งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสร้างความเชื่อมั่นด้าน สุขาภิบาลอาหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสร้างความเชื่อมั่นด้าน สุขาภิบาลอาหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างความเชื่อมั่นด้าน สุขาภิบาลอาหาร
นัยนา ใช้เทียมวงศ์ กลุ่มพัฒนาระบบสุขาภิบาลอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

2

3

4 การเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
เพราะอาหารยังเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วย ปัจจุบันอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง และอาหารเป็นพิษ สูงถึงปีละ > 200,000 ราย มีการระบาดของโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อในกลุ่มนักเรียน/ประชาชน ในพื้นที่ต่างๆ

5 การเฝ้าระวัง (Surveillance)
ระบบที่ดำเนินอย่างต่อเนื่อง ในการจัดเก็บ และวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล เป็นองค์ความรู้ และเผยแพร่ ให้หน่วยงานหรือผู้เกี่ยวข้อง เพื่อทราบ และใช้ประโยชน์ อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง

6 การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การติดตาม สังเกต พินิจพิจารณาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของการเกิดและการกระจายของโรคและปัญหาสาธารณสุขต่างๆ รวมทั้งองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ จากข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทั้งในภาวะปกติและภาวะผิดปกติของเหตุการณ์เหล่านั้น ซึ่งองค์ประกอบสำคัญของข้อมูลจะต้องครอบคลุมถึงลักษณะเกี่ยวกับ เวลา สถานที่ และบุคคล (Time, Place, Person)

7 การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

8 การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

9 การเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การติดตาม สังเกต รวบรวมข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อความสะอาด ปลอดภัยของอาหารและน้ำอย่างมีระบบและต่อเนื่อง (สุขลักษณะของสถานประกอบการด้านอาหาร แหล่งน้ำบริโภค การปนเปื้อนของอาหารและน้ำ ภาชนะอุปกรณ์ และสุขอนามัยของผู้สัมผัสอาหาร) - การเฝ้าระวังทางกายภาพ - การเฝ้าระวังทางชีวภาพ

10 วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหาร
ทราบสถานการณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาวะการสุขาภิบาลอาหาร ประเมินสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหารของสถานประกอบการ และความปลอดภัยของอาหารในพื้นที่เป้าหมายต่างๆ วางแผนการดำเนินงานควบคุมความปลอดภัยของอาหารในพื้นที่ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อสารความเสี่ยงด้านสุขาภิบาลอาหารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้บริโภค

11 ขั้นตอนการดำเนินงานเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร
การรวบรวม (Collection) อัตราป่วยด้วยโรค ผลการตรวจสภาพด้านกายภาพตามมาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร ผลการตรวจตัวอย่าง การเรียบเรียง (Consolidation) จัดเป็นหมวดหมู่ เช่น จัดแบ่งเป็นตำบล อำเภอ เทศบาล จังหวัด การวิเคราะห์ (Analysis) ใช้วิธีการทางสถิติ การแปลผล (Interpretation) สรุป วินิจฉัยที่ถูกต้องเหมาะสม การกระจายข่าวสาร (Dissemination) เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ประชาชนทราบข้อมูล Surveillance for action

12 ผังแนวทางการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหาร
รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น -จำนวนสถานประกอบการ -ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม -ข้อมูลสุขภาพประชากร -ข้อมูลกฎหมาย วิเคราะห์ข้อมูล กำหนดวัตถุประสงค์ นโยบาย/แผน/สถานการณ์ จัดทำแผนงาน/โครงการ/แนวทางการดำเนินงาน/คณะกรรมการ -แผนปฏิบัติงาน -พื้นที่เป้าหมาย -บุคลากร -งบประมาณ -สิ่งสนับสนุน ดำเนินการเฝ้าระวังฯ ประเมินและสรุปผลการเฝ้าระวัง -กลุ่มเป้าหมาย -พื้นที่ -วิธีการ การสื่อสารข้อมูล/ นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์

13 หัวใจของการเฝ้าระวัง
การติดตามเฝ้าสังเกตอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง ประกอบด้วกิจกรรมหลัก 3 ประการคือ การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีระบบ การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผล การกระจายข้อมูลข่าวสารไปให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบและนำไปใช้ประโยชน์

14 พื้นที่เฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร
พื้นที่ทั่วไป การเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่ทั่วไป เป็นลักษณะของการประเมินสถานการณ์ในพื้นที่ปกติทั่วไป พื้นที่จัดกิจกรรมเฉพาะ หมายถึงพื้นที่อาจมีความเสี่ยงต่อ การเกิดโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง

15 พื้นที่เฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร
พื้นที่เฝ้าระวังเป็นกรณีพิเศษ หรือเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่เสี่ยง หมายถึงพื้นที่ที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาด้านความปลอดภัยของอาหาร อาจมีสาเหตุมาจากการแพร่กระจายหรือการระบาดของโรค สารเคมีอันตรายหรือสารเคมีตกค้าง พื้นที่ที่มีเหตุฉุกเฉิน สาธารณภัยหรือภัยพิบัติเกิดขึ้น หรือพื้นที่ที่มีชุมชนแรงงานต่างด้าวที่มีความเสี่ยงในการแพร่กระจายของเชื้อโรคมากกว่าพื้นที่อื่นๆ

16 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
พื้นที่ 10 จังหวัด: ตาก-มุกดาหาร-สระแก้ว-ตราด-สงขลา หนองคาย-นครพนม-เชียงราย-กาญจนบุรี และนราธิวาส เป้าหมายการดำเนินงาน พื้นที่ชายแดน พื้นที่แหล่งท่องเที่ยว พื้นที่ที่มีชาวต่างด้าว และพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม กลุ่มเป้าหมายในการสุ่มเฝ้าระวังฯ ได้แก่ - ร้านอาหาร จำนวนร้อยละ 30 ของพื้นที่ หรืออย่างน้อย 30 ร้าน ต่อ 1 พื้นที่ - แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวนร้อยละ 30 ของพื้นที่ หรืออย่างน้อย 30 แผง ต่อ 1 พื้นที่ - ตลาดนัด จำนวน 5 แห่ง ต่อ 1 พื้นที่

17 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ประเภทตัวอย่างที่ควรเก็บตรวจหาการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ร้านอาหาร ร้านละ 10 ตัวอย่าง ประกอบด้วย อาหาร/น้ำบริโภค/เครื่องดื่ม/น้ำแข็ง รวม 5 ตัวอย่าง/ร้าน มือผู้สัมผัสอาหาร 2 ตัวอย่าง/ร้าน ภาชนะอุปกรณ์สัมผัสอาหาร 3 ตัวอย่าง/ร้าน แผงลอยจำหน่ายอาหาร แผงละ 10 ตัวอย่าง ประกอบด้วย อาหาร/น้ำบริโภค/เครื่องดื่ม/น้ำแข็ง รวม 5 ตัวอย่าง/แผง มือผู้สัมผัสอาหาร 2 ตัวอย่าง/แผง ภาชนะอุปกรณ์สัมผัสอาหาร 3 ตัวอย่าง/แผง

18 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ประเภทตัวอย่างที่ควรเก็บตรวจหาการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ตลาดนัด ตลาดละ 5 แผง แผงละ 7 ตัวอย่าง อาหาร/น้ำบริโภค/เครื่องดื่ม/น้ำแข็ง รวม 5 ตัวอย่าง/แผง มือผู้สัมผัสอาหาร 2 ตัวอย่าง/แผง ตรวจสอบสารปนเปื้อน 4 ชนิด ได้แก่ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว (ตลาดละ 2 ตัวอย่าง/ชนิดสารปนเปื้อน)

19 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
แนวทางการขับเคลื่อนงาน หน่วยงานส่วนกลาง กรมอนามัย 1. ประสานงานชี้แจงศูนย์อนามัย เพื่อวางแผนการดำเนินงานเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่ระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก 2. จัดสิ่งสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 3. ติดตาม กำกับการดำเนินงานเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่ 4. รวบรวมข้อมูลและสรุปผลการดำเนินงาน

20 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
แนวทางการขับเคลื่อนงาน ศูนย์อนามัย 1. เป็นที่ปรึกษาและให้ข้อแนะนำในการดำเนินงานให้แก่จังหวัด 2. ประสานงาน นิเทศ ติดตามการดำเนินงาน 3. ดำเนินการสุ่มเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่ระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก ร่วมกับจังหวัด 4. จัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการที่เฝ้าระวังโดยใช้เทคโนโลยีช่วยในการประมวลผล (ใช้ระบบ Android)

21 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
แนวทางการขับเคลื่อนงาน ศูนย์อนามัย (ต่อ) 5. สรุปผลการดำเนินงานร่วมกับจังหวัด เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาที่พบโดยทันที 6. จัดประชุมแนวทางการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารให้แก่เจ้าหน้าที่จังหวัดหรือเป็นวิทยากรให้ความรู้ 7. จัดรณรงค์/เผยแพร่ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารเพื่อป้องกันโรคอุจจาระร่วง 8. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการป้องกัน ควบคุมการเกิดโรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้ำ 9. สรุปรายงานผลการดำเนินงานในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่ระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออกให้หน่วยงานส่วนกลางทราบ

22 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
แนวทางการขับเคลื่อน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1. เป็นที่ปรึกษาและให้ข้อแนะนำในการดำเนินงานให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. ดำเนินการเฝ้าระวังในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่ระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก 3. สรุปผลการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหา ที่พบโดยทันที 4. จัดประชุมแนวทางการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารให้แก่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นหรือเป็นวิทยากรให้ความรู้ 5. จัดรณรงค์/เผยแพร่ให้ความรู้ประชาชนในช่วงเกิดการระบาดของโรค 6. ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการป้องกัน ควบคุมการเกิดโรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้ำ

23 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยราชการส่วนท้องถิ่น อาทิ องค์การบริหารส่วนตำบล สำนักงานเทศบาล เฝ้าระวังในพื้นที่รับผิดชอบ (รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล) มีหน้าที่ในการเก็บ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และนำผลไปใช้ในการวางแผน ดำเนินการและควบคุมกำกับพื้นที่ และส่งต่อข้อมูลให้ สสจ. และศูนย์อนามัย

24 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภาคีเครือข่าย (ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน) - ภาครัฐหมายถึง สถาบันการศึกษา หรือหน่วยงานราชการอื่นๆ ที่มีการจัดบริการอาหารในหน่วยงานนั้นๆ และดูแลสถานประกอบการกันเอง - ภาคเอกชนได้แก่ องค์กรอิสระ สมาคม/ชมรมผู้ประกอบการค้าอาหาร ชมรมผู้ประกอบการตลาดและผู้ขายของในตลาด หรือชมรมคุ้มครองผู้บริโภค ให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการเฝ้าระวัง

25 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภาคประชาชน หมายถึงประชาชนทั่วไปทำการเฝ้าระวังฯ เพื่อพิทักษ์สิทธิของตนเองด้านสุขาภิบาลอาหาร เช่น การแจ้งเหตุร้องเรียนเมื่อพบเหตุไม่ปกติในสถานประกอบการด้านอาหาร

26 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
สิ่งสนับสนุน 1. สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ มีคู่มือแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและ แบบตรวจฯ เพื่อการสนับสนุน (ซึ่งได้จัดส่งให้ศูนย์อนามัยที่ 1-12 แล้ว) และสามารถ Download ข้อมูลได้ที่ 2. ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหารและน้ำสั่งซื้อได้ที่ศูนย์ห้องปฏิบัติการ กรมอนามัย เบอร์ติดต่อ , 7620 3. ชุดทดสอบสารปนเปื้อน 4 ชนิด ได้แก่ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว สั่งซื้อได้ที่องค์การเภสัชกรรม เบอร์ติดต่อ หรือ ร้านขายยาองค์การเภสัชกรรมทุกสาขา

27 ประเภทของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังทางกายภาพ การเฝ้าระวังทางเคมี การเฝ้าระวังทางชีวภาพ

28 ประเภทของการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังทางกายภาพ แบบตรวจ/ข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร สำหรับสถานประกอบการด้านอาหาร การเฝ้าระวังทางเคมี ชุดตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

29 การเฝ้าระวังทางกายภาพ

30 การเฝ้าระวังทางชีวภาพ
เลือกโคลิฟอร์มแบคทีเรีย เป็นดัชนีชี้วัดความสะอาด พบในระบบทางเดินอาหารของคน และสัตว์เลือดอุ่น ถึง 95 % หากตรวจพบแสดงว่าอาจปนเปื้อนด้วยอุจจาระ ไม่เป็นอันตรายต่อคนและสัตว์ ปลอดภัยต่อผู้วิเคราะห์ มากกว่าตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค หาเชื้อได้ง่ายกว่าเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค

31 ชุดตรวจการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มเบื้องต้น (SI-2)

32 การเก็บตัวอย่าง การเก็บตัวอย่าง • 10 ตัวอย่าง ต่อสถานประกอบการด้านอาหาร 1 แห่ง ประกอบด้วย - อาหาร 5 ตัวอย่าง - ภาชนะ 3 ตัวอย่าง (ประเภท) - มือผู้สัมผัสอาหาร 2 ตัวอย่าง ต้องตรวจไม่พบเชื้อ 90 % ของตัวอย่างที่ตรวจ

33 วิธีการเก็บตัวอย่าง อาหาร มือ ภาชนะ

34 การอ่านและรายงานผล

35 ประโยชน์ของการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหาร
ทราบปัจจัยและแนวโน้มของปัญหา ทราบความผิดปกติหรือสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ทราบพื้นที่ที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดปัญหา ประเมินผลสำเร็จของการดำเนินงานการป้องกันและควบคุมด้านสุขาภิบาลอาหาร

36 การนำข้อมูลเฝ้าระวัง ไปใช้ประโยชน์
การนำข้อมูลเฝ้าระวัง ไปใช้ประโยชน์

37 ข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

38 กรุงเทพฯ ภูเก็ต สีแดง ศูนย์ 9 ศูนย์ 6 ศูนย์ 10 ศูนย์ 7 ศูนย์ 8 ศูนย์ 4
เชียงราย ศูนย์ 9 ศูนย์ 6 แม่ฮ่องสอน พะเยา ศูนย์ 10 เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ บึงกาฬ ศูนย์ 7 สุโขทัย เลย อุดรธานี สกลนคร ตาก หนองบัวลำภู นครพนม พิษณุโลก ศูนย์ 8 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มุกดาหาร กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ ยโสธร นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ สุพรรณบุรี อยุธยา ศูนย์ 4 นครนายก นครปฐม ปทุมธานี ปราจีนบุรี สระแก้ว ศูนย์ 5 ราชบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี <1 1-800 >3200 อัตราป่วย (ต่อประชากรแสนคน) เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี ศูนย์ 3 ตราด ศูนย์ 2 ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรปราการ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ นนทบุรี ภูเก็ต สีแดง ชุมพร สมุทรสาคร ระนอง สมุทรสงคราม ศูนย์ 1 ศูนย์ 11 สุราษฎร์ธานี อัตราผู้ป่วยโรค Acute diarrhoea (ต่อประชากรแสนคน) จำแนกรายจังหวัด ปี 2556 พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง ศูนย์ 12 สงขลา สตูล ปัตตานี หน้าหลัก ที่มา:สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ยะลา นราธิวาส 38 38

39 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
อุตรดิตถ์ สุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน พะเยา ลำปาง น่าน เชียงราย เชียงใหม่ แพร่ <1 1-800 >3200 อัตราป่วย (ต่อประชากรแสนคน)

40 ข้อมูลการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหาร

41

42 ข้อมูลการเก็บตัวอย่างจาก สปก.

43 ข้อมูลการเก็บตัวอย่างจาก สปก.

44 การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์
1. แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการ/ติดตามประเมินผล 2. พัฒนาการออกกม./เทศบัญญัติ/ข้อกำหนดในการควบคุมกำกับ สถานประกอบการด้านอาหาร

45 4. การคุ้มครองความปลอดภัยในการบริโภคอาหารให้กับประชาชน
3. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการตรวจแนะนำ 4. การคุ้มครองความปลอดภัยในการบริโภคอาหารให้กับประชาชน ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความปลอดภัยอาหาร - สื่อสารความเสี่ยงเรื่องความปลอดภัยอาหารให้ผู้บริโภค

46


ดาวน์โหลด ppt การสร้างความเชื่อมั่นด้าน สุขาภิบาลอาหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google