ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
How to develop a research successfully?
Assist. Prof. Dr. Songkramchai Leethongdee, Mahasarakham University,
2
What is a research? Thesis Independent study Research
3
What is meaning of RESEARCH?
4
Definition of Research
การค้นหาความรู้ความจริงด้วยวิธีการอย่างเป็นระบบและเชื่อถือได้ Keywords การค้นหา ความรู้ ความจริง อย่างเป็นระบบ น่าเชื่อถือ
5
กระบวนการวิจัย 1. การกำหนดปัญหาวิจัย 2. การกำหนดสมมุติฐานวิจัย 3. การรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปและอภิปรายผลวิจัย
6
RESEARCH CYCLE THEORY RES. FRAMEWORK RES. HYPOTHESES RECOMMENDATIONS
PROBLEMS POPULATION AND SAMPLING INFERENCES DATA ANALYSIS INSTRUMENTATION DATA COLLECTION
7
Dimension of Wisdom
8
DATA phenomena Data, Information, Knowledge, Learning LEARNING/WISDOM
experiences in more applications KNOWLEDGE beliefs, assumptions, application INFORMATION meaning relationship DATA phenomena
9
ลำดับการสร้างความรู้และปัญญา
ข้อมูล data สารสนเทศ information ความรู้ knowledge ปัญญา wisdom จริยธรรม ethic ปรัชญา philosophy
10
การเริ่มต้นวิจัย What is your problem? What do you want to know?
Which variables you want to measure? How to design you method?
11
ตัวแปร Variables คุณลักษณะของสิ่งที่เราสนใจ
มีความไม่คงที่และผันแปรตามการวัด แยกได้หลายอย่าง ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรสนับสนุน ตัวแปรแทรก
12
ตัวแปร (Variable) สัญลักษณ์ที่นักวิจัยกำหนดค่าเป็นตัวเลข แทนเหตุการณ์ พฤติกรรม ลักษณะ หรือสิ่ง ที่ต้องการศึกษา ซึ่งแปรค่าได้
13
ระดับการวัดของตัวแปร
มาตรานามบัญญัติ (nominal scale) มาตราเรียงอันดับ (ordinal scale) มาตราอันตรภาค (interval scale) มาตราอัตราส่วน (ratio scale)
14
การวัดตัวแปร Nominal scale Ordinal scale Interval scale Ratio scale
15
Nominal scale นามบัญญัติ เป็นการวัดตัวแปรแบบไม่ต่อเนื่องของข้อมูล
เป็นการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
16
Ordinal Scale การวัดแบบอันดับ วัดค่าตัวแปรที่บอกการเรียงลำดับ
ไม่มีศูนย์แท้ บอกช่วงห่างแต่ละค่าไม่ได้
17
Interval Scale การวัดแบบเรียงลำดับ ไม่มีศูนย์แท้
บอกช่วงห่างแต่ละค่าได้อย่างชัดเจน
18
Ratio scale เป็นการวัดที่ดีที่สุด
สามารถแปลงไปเป็น การวัดอย่างอื่นได้ทุกอย่าง แต่มีปัญหาการเก็บข้อมูลที่จะได้ตามความจริง
19
จัดกลุ่ม เรียงลำดับ ช่วงเท่า ศูนย์จริง
ระดับการวัดของตัวแปร จัดกลุ่ม เรียงลำดับ ช่วงเท่า ศูนย์จริง Non-metric var. 1. Nominal var. X 2. Ordinal var. X X Metric var. 3. Interval var. X X X 4. Ratio var. X X X X
20
ตัวแปร (variable) ค่า (values) 1. เพศ (gender) 2. คุณภาพงาน 3. GPA. 4. วุฒิการศึกษา 5. สมรรถภาพวิจัย : ชาย, หญิง : สูง, ปานกลาง, ต่ำ : : ป.ตรี, ป.โท, ป.เอก : คะแนน
21
สถิติในการวิจัย สถิตเชิงพรรณนา Descriptive statistic
Mode, Median, Mean Percent, frequency สถิติเชิงอนุมาน Inference statistic วิเคราะห์ความสัมพันธ์ตัวแปรสองตัวขึ้นไป T-test, F-test, chi square, ANOVA, Correlation
22
ระดับของการวิจัย Descriptive research X and Y
Analytical Research X x Y Prediction Research X predict Y
23
Level of Research X Y X x Y X and Y Prediction and Control descriptive
Explanation descriptive
24
การพัฒนาหัวข้อวิจัยผ่านคำถาม 7 R’s
25
กรอบการพิจารณาเกี่ยวกับการสร้างกรอบแนวคิดวิจัย
แนวคิดวิจัย Research Idea ปัญหาวิจัย Research Problem คำถามวิจัย Research Question วัตถุประสงค์วิจัย Research Objective การออกแบบวิจัย Research Design กรอบแนวคิดวิจัย Research Framework หัวข้อวิจัย Research Topic
26
1. Research Idea เป็นการระบุว่าการศึกษาครั้งนี้สนใจในประเด็นใด เรื่องใด เป็นสำคัญวิจัยในคราวนี้ หลักการสำคัญเป็นการบอกให้ทราบว่าจะใช้หลักการแนวคิดใดเป็นสำคัญในการศึกษาครั้งนี้ แนวคิดที่กล่าวถึงนั้นเป็นเรื่องที่อยู่ในการรับรู้ทั่วๆไปในวงวิชาการหรือการทำงานในสาขาที่ตนเกี่ยวข้อง
27
ตัวอย่าง แนวคิดการกระจายอำนาจ แนวคิดการปฏิรูประบบสุขภาพ
การจัดการมูลฝอย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค การคลังสุขภาพ การพัฒนาคุณภาพ
28
2. Research Problem ปัญหาคือช่องว่างระหว่างความคาดหวังกับความจริงที่เป็นอยู่ ต้องบอกให้ได้ว่าปัญหาวิจัยคืออะไร ปัญหาวิจัยคือปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ที่มีหลักฐานประกอบอย่างชัดเจนและต้องการจะหาคำตอบให้ได้ในการศึกษาคราวนี้ การสนับสนุนข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาวิจัยนั้นอาจจะต้องใช้ข้อมูลทั้งทางตรงและทางอ้อมมาประกอบการอธิบายหรือเรียกอีกอย่างว่ามีข้อมูลเชิงประจักษ์มาประกอบ Evidence based =EB
29
Problem Statement Expectation Gap Actual
30
ตัวอย่าง ปัญหาการเกิดโรคติดต่อที่ควบคุมได้
ปัญหาความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการ ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพประชาชนที่ไม่ถูกต้อง ปัญหาความขาดแคลนทรัพยากร ปัญหาการไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
31
3. Research Question คำถามที่ต้องการหาคำตอบในการศึกษาคราวนี้คืออะไร
อาจจะมีทั้งคำถามเชิงกว้างและแคบ เป็นการกำหนดอย่างเป็นนามธรรมหรือภาพรวมที่ผู้วิจัยสนใจที่อยากรู้ นั่นคือการสร้างสมมติฐานในการวิจัยนั่นเอง
32
ตัวอย่าง สนใจจะหาคำตอบใด
จะปรับระบบบริการผู้ป่วยเบาหวานในสถานีอนามัยได้อย่างไร ปัจจัยใดเป็นสาเหตุการมีพฤติกรรมไม่ถูกต้อง จะแก้ไขปัญหาได้อย่างไร จะสร้างขวัญกำลังใจได้อย่างไร
33
4. Research Objective เป็นการบอกความประสงค์ที่ต้องการค้นหาความจริงหรือความรู้ในการศึกษาคราวนี้ เป็นการกำหนดอย่างเป็นรูปธรรมว่าอยากทราบคำตอบ อธิบายอย่างง่ายคือการค้นหาคำตอบตามตัวแปรที่กำหนดไว้
34
ตัวอย่าง การศึกษาครั้งนี้อยากรู้เรื่องอะไร
ประสิทธิผลของโปรแกรมเป็นอย่างไร จะพัฒนาระบบบริการใหม่ได้อย่างไร ระบบที่ออกแบบมาจะแก้ปัญหาได้หรือไม่
35
5. Research Design ตัดสินใจว่าจะออกแบบการศึกษาแบบไหน
การวิจัยเชิงพรรณนาหรือสำรวจ การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยกึ่งทดลอง การวิจัยเชิงคุณภาพ ต้องเข้าใจความต่างในการวิจัยแต่ละรูปแบบ
36
รูปแบบการวิจัย วิจัยเชิงปริมาณ วิจัยกึ่งทดลอง วิจัยเชิงทดลอง
การสำรวจ การพรรณนา วิจัยกึ่งทดลอง วิจัยเชิงทดลอง วิจัยเชิงคุณภาพ
37
ตัวอย่างการออกแบบการวิจัย
38
ทฤษฎีหรือข้อมูลเชิงประจักษ์
แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎี สมมติฐาน กรอบแนวคิด ตัวแปร และข้อมูล ทฤษฎีหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ นามธรรม กรอบแนวคิด ตัวแปร ข้อมูล อนุมาน รูปธรรม สมมติฐาน
39
การสร้างกรอบแนวคิดแบบง่าย
สถานภาพส่วนบุคคล อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน พฤติกรรมการตัดสินใจ รูปแบบการตัดสินใจ ความเหมาะสมของพฤติกรรมการตัดสินใจ คุณลักษณะเฉพาะ ความมั่นใจ ความคิดสร้างสรรค์ ความมีวิจารณญาณ รูปแบบการตัดสินใจในองค์การ รูปแบบเผด็จการ รูปแบบกลุ่มปรึกษา รูปแบบกลุ่มร่วมมือ หัวเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจ
40
การสร้างกรอบแนวคิดแบบซับซ้อน
เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลโปรแกรมสุขศึกษาและปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย การสร้างกรอบแนวคิดแบบซับซ้อน การประเมินอันตราย การรับรู้ต่อความรุนแรง การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ผลประโยชน์ การประเมินเผชิญปัญหา ความคาดหวังในความสามารถของตน ความคาดหวังในผลลัพธ์ ความตั้งใจที่จะปฏิบัติ การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย การมีเพศสัมพันธ์กับคนอื่นโดยปฏิบัติตามคำแนะนำ โปรแกรมสุขศึกษา 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 กระตุ้นให้รู้ว่าพฤติกรรมเสี่ยงเป็นพฤติกรรมที่เป็นปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ขั้นตอนที่ 2 กระตุ้นให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยใช้กระบวนการกลุ่มและสถานการณ์ที่สร้างขึ้น ขั้นตอนที่ 3 กระตุ้นให้เกิดปฏิบัติตามความตั้งใจ โดยการสื่อสารและสนับสนุนทางจิตใจ ใช้ทฤษฎีสนับสนุนการสร้างรูปแบบ ตัวแปรทดสอบ เพศ รายได้ ระดับการศึกษา ฯลฯ ใช้งานวิจัยสนับสนุนการเลือกตัวแปรทดสอบ
41
เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพองค์การ
บรรยากาศองค์การ พฤติกรรมบุคลากร ประสิทธิผลองค์การ พฤติกรรมผู้นำ การพัฒนาบุคลากร การติดต่อสื่อสาร
42
Survey Research pattern
อธิบาย และหรือ วิเคราะห์ X และ Y หาความสัมพันธ์ระหว่าง X และ Y Y X
43
Qua-si Exp. Research Pattern
Y as an Indication or KPIs X as an Intervention
44
Qualitative Research Pattern
No have fixed Pattern Based on research method Documentation Interview Focus group Observation the main question are How and Why To be find out for Phenomenal of situation
45
Action Research วงรอบที่ 2 วงรอบที่ 1 วงรอบที่ 3
46
Mixed method QuaNtitative method QuaLitative method
47
Concurrent Mixed Methods Designs
Parsimonious Designs (Creswell & Plano Clark, 2007) Concurrent Mixed Methods Designs Triangulation Design QUAN Data & Results Interpretation QUAL Data & Results Embedded Design QUAN Pre-test Data & Results QUAN Post-test Data & Results Intervention qual Process Interpretation
48
Before-intervention qual After-intervention qual
Sequential Designs Mixed Methods Designs Explanatory Design QUAN Data & Results Interpretation qual Data & Results Following up Exploratory Design QUAL Data & Results quan Data & Results Interpretation Building to Sequential Embedded Design Before-intervention qual QUAN Intervention Trial After-intervention qual Interpretation
49
6. Research Framework การตัดสินเลือกตัวแปรที่จะศึกษาในคราวนี้
วางกรอบความเชื่อมโยงแต่ละตัวแปรที่จะศึกษา มีความสัมพันธ์กับการเลือกรูปแบบการวิจัย
50
การสร้างกรอบแนวคิด เป็นการสร้างขอบเขตความเชื่อมโยงแนวคิดที่สำคัญของงานวิจัยในแต่ละเรื่อง ตามที่ระบุปัญหาไว้ เป็นภาพรวมที่สำคัญที่ทำให้ผู้อื่นเข้าใจงานวิจัยที่จะดำเนินการ ว่ามีแนวคิดสำคัญอย่างไร มีการเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันอย่างไร มีความสัมพันธ์กันอย่างไร แหล่งข้อมูลที่สำคัญคือ ทฤษฎี ข้อสรุปเชิงประจักษ์ สมมติฐาน และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยจำเป็นต้องศึกษาทบทวนแหล่งข้อมูลสำคัญให้ครบถ้วน
51
กรอบความคิด (Research Conceptual Framework)
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรในการวิจัย ซึ่งนักวิจัยสร้างโดยใช้ความรู้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สัญลักษณ์ที่ใช้มีดังนี้ = ตัวแปรในการวิจัย X and Y = อิทธิพล = ความสัมพันธ์ = ผลสืบเนื่อง
52
7. Research Topic เป็นการระบุชื่อเรื่องที่จะเป็นการศึกษา
แสดงความเกี่ยวข้องตัวแปรเหตุ ตัวแปรผล ของเรื่องราวอะไร ที่ไหน การตั้งชื่อจะบอกการออกแบบและระดับการวิจัยกลายๆ
53
ชื่องานวิจัยแบบกึ่งทดลอง
ผลของโปรแกรม... ประสิทธิผลโปรแกรม... รูปแบบการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมและแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม....
54
ชื่องานวิจัยแบบปฏิบัติการ
กระบวนการพัฒนาคุณภาพระบบข้อมูลข่าวสารในสถานีอนามัย... รูปแบบที่พึงประสงค์.... การพัฒนา......
55
ข้อควรจำ การเลือกตัวแปรศึกษาต้องมีหลักการที่ไป ที่มาของตัวแปรอย่างน่าเชื่อถือและมีเหตุผล การจัดวางความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษานั้น เป็นการออกแบบการวิจัย กรอบแนวคิดคือหัวใจสำคัญของการวิจัย เป็นแผนผังภาพรวมของงานวิจัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.