ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยไพฑูรย์ ตั้งตระกูล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๕ วันจันทร์ที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
2
วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องเพื่อพิจารณา ๒.๑ วิเคราะห์สถานการณ์น้ำบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาและแนวทางการบริหารการระบายน้ำ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องอื่น ๆ 2 2
3
ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องเพื่อพิจารณา ๒.๑ วิเคราะห์สถานการณ์น้ำบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาและแนวทางการบริหารการระบายน้ำ สถานการณ์ฝน สถานการณ์น้ำในเขื่อน สถานการณ์น้ำท่า สถานการณ์น้ำท่วม 3 3 3
4
สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน
10 กันยายน 2555
5
รายงานสถานการณ์ฝน
6
แผนภาพฝนสะสมรายวัน (3-5 ก.ย. 55)
3 ก.ย. 55 4 ก.ย. 55 5 ก.ย. 55 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
7
แผนภาพฝนสะสมรายวัน (6-9 ก.ย. 55)
6 ก.ย. 55 8 ก.ย. 55 9 ก.ย. 55 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
8
แผนภาพฝนสะสมระหว่างวันที่ 3-9 ก.ย. 55
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา
9
ปริมาณฝนสะสมย้อนหลัง
ย้อนหลัง 3 วัน ย้อนหลัง 7 วัน
10
รายงานสถานการณ์น้ำในเขื่อน
11
สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าเพิ่มขึ้น 52% (10 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 6,497 ล้าน ลบ.ม. 9-10 ก.ย. 55 ระบายวันละ 3 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
12
สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 61% (10 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 3,846 ล้าน ลบ.ม. 20-29 ส.ค.55 ระบายวันละ 10 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
13
สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าเพิ่มขึ้น 41% ( 10 ก.ย.55) รับน้ำได้อีก 466 ล้าน ลบ.ม. 10 ก.ย.55 ระบาย 4.34 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
14
สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 83% (10 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 1,485 ล้าน ลบ.ม. 10 ก.ย. 55 ระบาย ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
15
สถานการณ์น้ำเขื่อนศรีนครินทร์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าเพิ่มขึ้น 83% (10 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 2,989 ล้าน ลบ.ม. 10 ก.ย.55 ระบาย ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
16
รายงานสถานการณ์น้ำท่า
17
สถานการณ์น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาตอนบน
ที่มา : กรมชลประทาน
18
สภาพน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก-ตะวันตก
ที่มา : กรมชลประทาน
19
สถานการณ์น้ำที่สถานี Y.4 - เมืองสุโขทัย
20
สถานการณ์น้ำที่สถานี Y.16 - บางระกำ
21
สถานการณ์น้ำที่สถานี N.67 ชุมแสง
22
สถานการณ์น้ำที่สถานี C.2 จิรประวัติ
23
สถานการณ์น้ำที่สถานี C.13 ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา
24
สถานการณ์น้ำที่สถานี CPY001-สะพานเดชาติวงศ์
25
สถานการณ์น้ำที่สถานี CPY011-ภูเขาทอง
26
สถานการณ์น้ำที่ปตร.มโนรมย์
27
สถานการณ์น้ำที่ปตร.มหาราช
28
สถานการณ์น้ำที่ปตร.มะขามเฒ่า-อู่ทอง
29
สถานการณ์น้ำที่ปตร.พลเทพ
30
สถานการณ์น้ำที่ปตร.บรมธาตุ
31
สถานการณ์น้ำที่เขื่อนพระรามหก
32
สถานการณ์น้ำที่ปตร.พระนารายณ์
33
รายงานสถานการณ์น้ำท่วม
34
รายงานสถานการณ์น้ำท่วม
วันที่รายงาน รายละเอียด ที่มา 10 ก.ย. 55 จังหวัดสุโขทัย ปริมาณฝนที่ตกต่อเนื่อง ประกอบกับ แม่น้ำยมทางตอนเหนือไหลบ่ามาสมทบ ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำยม จ.สุโขทัย เพิ่มสูงขึ้น กระแสน้ำไหลกัดเซาะแนวเขื่อน ถนนเลียบฝั่งแม่น้ำเสียหาย เป็นระยะทางกว่า 10 เมตร ก่อนกระแสน้ำไหลทะลักท่วมบริเวณตลาดสดริมแม่น้ำยม ในเขตเทศบาลเมืองสุโขทัยระดับน้ำสูง 50 เซนติเมตร ส่งผลกระทบให้ราษฎรได้รับความเดือดร้อนประมาณ 1,100 ครัวเรือน innnews จังหวัดชัยนาท วันที่ 9 กันยายน 2555 ได้เกิดฝนที่ตกหนักต่อเนื่อง ทําให้เกิดน้ำท่วมในพื้นที่อําเภอวัดสิงห์ ตําบลวังหมัน หมู่ที่ 1,3,4,5 และ 8 โดยเฉพาะบริเวณหมู่ที่ 1 บ้านหนองอีเช้ง มีระดับน้ำสูงประมาณ 1 เมตร กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 9 ก.ย.55 จังหวัดสระแก้ว น้ำท่วม 2 อำเภอ คืออำเภอเขาฉกรรจ์ และ อำเภอวังน้ำเย็น โดยอำเภอวังน้ำเย็นมีบ้านเรือนราษฎรถูกน้ำท่วม จำนวน 872 หลังคาเรือนใน 4 ตำบล ประกอบด้วย ตำบลวังน้ำเย็น,ตำบลคลองหินปูน,ตำบลตาหลังใน และตำบลทุ่งมหาเจริญ ส่วนอำเภอเขาฉกรรจ์พื้นที่น้ำ ท่วมจำนวน 4 ตำบล บ้านเรือนราษฎรถูกน้ำท่วมกว่า 500 หลังคาเรือน และมีพื้นที่การเกษตรเสียหายกว่า 1 หมื่นไร่ ระวังภัย
35
รายงานสถานการณ์น้ำท่วม
วันที่รายงาน รายละเอียด ที่มา 9 ก.ย.55 จังหวัดอุตรดิตถ์ วันที่ 9 กันยายน 2555 ได้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่อง ทําให้น้ำป่าจากลําห้วยแม่พลู ลําหวยปู่เจ้า และลําห้วยแม่พร่อง ไหลหลากเข้าน้ำท่วมในพื้นที่ 2 อําเภอ 7 ตําบล 35 หมู่บ้าน เบื้องต้นราษฎรได้รับความเดือดร้อน 2,000 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตรมีน้ำท่วมขังประมาณ 3,000 ไร่ ดังนี้ (1) อําเภอลับแล 4 ตําบล 1 เขตเทศบาล 28 หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลฝายหลวง ตําบลชัยจุมพล ตําบลทุ่งยั้ง ตําบลไผ่ล้อม และเขตเทศบาลตําบลศรีพนมมาศ ระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 40 – 50 ซม. ราษฎรไดรับความเดือดร้อน 1,500 คน พื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายประมาณ 2,000 ไร่ (2) อําเภอเมืองอุตรดิตถ์ 2 ตําบล 7 หมู่บ้าน ได้แก่ ตําบลบ้านด่านนาคาม และตําบลน้ำริด ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 500 คน พื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายประมาณ 1,000 ไร่ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดพิษณุโลก เมื่อเวลา น.วันที่ 9 ก.ย.2555 เกิดฝนตกหนักในหลายพื้นที่ในจังหวัดพิษณุโลก ส่งผลให้เกิดดินโคลนสไลด์ลงทับเส้นทางนครไทย-บ้านบ่อโพธิ์ หมู่ 1 บ้านบ่อโพธิ์ ดินโคลนสไลด์ทับเส้นทาง ส่งผลให้รถยนต์เล็กยังสามารถผ่านไปได้แต่ต้องขับอย่างระมัดระวัง ส่วนรถใหญ่ไม่สามารถผ่านไปได้ พิษณุโลก ฮอตไลน์
36
รายงานสถานการณ์น้ำท่วม
วันที่รายงาน รายละเอียด ที่มา 8 ก.ย.55 จังหวัดเชียงราย เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้ปริมาณน้ำ แม่น้ำลาว ซึ่งไหลจากอำเภอเวียงป่าเป้า ไปอำเภอแม่สรวย พัดคอและเสาของสะพาน ทรุดใช้การไม่ได้ รถเล็กไม่สามารถสัญจรไปมาได้ และน้ำเข้าท่วมบริเวณพื้นที่เขตเทศบาลตำบลป่างิ้ว และอบต.แม่เจดีย์ ระดับน้ำสูงประมาณ 30 เซนติเมตร เนื่องจากระบายน้ำไม่ทัน ระดับน้ำเริ่มลดลงอย่างต่อเนื่อง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครสวรรค์ น้ำท่วมในพื้นที่อําเภอลาดยาว ตําบลลาดยาวราษฎรได้รับความเดือดร้อนประมาณ 200 ครัวเรือน พื้นการเกษตรได้รับความเสียหาย 2,250 ไร่ ถนน 20 แห่ง คันคลอง 10 แห่ง ปัจจุบันระดับน้ำลดลงอย่างต่อเนื่องหากไม่มีฝนตกลงมาอีกจะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ จังหวัดลําปาง วันที่ 8 กันยายน 2555 เวลาประมาณ น. เกิดเหตุน้ำป่าไหลหลาก และดินสไลด์ ในพื้นที่อําเภอเมืองปาน ตําบล แจ้ซ้อน น้ำป่าไหลหลาก (หมู่ที่ 2,4,5) ราษฎรได้รับความเดือดร้อนประมาณ 5,811 คน จำนวน 6,112 ครัวเรือน ผู้จัดการออนไลน์ จังหวัดสุรินทร์ น้ำจากเทือกเขาพนมดงรัก และน้ำจากที่พื้นที่ต่าง ๆ ไหลเข้าสมทบต่อเนื่อง มีฝนตกหนักตลอด 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา ส่งผลให้น้ำท่วมถนนในหลายสาย
37
รายงานสถานการณ์น้ำท่วม
วันที่รายงาน รายละเอียด ที่มา 7 ก.ย.55 จังหวัดลําพูน เวลาประมาณ น. พื้นที่อําเภอแม่ทา ตําบล ทาปลาดุก เกิดดินสไลด์ เส้นทางรถไฟสายเชียงใหม่-กรุงเทพฯ ระหว่างสถานีทาชมพู-สถานีขุนตาล กม.684 ได้รับความเสียหาย กว้าง 10 เมตร ลึก 30 เมตร ยาว 70 เมตร ไม่สามารถเดินรถได้และถนนลาดยาง ความยาว 150 เมตร ยานพาหนะไม่สามารถสัญจรไปมาได้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 6 ก.ย.55 จังหวัดระยอง ฝนตกหนักทําให้เกิดน้ำท่วมในพื้นที่ 2 อําเภอ ได้แก่ อําเภอเมือง ตําบลบ้านแลง และอําเภอบ้านค่าย ตําบลซากบก ตําบลตาขัน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 210 ครัวเรือน 600 คน พื้นที่การเกษตร 150 ไร่ จังหวัดตาก ฝนตกต่อเนื่องทําให้เกิดน้ำหลาก เข้าท่วมพื้นที่อําเภออุ้มผาง ตําบลอุ้มผาง ตําบลแม่ละมุ้ง ถนนทรุด 1 สาย สะพาน 3 แห่ง 5 ก.ย.55 จังหวัดเชียงใหม่ เกิดน้ำป่าไหลหลากและน้ำท่วมฉับพลัน ในพื้นที่ 3 อําเภอ 4 ตําบล ดังนี้ อําเภอฝาง ตําบลแม่งอน และดินถล่มทับเส้นทางขึ้นดอยอ่างขาง รถยนต์ไม่สามารถสัญจรผ่านไปมาได้ อําเภอดอยสะเก็ด 2 ตําบล ได้แก่ ตําบลป่าป้อง และตําบลตลาดใหญ่ อําเภอไชยปราการ ตําบลศรีดงเย็น พื้นที่ทางการเกษตร 15 ไร่ ถนนลูกรัง 1 สาย สะพาน 2 แห่ง
38
รายงานสถานการณ์น้ำท่วม
วันที่รายงาน รายละเอียด ที่มา 4 ก.ย.55 จังหวัดแพร่ วันที่ 3 กันยายน 2555 เวลาประมาณ น.เกิดฝนตกหนักทําให้เกิดน้ำป่าไหลหลาก ในพื้นที่อําเภอเด่นชัย 5 ตําบล ได้แก่ ตําบลเด่นชัย แม่จั๊วะ ปงป่าหวาย ห้วยไร่ และตําบลไทรย้อย ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 1,264 ครัวเรือน 2,535 คน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3 ก.ย.55 จังหวัดพิษณุโลก เวลาประมาณ น. ได้เกิดน้ำล้นตลิ่งคลองเนินกุ่ม-วัดตายม เข้าท่วมในพื้นที่อําเภอบางกระทุ่ม 2 ตําบล ได้แก่ ตําบลเนินกุ่ม และตําบลวัดตายม
39
ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องอื่นๆ
ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องอื่น ๆ สรุปข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะอนุกรรมการเสนอต่อ กบอ. วันจันทร์ที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๕ ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งต่อไป วัน... ๒๕๕๕ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. สถานที่ 39 39 39
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.