งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)
นายแพทย์สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี วันที่ 30 พฤศจิกายน 2560

2 การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร (Road Traffic Injury)
เป้า อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปี 2561 ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน *** เป้าหมายรายจังหวัด : ลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 21 จากค่ามัธยฐานปี ถนน รถ มาตรการ ขยับ : จุดคานงัด สู่อำเภอ RISK เร็ว ดื่มขับ อื่น ๆ ใม่ใช้ หมวก/ belt มาตรการ 4x4

3 การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2561 (กระทรวง)
เป้าหมายประเทศ : อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน *** เป้าหมายรายจังหวัด : ลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 21 จากค่ามัธยฐานปี มาตรการบริหารจัดการ 1.SAT/EOC-RTI คุณภาพ 2.TEA Unit คุณภาพ (รพ. A S M1) 3. สสอ./รพช./คปสอ. เป็น เลขาร่วมใน ศปถ. อำเภอ 4. อำเภอมีการบูรณาการงาน RTI ใน DHB มาตรการข้อมูล (4I) 1. Integration Data 3 ฐาน 2. IS online (รพ. A S M1) 3. Investigation online 4. Information Black Spot นำเสนอข้อมูลผ่าน ศปถ. อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ ไตรมาส มาตรการป้องกัน (D-CAR) 1. D-RTI ปี 2 (อำเภอ) 2. Community Road Safety (ชุมชน/ตำบล/หมู่บ้าน) 3. Ambulance Safety 4. RTI Officer เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทางถนน (จปถ.) เน้น รถพยาบาล รถยนต์ราชการ (ฝ่ายบริหารของหน่วยงาน) มาตรการรักษา (2EIR) 1. EMS คุณภาพ 2. ER คุณภาพ 3. In-hos คุณภาพ 4. Referral System Quick win ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 เสนอข้อมูลการตายที่เป็นทางการต่อ ศปถ.ประเทศ การจัดอบรม IS online (รพ. A S M1) อย่างน้อย 6 เขต มีการชี้เป้าจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. ทุกจังหวัด (760 จุด) จังหวัดรายงานการ บูรณาการข้อมูลการตาย ครบทุกจังหวัด (76 จังหวัด) อำเภอที่ดำเนินการ D-RTI ตามเป้าหมาย (322 อำเภอ) 2. มีการรายงานผลการสอบสวนผ่าน Investigation online ตามเกณฑ์ รพ. A S M1 มีระบบรายงาน IS online อย่างน้อย 80% มีอำเภอ D-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50% (161 อำเภอ) มีการชี้เป้าจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. ทุกจังหวัด (1,520 จุด) จำนวนครั้งและผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิตไม่เกิน 1% ใน รพ. A S M1 *** เป้าหมายรายจังหวัด จำนวนผู้เสียชีวิตจากการจราจรทางถนนลดลงร้อยละ 21 สามารถค้นข้อมูลรายละเอียดได้ที่

4 D-RTI เป็นการออกแบบการดำเนินงานที่สามารถบูรณการงาน
Concept D-RTI การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในระดับอำเภอ (District Road Traffic Injury : D-RTI) หมายถึง: หน่วยงานในระดับอำเภอ ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหรือโรงพยาบาลชุมชน หรือคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.) มีการดำเนินงานป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในระดับอำเภอ ร่วมกับภาคีเครือข่าย 1) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board: DHB/พชอ.) 2) ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนระดับอำเภอ (ศปถ.อำเภอ) 3) อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 4) หรือระบบการทำงานอื่นๆ ในอำเภอ เช่น One Health วัตถุประสงค์ - เพื่อให้เกิดการทำงานตลอดทั้งปี และครอบคลุมทุกประเด็น - สามารถวัดผลผลิตการทำงาน และประเมินผลลัพธ์ D-RTI เป็นการออกแบบการดำเนินงานที่สามารถบูรณการงาน กับระบบงานอื่นๆ ได้ในอำเภอ

5 กรอบการดำเนินงาน D-RTI

6 ผลการดำเนินงาน DHS-RTI ปี 2560 (ปีที่ผ่านมา)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินการ จำนวนอำเภอที่ดำเนินการป้องกันการ บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (DHS-RTI) 264 อำเภอ 634 อำเภอ (72.20% ของประเทศ) 2. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ ระดับดี (Good) ขึ้นไป 132 อำเภอ 470 อำเภอ (74.13% ของอำเภอ ที่ดำเนินการ) - ระดับดี (Good) - 328 อำเภอ - ระดับดีมาก (Excellent) 89 อำเภอ - ระดับดีเยี่ยม (Advanced) 54 อำเภอ 3. จำนวนอำเภอที่มีผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตลดลง 176 อำเภอ (37.44% ของอำเภอ ผ่านเกณฑ์ระดับดี)

7 อำเภอที่มีการ ดำเนินงานDHS-RTI
จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด จำนวน อำเภอ อำเภอที่มีการ ดำเนินงานDHS-RTI ผลการประเมิน GOOD EXCELLENT ADVANCED ไม่ผ่าน ไม่สมัคร กาญจนบุรี 13 12 5 - 3 4 1 อ.ทองผาภูมิ อ.เมืองกาญจนบุรี อ.สังขละบุรี อ.บ่อพลอย อ.ไทรโยค อ.ท่ามะกา อ.ห้วยกระเจา อ.พนมทวน อ.ท่าม่วง อ.เลาขวัญ อ.ศรีสวัสดิ์ อ.ด่านมะขามเตี้ย อ.หนองปรือ

8 รายละเอียดตัวชี้วัด D-RTI ปี 2561 กรมควบคุมโรค
ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย คะแนน 1. วิเคราะห์ข้อมูลและสถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน เพื่อกำหนดพื้นที่เป้าหมาย มีการดำเนินการ 1 คะแนน 2. จัดทำแผนงานหรือโครงการในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการ ดำเนินงาน และชี้แจง/ถ่ายทอด นโยบาย แก่หน่วยงานในพื้นที่ 3. ร้อยละของอำเภอที่ดำเนินการป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ทางถนน (D-RTI) มีอำเภอเสี่ยงสูงสุดอันดับ 1 ของจังหวัด และอำเภอที่เหลือไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 4. ร้อยละของอำเภอที่ดำเนินการป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ทางถนน(D-RTI) ที่ดำเนินการผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไป จำนวน 50% ของอำเภอที่ดำเนินการ 5. ร้อยละของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไปที่มีผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง จำนวน 30% ของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป เป้าหมาย : รอบ 6 เดือน ถึงขั้นตอนที่ 1 และ 2 รอบ 9 เดือน ถึงขั้นตอนที่ 3 รอบ 12 เดือน ถึงขั้นตอนที่ 4 และ 5 แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล: 1) รายงานการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนจากแบบฟอร์มรายงานของจังหวัด และ สคร.1-12 2) ข้อมูลจำนวนผู้บาดเจ็บและผู้เสียจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ที่ดำเนินการ D-RTI ใช้ฐานข้อมูลบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ระยะเวลา 11 เดือน: ตุลาคม 2560 – 31 สิงหาคม 2561 ตัดข้อมูลวันที่ 15 กันยายน 2561

9 เป้าหมาย D-RTI ในปี 2561 ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย
1. มีการดำเนินงานในพื้นที่อำเภอเสี่ยงสูงสุดอันดับ 1 ของจังหวัด และอำเภอที่เหลือไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 322 อำเภอ 2. มีอำเภอดำเนินการผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) ขึ้นไป อย่างน้อยร้อยละ 50 ของอำเภอที่ดำเนินการตามกำหนด 161 อำเภอ 3. จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไปมีผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง เป้าหมายร้อยละ 30 ของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ 50 อำเภอ หมายเหตุ: 1. จังหวัดที่มีจำนวนอำเภอ ≤ 4 อำเภอ ให้ดำเนินการเพียง 1 อำเภอ โดยเลือกดำเนินการในอำเภอเสี่ยงสูงเป็นอันดับแรก 2. การเลือกอำเภอเสี่ยงสูง ส่วนกลางจะคัดข้อมูลให้ และให้ สคร.วิเคราะห์เพื่อเลือกอำเภอเสี่ยงสูงเอง พร้อมส่งผลการวิเคราะห์ตามแบบฟอร์ม ส่งให้สำนักโรคไม่ติดต่อ เพื่อรวบรวมในภาพของประเทศ

10 จำนวนอำเภอเป้าหมายเขต
เขต/สคร. จำนวนอำเภอในจังหวัด จำนวนอำเภอเสี่ยงสูง อันดับ 1 ของจังหวัด จำนวนอำเภอที่เหลืออีก 30% ขั้นตอนที่ 3 รวมจำนวนอำเภอที่ดำเนินการ D-RTI ในเขตสุขภาพ ขั้นตอนที่ 4 จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นนำไป คิดเป็น 50% ของขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 5 จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไปที่มีผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง คิดเป็น 30% ของขั้นตอนที่ 4 ประเทศ 878 76 246 322 161 50 สคร. 1 103 8 29 37 19 6 สคร. 2 47 5 13 18 9 3 สคร. 3 54 15 20 10 สคร. 4 70 27 14 สคร. 5 62 17 25 4 สคร. 6 69 สคร. 7 77 22 26 สคร. 8 87 7 24 31 16 สคร. 9 88 30 สคร. 10 สคร. 11 74 21 28 สคร. 12

11 การชี้เป้าอำเภอเสี่ยงสูง
ใช้ฐานข้อมูล 2 ฐาน ได้แก่ ข้อมูลมรณบัตรปี ปฏิทิน 2558 – 2559 ขัอมูลบริษัทกลางคุ้มครองผู่ประสบภัยจากรถ จำกัด ปฏิทิน 2558 – 2559 ประชาการกลางรายอำเภอ ปี 2558 สรุปผลการเสียชีวิตและการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ระดับอำเภอ การพิจาณาเลือกอำเภอเสี่ยงสูง รายจังหวัด - พิจารณาอำเภออันดับที่ 1 ของแต่ละจังหวัด ทั้ง มรณะบัตร และ บ.กลางฯ - ถ้าเท่าๆ ให้พิจารณา เลือก อันดับที่ 1 ของ บ.กลางฯ ก่อน - การพิจารณาอำเภอเสี่ยง ควรปรึกษาจังหวัด (สสจ.) เพื่อให้เข้าใจ ตรงกัน

12 การสนับสนุนการดำเนินงาน D-RTI
การขับเคลื่อนเชิงนโยบาย ผ่านผู้บริหารและหนังสื่อสั่งการของสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข บรรจุเป็นประเด็นตรวจราชการ (รอบที่ 1 และ 2) บูรณาการกับ District Health Board: DHB/พชอ. จัดกิจกรรมเวทีเสริมพลังแก่หน่วยงานในพื้นที่ มอบโล่แก่อำเภอที่ ดำเนินการผ่านเกณฑ์ระดับ Advanced ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2560 และ กิจกรรมถ่ายทอดนโยบาย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practice จัดทำคู่มือ/แนวทางสนับสนุนการดำเนินงานของพื้นที่ หนังสือแนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บทางถนนในระดับพื้นที่ แนวทางการประเมิน D-RTI จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลที่ประกอบด้วยหลายภาคส่วน กิจกรรมเสริมพลังให้แก่อำเภอที่ดำเนินการในระดับ Advanced ปี 2561 ขับเคลื่อนและสนับสนุนการดำเนินผ่านศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน

13 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt “การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google