งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสอน : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิด และหลักปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสอน : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิด และหลักปฏิบัติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสอน : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิด และหลักปฏิบัติ
การสอน : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิด และหลักปฏิบัติ รศ.ไพโรจน์ คีรีรัตน์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มอ. โทร

2 เนื้อหา สภาพการสอน ปศพพ. ในโรงเรียน นำเสนอโดยตัวแทนครู
ทักษะการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง ทักษะการฟัง และ สุนทรียสนทนา ทักษะการคิดเชิงเหตุผล ทักษะการคิดแบบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการขับเคลื่อน

3 ใช้หลักไม่เชื่อ 10 ประการ...จนกว่าจะใคร่ครวญแล้วและเชื่อ
1. อย่าเพิ่งเชื่อ ตามที่ฟังต่อ ๆ กันมา 2. อย่าเพิ่งเชื่อ ตามที่ทำต่อ ๆ กันมา 3. อย่าเพิ่งเชื่อ ตาม คำเล่าลือ 4. อย่าเพิ่งเชื่อ โดย การอ้างตำราหรือคัมภีร์ 5. อย่าเพิ่งเชื่อ โดย การนึกเดา 6. อย่าเพิ่งเชื่อ โดย การคาดคะเนเอง 7. อย่าเพิ่งเชื่อ โดย นึกคิดตามแนวเหตุผล 8. อย่าเพิ่งเชื่อ ตาม เพราะเข้าได้กับทฤษฎีของตน 9. อย่าเพิ่งเชื่อ เพราะ มีรูปลักษณ์ที่น่าเชื่อถือได้ 10. อย่าเพิ่งเชื่อ เพราะ ผู้พูดเป็นเป็นครูบาอาจารย์ของตน

4 การรู้ = ความรู้เดิม + ประสบการณ์/ข้อมูลใหม่ + การคิด
การประเมิน/การสร้างสรรค์ การสังคราะห์ การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ การเข้าใจ การจำได้ ของใหม่ ของเดิม การเรียนรู้

5 คำถาม : ทักษะในการจัดการความทุกข์ คือ อะไร ทำให้เด็กมีทักษะ คือ การสอน
“ความผิดพลาดในชีวิตของเด็ก มันไม่ได้เกิดจากการไม่มีทักษะอาชีพ แต่เกิดจากการไม่มีทักษะในการจัดการกับความทุกข์ (ความจน ความรัก ความคับแค้น ...) คัดลอกจาก หนังสือเด็กน้อยเติบโตเข้าหาแสง คำถาม : ทักษะในการจัดการความทุกข์ คือ อะไร ทำให้เด็กมีทักษะ คือ การสอน จะออกแบบการสอนอย่างไร

6 “ตั้งคำถามอย่างไร” จึงจะทำให้ผู้ตอบ “รู้ได้ด้วยตัวเอง”
ถาม เพื่อให้คิดและรู้ได้ โดยอาศัย “ความรู้และประสบการณ์เดิม” คำตอบ เป็นข้อความหรือประโยค ที่ประกอบด้วย ข้ออ้าง (เหตุผล) ข้อมูลสนุบสนุน และขอสรุป ตัวอย่าง คนไม่อยากทำงานที่ใช้แรงงาน (ข้อสรุป) เพราะเงินดือนน้อย (ข้ออ้าง) เนื่องจากแรงงานมีรายได้เริ่มต้น 300 บาทต่อวัน (ข้อมูลสนับสนุน)

7 ฝึกตั้งคำถาม : จงตั้งคำถามกับเรื่องเล่าของครู
ชนิดคำถาม : อะไร (วัสดุ) / ใคร (เพื่อรู้เป้าหมายตรงกัน / เข้าใจตรงกัน) ทำไม (เพื่อรู้เหตุและผล) อย่างไร (เพื่อรู้วิธีการ) เท่าไร (เพื่อรู้ปริมาณ) เมื่อไหร่ (เพื่อรู้เวลา) กิจกรรม : เล่าการสอนปศพพ. สถานการณ์จากเรื่องเล่าของครู : โรงเรียนได้จัดการเรียนการสอน ปศพพ. มาตั้งแต่ปี ครู คน สอน ปศพพ. ผ่านวิชา และกิจกรรม วิธีการสอนที่ใช้ คือ ผลที่ได้ คือ สิ่งที่จะพัฒนาต่อ คือ

8 “คำถาม” และ “ตอบ” เกี่ยวกับปศพพ. นำไปสู่ “ความรู้พื้นฐาน”
คำตอบ มีฐานเรียนรู้พร้อม มีการสอนแบบโครงงาน มีการตั้งคำถาม กระตุ้นให้เด็กคิดเอง สังเคราะห์เป็นความรู้ มีโรงเรียน 3 กลุ่ม กลุ่มพร้อมเป็นศูนย์ใน 1 ปี กลุ่มพัฒนาอีก 2 ปี และกลุ่มที่ต้องมากกว่า 2 ปี

9 กิจกรรมที่ : ถอดบทเรียน “การสอน ปศพพ.”ของแต่ละโรงเรียน
สอนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่ออะไร ครูสอนอะไรบ้าง ครูสอนอย่างไร (วิธีสอน/เทคนิคสอน) ครูใช้สื่อ/อุปกรณ์ อะไรบ้าง ความสำเร็จ / ปัญหา / อุปสรรค คือ อะไร

10 กิจกรรมที่ : จงออกแบบการสอน เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถจัดการความทุกข์
เป้าหมาย (มีทักษะจัดการความทุกข์) วิธีการสอน/จัดกิจกรรม (มีอะไรบ้าง รู้ได้อย่างไรว่าดี/มีประสิทธิภาพ) ประเมินผล (วัดอย่างไร ว่าเด็กมีความสามารถแล้ว)

11 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เชื่อมกับ ทรัพยากร 4 ด้าน คือ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นทั้งหลักคิด และแนวปฏิบัติ ที่มี 3 หลักการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เชื่อมกับ ทรัพยากร 4 ด้าน คือ วัตถุ / เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ความรู้ คุณธรรม ส่งผล

12 ทำความเข้าใจ : หลักคิดวิเคราะห์ เชื่อมโยง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
พอประมาณ ทำความเข้าใจ : หลักคิดวิเคราะห์ เชื่อมโยง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข เหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ คุณธรรม ปัจจัยภายนอก: 4 มิติ : วัตถุ(เศรษฐกิจ), สังคม, สิ่งแวดล้อม, วัฒนธรรม

13 กิจกรรมที่ 2 : จงระบุปัญหาจากการสอน ปศพพ. ในโรงเรียนของฉัน
กิจกรรมที่ 2 : จงระบุปัญหาจากการสอน ปศพพ ในโรงเรียนของฉัน สอนแบบครูให้คำตอบ การบูรณาการในชั้นเรียน การจัดกิจกรรม การบริหารจัดการ

14 เราใช้ “เหตุผล” ใน “การตัดสินใจ” ที่จะเนินการเรื่องต่าง ๆ
ความมีเหตุผล เราใช้ “เหตุผล” ใน “การตัดสินใจ” ที่จะเนินการเรื่องต่าง ๆ บนพื้นฐานความถูกต้องตามความจริง ตามหลักวิชาการ หลักกฏหมาย หลักศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยม และวัฒนธรรม พิจารณา “เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง” รู้จักคาดถึง “ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น” จากการกระทำ(ระยะสั้น ระยะยาว) ต่อตัวเอง ต่อผู้อื่น ต่อส่วนรวม (ครอบครัว, ชุมชน, ประเทศ, โลก) รู้จักพิจารณาแยะแยะและเห็นการเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ เหตุ ผลระยะสั้น ผลระยะยาว ปัจจัย /เงื่อนไข ที่มา : ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ตามรอยพ่อ..ชีวิตพอเพียง...สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

15 ฝึกคิดสาวหา “เหตุ” และสืบหา “ผล” สถานการณ์ ครูเล่าเรื่องราวสั้นๆ วิเคราะห์ด้วยคำถาม ใช้คำถาม “อะไร ทำไม อย่างไร” แสดงภาพ เขียนเป็นผังด้วยคำ/ข้อความสำคัญ อะไร  เหตุ  ผล  อะไร เรื่องเล่า :

16 ความพอประมาณ (ในฐานะเศรษฐกิจ/การผลิต)
(1) การใช้ทรัพยากร ( ทุนเดิมของตัวเอง หรือในท้องถิ่น) เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ก่อนจะไปหามาจากภายนอก (2) ใช้ให้พอเหมาะ กับ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม คือ ไม่มากเกินศักยภาพ และไม่น้อยเกินจนขาดแคลน ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ไม่ทำให้สังคมเดือดร้อน ไม่ทำลายธรรมชาติ ทางเลือก การประเมิน สรุป ใช้ประเมินทางเลือก ใช้ตัดสินใจ ที่มา : ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ตามรอยพ่อ..ชีวิตพอเพียง...สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

17 ฝึกคิดประเมินทางเลือก สถานการณ์ ครูเล่าประสบการณ์การตัดสินใจ เช่น “ การจัดการทรัพยากร (เวลา งบประมาณ เนื้อหา วัสดุ แรงงาน) ” ในการจัดการเรียนการสอน ปศพพ. ฝึกใช้คำถามเพื่อเรียนรู้ :ใช้คำถาม “อะไร ทำไม อย่างไร” เพื่อให้เข้าใจ สรุปผล : ครูใช้หลักความพอประมาณอย่างไร

18 การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม เพื่อรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่าง ๆ (วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม) ที่สามารถปรับตัวและรับมือได้ทันท่วงที ไม่เสี่ยง ไม่ประมาท พิจารณา โดยคำนึงถึง “ความเป็นไปได้” และ “ผลกระทบ” ของสถานการณ์ หรือ “ความเสี่ยง” จากปัจจัยภายนอก (4 มิติ) เป้าหมายเพื่อเตรียมพร้อมให้กับตัวเอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจสถานการณ์และปัจจัยภายนอก ประเมิน และคาดการณ์อนาคต ที่มา : ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ตามรอยพ่อ..ชีวิตพอเพียง...สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

19 การวิเคราะห์ “ห่วงภูมิคุ้มกัน”
ประเมิน ปัจจัยภายนอก วัตถุ/เศรษฐกิจ, สังคม สิ่งแวดล้อม, วัฒนธรรม เหตุผล ความรู้ คุณธรรม เตรียมแผนรองรับ ความเสี่ยง เปลี่ยน รู้ ปรับ เกิด สิ่งที่จะทำ ผล ปัจจุบัน อนาคต

20 วัตถุ หมายถึง วัตถุทางกายภาพ
วัตถุ หมายถึง วัตถุทางกายภาพ เกี่ยวข้องกับ เศรษฐกิจ เงินทุน และการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด สังคม หมายถึง สภาพการอยู่ร่วมกันของคน ความสัมพันธ์ของคน สิ่งแวดล้อม ( ทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชน สังคม ประเทศ และ โลก ) ความสมบูรณ์ ความหลากหลาย(ชีวภาพ) ความปกติของภูมิอากาศ ซึ่งมีผลต่อปัจจัยการผลิต วัฒนธรรม (ตัวตน) หมายถึง วิถีการดำเนิน/ดำรงชีวิต ความเชื่อ ศาสนา รบบคุณค่า ภูมิปัญญา การประกอบอาชีพ การรักษษสุขภาพ การแต่งตัว ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ การแสดง โบราณสถาน ที่มา : ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ตามรอยพ่อ..ชีวิตพอเพียง...สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

21 สถานการณ์การกระทำ “สิ่งกระทำ” สัมพันธ์กับ “ตัวเอง” และ “ปัจจัยภายนอก” พอประมาณ รู้ทัน “ความเสี่ยง” และ “ผลกระทบ” เหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี เหตุ  ผล ความรู้ คุณธรรม ปัจจัยภายนอก: 4 มิติ : วัตถุ(เศรษฐกิจ), สังคม, สิ่งแวดล้อม, วัฒนธรรม

22 คนพอเพียง อุปนิสัยพอเพียง เหตุผล + เงื่อนไข 2 ประการ
ความรู้ (เป็นปัจจัยความสำเร็จ) + คุณธรรม (กำกับให้สำเร็จ) 1. ความสมดุล สำหรับตัดสินใจ 2. ประโยชน์ส่วนรวม 3. ความมั่นคงที่เน้นฐานราก พึ่งตัวเองก่อน 4. คนมีคุณภาพ พอประมาณ คนพอเพียง อุปนิสัยพอเพียง ภูมิคุ้มกัน มีทักษะคิด แบบ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (หลักคิด + หลักปฏิบัติ) ความสุข ยั่งยืน

23 วิเคราะห์ ตัดสินใจ ได้ผล สมดุลกับปัจจัย พอประมาณ วัตถุ/เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เหตุผล ความรู้รู้ คุณธรรมร วิเคราะห์ ตัดสินใจ ได้ผล ความเป็นไปได้ ความเสี่ยง ผลกระทบ ทางเลือก ภูมิคุ้มกัน เหตุผล ความรู้รู้ คุณธรรมรู้

24 การฝึกถาม การสอน ปศพพ. คือ การตั้งคำถาม เพื่อฝึกการคิดของผู้เรียน
พอประมาณ การฝึกถาม คือ ถามตัวเอง ถามผู้อื่น ฝึกสติ (วิชารู้สึกตัว) ฝึกถอดบทเรียน เหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ คุณธรรม 4 มิติ : วัตถุ(เศรษฐกิจ), สังคม, สิ่งแวดล้อม, วัฒนธรรม

25 คำถามถอดบทเรียน  ทำไม จึงทำกิจกรรมหรือสิ่งนี้ (เหตุผลของเหตุการณ์) อะไร คือ แรงบันดาลใจ (เหตุผลของตัวเอง) มีทรัพยากรสนับสนุนเพียงพอหรือไม่ (เงิน คน ความรู้ ทักษะ อุปกรณ์ และอื่น ๆ) ถ้ามี ท่านใช้ทรัพยากรอย่างไร ถ้าไม่มี ท่านแก้ปัญหาอย่างไร (ความพอประมาณ) กิจกรรมหรือสิ่งที่ทำนั้น ส่งผลกระทบอย่างไร (ภูมิคุ้มกัน) กิจกรรมหรือสิ่งที่ทำ ต้องใช้ความรู้อะไรบ้าง ท่านมีความสามารถเพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่มีจะทำอย่างไร มีความเหมาะสมกับท้องถิ่นเราอย่างไร (ความรู้ และ พอประมาณ) อะไร คือ ที่คาดหวังจากการทำสิ่งนี้ มีปัญหาอะไรบ้าง จากการทำครั้งนี้ และได้แก้ปัญหานั้นอย่างไร ในการทำกิจกรรมหรือสิ่งนี้ ได้ทำให้ตัวเองได้พัฒนาอะไรบ้าง หลังจากทำสิ่งนี้แล้ว ได้ความรู้อะไรเพิ่มขึ้นบ้าง รู้ได้อย่างไรว่าความรู้ที่ได้มาถูกต้อง น่าเชื่อถือ เป็นไปตามหลักวิชาการ และตามบริบทของท้องถิ่น และมีประโยชน์ กิจกรรมหรือสิ่งที่ทำนั้น ได้ฝึกนิสัยตัวเองเรื่องใดบ้าง

26 จบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt การสอน : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิด และหลักปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google