจังหวัดในปีปัจจุบัน ไร่ Data จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัยในปีปัจจุบัน ทะเบียน CSF 2.3 เกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐานข้าวปลอดภัยของจังหวัด และ/หรือมาตรฐาน GAP KPI จำนวนผลผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยเฉลี่ยต่อไร่ที่เพิ่มขึ้น Data จำนวนผลผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยเฉลี่ยต่อไร่ ในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา กใก./ไร่
6
ที่มาข้อมูล : สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดพะเยา
7
ที่มาข้อมูล : สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดพะเยา
8
ที่มาข้อมูล : สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดพะเยา
9
ที่มาข้อมูล : สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดพะเยา
10
พื้นที่ตามศักยภาพชุดดิน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (กก.) เนื้อที่ปลูกข้าว
อำเภอ พื้นที่ตามศักยภาพชุดดิน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (กก.) เนื้อที่ปลูกข้าว พื้นที่เหลือ ร้อยละพื้นที่เหลือ ข้าวปลอดภัย ร้อยละพื้นที่ข้าวปลอดภัย เมืองพะเยา 146,777 576 94,303 52,474 35.8 1,015 1.1 อำเภอแม่ใจ 57,079 550 52,508 4,571 8.0 1,617 3.1 อำเภอปง 33,251 535 35,603 -2,352 -7.1 399 อำเภอเชียงม่วน 31,485 532 14,656 16,829 53.5 20 0.1 อำเภอดอกคำใต้ 175,141 594 153,636 21,505 12.3 2,155 1.4 อำเภอเชียงคำ 115,964 78,937 37,027 31.9 1,060 1.3 อำเภอจุน 128,465 530 129,944 -1,479 -1 - อำเภอภูกามยาว 24,248 40,025 -15,777 -65 1,307 3.3 อำเภอภูซาง 45,907 554 29,501 16,406 35.7 723 2.5
11
ที่มาข้อมูล : สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดพะเยา
12
ที่มาข้อมูล : เกษตรจังหวัดพะเยา
13
ที่มาข้อมูล : เกษตรจังหวัดพะเยา
16
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1
ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP วิเคราะห์ประกอบ จังหวัดพะเยา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริมการเกษตรปลอดภัย และการค้า การลงทุน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน กลยุทธที่ 1 : พัฒนาการเกษตรสู่ระบบเกษตรปลอดภัยและอินทรีย์ โครงการ : ส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย/GAP ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ STEP 2
17
โครงการสำคัญ / มาตรการ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ 1. คุณภาพดินและลักษณะพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการเพาะปลูกข้าวปลอดภัยจากสารเคมี 1. โครงการส่งเสริมจัดการใช้พื้นที่ดินตามหลักการเกษตรที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตข้าวเต็มพื้นที่ 2. ร้อยละของพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกทั้งหมดของจังหวัด 3. จำนวนข้าวหอมมะลิเฉลี่ยต่อไร่ที่เพิ่มขึ้น 4.ร้อยละของพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัยเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกข้าวปลอดภัยทั้งหมดของจังหวัด 2. โครงการเพิ่มผลผลิตการเพาะปลูก ข้าวปลอดภัย จังหวัดพะเยา “ส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัยปลอดภัย/ GAP ในพื้นที่ ที่มีศักยภาพ ” STEP 2
18
กรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea)
จังหวัดพะเยา “ส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย ข้าวอินทรีย์ ในพื้นที่ ที่มีศักยภาพ ” โครงการส่งเสริมจัดการใช้พื้นที่ดินตามหลักการเกษตร ที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตข้าวเต็มพื้นที่ วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย เพื่อจัดการพื้นที่ดินที่เหมาะสมในการเพาะปลูกเต็มพื้นที่ตามหลักการเกษตร เพื่อสร้างการเรียนรู้แก่เกษตรกรในการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต สูงสุดในการเพาะปลูก กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ สำรวจพื้นที่เพาะปลูกที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ ฟื้นฟูพัฒนา เตรียมพื้นที่เพาะปลูกที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ ถอดบทเรียนเพื่อเรียนรู้ อำเภอต้นแบบที่ใช้พื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพได้ผลผลิตสูง STEP 4
19
กรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea)
จังหวัดพะเยา “ส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย/ GAP ในพื้นที่ ที่มีศักยภาพ ” 2. โครงการเพิ่มผลผลิตการเพาะปลูกข้าวปลอดภัย/GAP วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย เพื่อเพิ่มผลผลิตการเพาะปลูกข้าวปลอดภัยสร้างรายได้จากพื้นที่เพาะปลูกที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ อบรมเกษตรกร และส่งเสริมการข้าวปลอดภัยเพิ่มในพื้นที่เพาะปลูกใหม่ที่ได้รับการเตรียมความพร้อม STEP 4
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.