งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลINFECTION CONTROL IN COMMUNITY HOSPITAL

2 บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
ให้บริการครอบคลุมทั้งแผนก อายุรกรรม ศัลยกรรม เด็ก มารดาและทารกแรกเกิด หอผู้ป่วยใน 1 หอ แยกเป็น หอผู้ป่วยชาย หญิง หลังคลอดและผู้ป่วยสงฆ์ จำนวนผู้ป่วยในเฉลี่ย 3,062 คน/ปี รับใหม่เฉลี่ย 8.38 ราย/วัน จำนวนวันนอนรวม ปี ,354 วัน วันนอนเฉลี่ยต่อราย 3.38 วัน ในปี 2559 โรคติดต่อในพื้นที่ ได้แก่ ผู้ป่วยวัณโรค ตาแดง ICN 1 คน และ ICWN 6 คน

3 โครงสร้างทีมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลศรีวิไล
ผู้อำนวยการโรงพยาบาล คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล คณะกรรมการประสานงาน คุณภาพโรงพยาบาล ENV IC PCT RM PTC IM HRD

4 โครงสร้างคณะกรรมการควบคุมและ ป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ประธาน IC (ทันตแพทย์) บริหารทั่วไป 1 คน เภสัชกรรม ชันสูตร กลุ่มการ ทันตกรรม เวชปฏิบัติฯ OPD 1 ER LR OR WARD 2 ICWN รพ.สต. 5 แห่ง 5 คน ICN ICWN ICWN ICWN ICWN ICWN

5 เป้าหมาย ผู้รับบริการและบุคลากรปลอดภัยจากการติดเชื้อในโรงพยาบาล
สิ่งแวดล้อมดี อุปกรณ์ปราศจากการปนเปื้อน ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาการติดเชื้อในโรงพยาบาล

6 นโยบาย ควบคุมป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและลดการติดเชื้อในโรงพยาบาล สิ่งแวดล้อมและชุมชน ดูแลสุขภาพบุคลากรให้ปลอดภัยจากการปฏิบัติงาน ควบคุมติดตามกำกับการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ การประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทีมคร่อมสายงานเพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาเชิงระบบร่วมกัน

7 ข้อเสนอแนะจากการเยี่ยมสำรวจของ สรพ.ปี 2559
แผนการพัฒนา -วิเคราะห์ข้อมูลจากการสุ่มติดตามการล้างมือ -สะท้อนข้อมูลให้เจ้าหน้าที่ทราบในที่ประชุมและให้รางวัลหน่วยงานที่มีผลงานดี และร่วมหาแนวทางแก้ไขในหน่วยงานที่ไม่ผ่านเกณฑ์ -หัวหน้าหน่วยงาน และ ICWN ในหน่วยงานควบคุม กำกับ การปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ การล้างมือในบุคลากรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกกิจกรรม กิจกรรมที่ปฏิบัติน้อยที่สุดคือ ก่อนสัมผัสผู้ป่วย กลุ่มบุคลากรที่มีอัตราการล้างมือสูงสุด คือ พยาบาล และหน่วยงานที่ล้างมือสูงสุดคือ ER ข้อเสนอแนะ (ข้อ 48 Part II-4) การป้องกันการติดเชื้อ มีการสุ่มติดตามการล้างมือ การใช้อุปกรณ์ป้องกันและการแยกขยะในภาพรวม ควรมีการวิเคราะห์แยกตามหน่วยงาน/หัตถการ/กลุ่มวิชาชีพที่ให้ ความร่วมมือน้อยและหากลยุทธ์ในการสร้างความร่วมมือเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

8 วิสัยทัศน์ : โรงพยาบาลชุมชนที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ สานสายใยสู่ชุมชน
พัฒนาระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลตามนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วย Patient safety goal ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดเน้นองค์กร พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขมีคุณภาพได้มาตรฐาน พัฒนาระบบบริการตามหลักความปลอดภัยของผู้ป่วย จุดเน้นที่ 4 จุดเน้น IC จุดเน้นที่ 1 จุดเน้นที่ 2 จุดเน้นที่ 3 จุดเน้นที่ 4 จุดเน้นที่ 5 Hand Hygiene การจัดการขยะติดเชื้อที่มีประสิทธิภาพ พัฒนางานจ่ายกลางให้ได้มาตรฐาน การป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล

9 จุดเน้นที่ 1 Hand Hygiene

10 ผลการสุ่มประเมินการล้างมือ
เป้าหมาย ล้างมือ 5 moments 80% ล้างมือ 7 ขั้นตอน 100% 99.9 86.2 82.3 82.3 78.4 75 การล้างมือ 7 ขั้นตอน พบว่า บุคลากรล้างได้ถูกต้อง 99.9% การล้างมือ 5 moments ยังไม่ผ่านเป้า 80% โดยพบว่า ปี57= 82.3% ปี58=75% และปี 59=78.4% ซึ่งเป็นจุดที่ต้องพัฒนาต่อไป โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลย้อนหลัง ต่อไปนี้

11 การดำเนินการ การจัดอบรม IC 100% ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่ใหม่ก่อนปฏิบัติงาน
สุ่มติดตามการล้างมือและการสวมอุปกรณ์ป้องกันขณะปฏิบัติงาน ทุก 6 เดือน แจ้งผลการสุ่มให้แต่ละหน่วยงานทราบ กำกับและติดตามหน่วยงานที่ไม่ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย ใส่รุปอบรม

12 การล้างมือ 5 moments พบว่าการล้างมือของบุคลากรมีแนวโน้มสูงขึ้นในทุกกิจกรรม โดยกิจกรรมที่ล้างมือมากที่สุด คือ การล้างมือหลังทำหัตถการ ก่อนทำหัตถการ ก่อนสัมผัสผู้ป่วย หลังสัมผัสผู้ป่วย และหลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย ตามลำดับ สิ่งที่เป็นจุดเน้นต่อเนื่อง คือ การล้างมือก่อนทำหัตถการ ที่ต้องได้ตามเป้าหมาย คือ มากกว่าร้อยละ 80

13 การจัดการขยะติดเชื้อที่มีประสิทธิภาพ
จุดเน้นที่ 2 การจัดการขยะติดเชื้อที่มีประสิทธิภาพ

14 อุบัติการณ์ทิ้งขยะติดเชื้อไม่ถูกที่
อุบัติการณ์การทิ้งขยะติดเชื้อไม่ถูกที่ พบว่า มีแนวโน้มสูงขึ้น โดยจุดที่พบอุบัติการณ์เป็นหน่วยงานที่ให้บริการผู้ปวยนอก ได้แก่ OPD, PCU, lab และ NCD จากการวิเคราะห์ พบว่า ในปี 57 จากการประชุม cup มีข้อสรุป คือ ให้นำขยะติดเชื้อในชุมชนมาทิ้งที่สถานบริการสาธารณสุข เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน ทำให้มีอุบัติการณ์การทิ้งขยะติดเชื้อไม่ถูกที่เกิดขึ้น

15 อุบัติการณ์ทิ้งขยะติดเชื้อไม่ถูกที่
RCA สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา 1.ไม่มีป้ายติดถังขยะที่ชัดเจน ติดสติกเกอร์ช่วยแยกประเภทขยะบนถังขยะ บอกตำแหน่งที่ทิ้งขยะติดเชื้อให้ชัดเจน เน้นให้หน่วยงาน เช่น OPD,NCD,LAB พูดเน้นย้ำให้ผู้ป่วยทิ้งขยะให้ถูกจุดที่จัดไว้ ประชาสัมพันธ์ในโรงพยาบาลให้ผู้ป่วยทราบการแบ่งประเภทขยะ และการทิ้งขยะให้ถูกที่ 2. การประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการไม่ครอบคลุม ไม่ชัดเจน

16 ประชาสัมพันธ์ และสื่อสารให้ผู้ป่วยรู้และเข้าใจ แยกประเภทขยะชัดเจน
ส่งเสริมการเก็บขยะติดเชื้อให้ได้มาตรฐานและถูกต้อง

17 ผลการประเมินการคัดแยกขยะติดเชื้อรายปี
เป้าหมาย 80% -เพิ่ม slide ปริมาณการแยกขยะติดเชื้อของรพ. -ขยายผลการคัดแยกขยะของ รพ.สต

18 ปริมาณขยะติดเชื้อแยกรายปี
กราฟจำนวนขยะติดเชื้อของรพ. ต้องลดลง วิเคราะห์ว่าได้ตามเกณฑ์ คือ 0.5 kg/เตียง/day 1 วัน =19 Kg 19*365 = 6,935 kg ห้ามเกินเป้านี้ ทำได้!! NA

19 สวมเครื่องป้องกันเชื้อโรค
การกำจัดขยะติดเชื้อ เส้นทางขยะติดเชื้อ การขนย้ายขยะภายในรพ. สวมเครื่องป้องกันเชื้อโรค รถขนขยะติดเชื้อบริษัท ส.เรืองโรจน์ ที่พักขยะติดเชื้อ

20 พัฒนางานจ่ายกลางให้ได้มาตรฐาน
จุดเน้นที่ 3 พัฒนางานจ่ายกลางให้ได้มาตรฐาน

21 กระบวนการปฏิบัติงานจ่ายกลาง
1.รับเครื่องมือปนเอน 2.ล้างทำความสะอาด 3.การบรรจุและห่อเครื่องมือทางการแพทย์ 4.การจัดเรียงเข้าเครื่องทำความสะอาดเชื้อ 5.การทำให้ปราศจากเชื้อ 6.การจัดเก็บ 7.การแจกจ่ายเครื่องมือปราศจากเชื้อ กระบวนการปฏิบัติงานจ่ายกลาง 7 ขั้นตอน สามารถทำได้ตามมาตรฐานและมีการแบ่งแยก zone

22 อบรม IC 100% ให้แก่เจ้าหน้าที่ รพ.สต.
ฝึก sterile และ pack เครื่องมือให้แก่เจ้าหน้าที่ รพ.สต. หน่วยงาน IC CUP ออกนิเทศติดตามงานทุกรพ.สต. ใส่รูปให้หนูด๊วยยยย

23 อุบัติการณ์เครื่องมืออุปกรณ์มีสิ่งแปลกปลอม
สิ่งแปลกปลอมเช่น ขนตา เส้นผม

24 เครื่องมืออุปกรณ์มีสิ่งแปลกปลอม
RCA สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา -พบเส้นผมใน set sterile เนื่องจากไม่ตรวจสอบผ้าห่อ set ก่อนห่อ set sterile และสวมหมวกคลุมผมไม่เรียบร้อย -หน่วยซักฟอกตรวจสอบผ้าห่อ set sterile โดยการส่องไฟทุกชิ้นด้วยความรอบคอบมากขึ้น หน่วยจ่ายกลางตรวจสอบผ้าห่อ set ว่ามีสิ่งแปลกปลอมหรือไม่ทุกครั้งก่อนห่อ set ทุกครั้ง หน่วยจ่ายกลางต้องใส่หมวกคลุมผมให้เรียบร้อยก่อนปฏิบัติงานและจับคู่ตรวจสอบซ้ำอีกครั้งก่อนห่อ set -จัดอบรมเรื่องการสวน PPE และลงกำกับติดตามหน้างาน

25 ทบทวนและให้ฝึกปฏิบัติการสวม PPE ของเจ้าหน้าที่หน่วยจ่ายกลาง
ผลการดำเนินงาน พบว่า ยังมีการรายงานอุบัติการณ์เครื่องมือมีสิ่งแปลกปลอมอยู่ ในปี 2559 ซึ่งเป็นจุดเน้นในการพัฒนาต่อไป หลังการพัฒนา ไม่พบอุบัติการณ์มีเส้นผมใน set sterile แต่พบอุบัติการณ์มี ขนตาใน set sterile แทน เมื่อเดือนมิถุนายน 2559 ที่ผ่านมา -สิ่งแปลกปลอมใหม่ คือ ขนตา ต้องเฝ้าระวัง ทบทวนและให้ฝึกปฏิบัติการสวม PPE ของเจ้าหน้าที่หน่วยจ่ายกลาง

26 การป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน
จุดเน้นที่ 4 การป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน

27 บุคลากรถูกเข็มทิ่มตำขณะทำงาน บุคลากรสัมผัสสารคัดหลั่งขณะทำงาน
3 2 1 1

28 บุคลากรถูกเข็มทิ่มตำขณะทำงาน สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา
RCA สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา การขาดความตระหนักของเจ้าหน้าที่ แจ้งเรื่องแก่ฝ่ายงานที่พบอุบัติการณ์ หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้างานกำกับติดตามให้ปฏิบัติงานตาม One hand technique และการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน จัดอบรมเจ้าหน้าที่ทุกปีเกี่ยวกับระบบ ควบคุมการติดเชื้อโรงพยาบาล ปฐมนิเทศเจ้าหน้าทีใหม่ก่อนเริ่มงานและฝึกปฏิบัติในกิจกรรมที่มีความเสี่ยง

29 บุคลากรสัมผัสสารคัดหลั่งขณะทำงาน สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา
RCA สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา -ไม่ปฏิบัติตามแนวทางการใช้อุปกรณ์ป้องกันตามที่กำหนดไว้ -คืนข้อมูลให้หน่วยงาน และมอบให้หัวหน้ากำกับติดตามให้ปฏิบัติตามแนวทางอย่างเคร่งครัด -จัดอบรมการสวม PPE แก่เจ้าหน้าที่ -ทบทวนแนวทางปฏิบัติการการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุการสัมผัสสารคัดหลั่งขณะทำงาน ทบทวนแนวทาง และให้ความรู้เพิ่มเติม

30 มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน
ผลการติดตามการติดเชื้อจากเข็มทิ่มตำและการสัมผัส สารคัดหลั่งของบุคลากรโรงพยาบาลศรีวิไล  ปี อุบัติการณ์ กินยาครบ  กินยาไม่ครบ ไม่ได้กินยา ผลการติดตาม HIV Ab HBsAg 2557 2 Negative 2558 4 2559 1 มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน แบบรายงานอุบัติเหตุ

31 จุดเน้นที่ 5 การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย การเฝ้าระวังการติดเชื้อในบุคลากร การเฝ้าระวังในสิ่งแวดล้อม เป็นจุดเน้นที่ 1

32 การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย
ข้อมูล / ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2555 2556 2557 2558 2559 ก.การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย 1. อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล (ครั้ง/1000วันนอน) <0.5 0.64 0.12 0.193 2. ประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อ >80% 100 3. อัตราการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่ง 3.1 อัตราการติดเชื้อ CAUTI (ครั้ง/1000วันคาสายสวนปัสสาวะ) 10.10 (1/99) (0/119) 4.46 (1/224) 3.2 อัตราการติดเชื้อจากการถอนฟัน/ ผ่าฟันคุด (0/1919) 0(73) 0.057 (1/1745) 0(80) 0.074 (1/1346) 0(56) 3.3 อัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด (ทำหมันและexcision) ฝากหมอแพรวเพิ่มข้อมูลในส่วนของทันตกรรมค่ะ

33 การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย
3.4 อัตราการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ 0 (207) 0 (156) 0 (172) 0 (191) 0 (137) 3.5 อัตราการติดเชื้อที่สะดือทารกแรกเกิดอายุ<30 วัน 3.6 อัตราการติดเชื้อในทารกแรกเกิด 0.096(1) 3.7 อัตราการเกิด phlebitis grade3,4 จากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 4. อัตราการติดเชื้อดื้อยา (ครั้ง/1000 วันนอน) <5 NA 0.212 (1=MDR) (1=E.coli ESBL) 0.096 (1=E.coli ESBL)

34 การเฝ้าระวังการติดเชื้อ CAUTI สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา
RCA สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา ปี 2557 ให้ผู้ป่วยและญาติดูแลเองโดยเจ้าหน้าที่สอนการปฏิบัติในครั้งแรก ปี 2559 มีการเปลี่ยนผู้ดูแลผู้ป่วยหลายคน และทำความสะอาดขณะคาสายสวนปัสสาวะไม่ถูกต้อง เจ้าหน้า flush ให้เช้า-เย็น ส่วนระหว่างวัน ถ้ามีการขับถ่ายให้ญาติเป็นผู้ดูแล -ทบทวนการดูแลสายสวนปัสสาวะในหน่วยงานที่ดูแลผู้ป่วย -สอนและสาธิตการทำความสะอาดสายสวนปัสสาวะที่ถูกต้องแก่ผู้ดูแล และเมื่อมีการเปลี่ยนผู้ดูแลผู้ป่วย ให้แจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ เพื่อติดตามกำกับ ทบทวนเคสท้ง 57 และ 59

35 การเฝ้าระวังการติดเชื้อหลังถอนฟัน สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา
RCA สาเหตุ การแก้ไขและพัฒนา ปี 2558 -ผู้ป่วย ไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำการดูแลแผลหลังถอนฟัน ไม่กัดผ้า gauze ห้ามเลือดและบ้วนน้ำลายตลอดเวลา -เน้นย้ำผู้ป่วยเรื่องการดูแลแผลหลังถอนฟันทุกเคส -ให้ใบคำแนะนำการดูแลแผลหลังถอนฟันในทุกเคส

36 ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานการเฝ้าระวัง พบว่า
การติดเชื้อ CAUTI พบว่า ตั้งแต่เดือนธันวาคม ปี2558 – ปัจจุบัน ยังไม่พบการติดเชื้อ การติดเชื้อหลังถอนฟัน พบว่า ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ปี 2558-ปัจจุบัน ยังไม่พบการติดเชื้อ

37 จุดเน้นที่ 5 การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย การเฝ้าระวังการติดเชื้อในบุคลากร การเฝ้าระวังในสิ่งแวดล้อม

38 การเฝ้าระวังการติดเชื้อในบุคลากร
ข.การเฝ้าระวังการติดเชื้อในบุคลากร 1. อัตราการได้รับการฟื้นฟูความรู้ด้านICของบุคลากรอย่างน้อย1ครั้ง/ปี 100% 100 97.88 2. อัตราการได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีของบุคลากร 97.33 97.9 98.12 94.9 3. อุบัติการณ์บุคลากรเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน 7 3 1 4 2 4. อุบัติการณ์บุคลากรติดเชื้อจากการปฏิบัติงาน เช่น TB ไข้สุกใส ตาแดง ไข้หวัด2009 คอตีบ ไวรัสตับอักเสบบี เอดส์ (ตาแดง) (ไข้สุกใส) 5. อัตราการล้างมือถูกต้องตาม5 Moment >80 % 80.6% 81.3% 82.3% 75.0% 78.4% 6. อัตราการล้างมือถูกต้อง 7 ขั้นตอน 100% 86.2% 99.9% 7. อัตราการใช้ PPE เหมาะสม >80% 88.9% 87.6% 88.0% 90.4% 82.7%

39 การตรวจสุขภาพประจำปี

40 ตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่

41 สรุปผลการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศรีวิไล
กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 ปีงบประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2560 จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวนบุคลากรทั้งหมด 137 100.0 139 144 ตรวจสุขภาพ 130 94.9 เพศชาย 39 28.5 41 29.5 46 31.9 เพศหญิง 98 71.5 70.5 68.1 กลุ่มอายุ > 35 ปี 57 41.6 41.0 69 47.9 กลุ่มอายุ < 35 ปี 80 58.4 82 58.9 75 52 ปกติ 57.6 53.9 68 47.2 กลุ่มเสี่ยง 48 36.9 54 38.8 65 45.1 กลุ่มเป็นโรค 7 5.4 10 7.1 11 7.6 ป่วยด้วยโรคอะไรบ้าง เน้นโรคติดเชื้อ

42 สรุปผลการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศรีวิไล
กลุ่มป่วย จำนวน 11 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 3 คน โรคเบาหวาน จำนวน 3 คน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 2 คน Hyperlipidemia จำนวน 1 คน Thyroid จำนวน 1 คน Epilepsy จำนวน 1 คน รับการรักษาในคลินิกโรคเรื้อรัง พบแพทย์

43 สรุปผลการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศรีวิไล
การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่แก่เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล ได้รับวัคซีน(คน) ไม่ได้รับวัคซีน(คน) ร้อยละ ปี 2557 147 4 97.35 ปี 2558 127 9 93.82 ปี 2559 136 3 97.84

44 จุดเน้นที่ 5 การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย การเฝ้าระวังการติดเชื้อในบุคลากร การเฝ้าระวังในสิ่งแวดล้อม

45 การเฝ้าระวังในสิ่งแวดล้อม
คุณภาพน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์มาตรฐานทุก 4 เดือน อัตราการคัดแยกขยะติดเชื้อ

46 จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง จุดอ่อน
ทีมประกอบด้วยบุคลากรจากทุกหน่วยงานและจากทุก รพ.สต.ทำงานเชื่อมประสานกัน ผู้บริหารให้การสนับสนุน มี ICN ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรเฉพาะทาง 4เดือน มี ICWN ที่ผ่านการอบรม 2 สัปดาห์ 3 คน จุดอ่อน โครงสร้างอาคารเดิมทำให้มีปัญหาระบบระบายอากาศที่แก้ไขยาก การจัดหาทรัพยากร เช่น PPE เป็นลักษณะการจัดซื้อร่วมในจังหวัดทำให้ไม่เพียงพอในบางครั้ง

47 สรุปตัวชี้วัด IC ปี 2559 จำนวนตัวชี้วัดทั้งหมด
จำนวนตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ จำนวนตัวชี้วัดที่ ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน ร้อยละ 20 14 70 6 30

48 ความภาคภูมิใจ ผู้บริหารระดับสูงให้ความสำคัญและให้ความช่วยเหลืออย่างสม่ำเสมอ มีระบบ IC ในรพ.สต. เชื่อมนโยบาย รพ.สต. ติดดาว พัฒนาระบบการจัดเก็บขยะติดเชื้อระดับ cup ได้อย่างมีมาตรฐาน ส่งผลให้มีการจัดการขยะติดเชื้อในชุมชนและรพ.สต.เครือข่ายที่เป็นแนวทางเดียวกัน ลดความขัดแย้งและค่าใช้จ่าย

49 โอกาสพัฒนาต่อ สร้างวัฒนธรรมการล้างมือในองค์กรให้ยั่งยืน และ ใช้ My 5 moment (ก่อน 2 หลัง 3 ) การ empowerment ให้ผู้ป่วยนอกและญาติผู้ป่วยแยกขยะได้ถูกต้อง จุดอ่อน จุดแข็ง แล้วค่อยโชว์ตัวชี้วัด

50 ขอบคุณค่ะ การเฝ้าระวังในผู้รับบริการ


ดาวน์โหลด ppt บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google