งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาการดำเนินงานมะเร็ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาการดำเนินงานมะเร็ง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาการดำเนินงานมะเร็ง

2 ลดระยะเวลารอคอย เพิ่มการเข้าถึงบริการ การบริการสุขภาพได้มาตรฐาน
เป้าหมาย ลดอัตราตาย ลดอัตราป่วย ลดระยะเวลารอคอย เพิ่มการเข้าถึงบริการ การบริการสุขภาพได้มาตรฐาน

3 คัดกรอง ค้นหา มะเร็งระยะเริ่มแรก
2 Screening and Early Detection สร้างเสริม สุขภาพ 1 Primary Prevention แสดงการดูแล ทุกช่วงอายุ ดูแลแบบประคับประคอง 5 Palliative Care รักษาโรคมะเร็ง 4 Treatment วินิจฉัยโรคมะเร็ง 3 Diagnosis

4 กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงาน
Primary Prevention Screening and Early Detection Cancer Diagnosis Treatment Palliative Care ยุทธ_1 ยุทธ_7 Cancer Research ยุทธ_5 ยุทธ_2 Cancer Informatics ยุทธ_6 ยุทธ_3 ยุทธ_4

5 ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็ง ที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า
การป้องกันและการรณรงค์เพื่อลดความเสี่ยง (Primary Prevention) ปัจจัยความเสี่ยง ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็ง ที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า การ ออกกำลังกาย การป้องกันมะเร็ง จากการประกอบ อาชีพและ สิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคยาสูบ โรคพยาธิใบไม้ตับ ปัจจัยความเสี่ยงที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า การบริโภคยาสูบ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การติดเชื้อไวรัส (ไวรัสตับอักเสบ (HBV) และ Human Papilloma Virus (HPV) โรคพยาธิใบไม้ตับ การส่งเสริมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี การออกกำลังกาย การป้องกันมะเร็งจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การติดเชื้อไวรัส

6 กำหนดตัวชี้วัด เป็น 2 ระดับ
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง กำหนดตัวชี้วัด เป็น 2 ระดับ ระดับที่ 1 (Outcome Indicator) ตัวชี้วัด ระดับเป้าประสงค์ 2560 ระดับที่ 2 (Process Indicator) ตัวชี้วัด ระดับยุทธศาสตร์

7 ดูประสิทธิผลของการคัดกรอง
ระดับเป้าประสงค์ ลำดับ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 1 ลดอัตราตาย อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 2 ลดอัตราป่วย สัดส่วนของผู้ป่วย มะเร็งเต้านม และ มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3 ลดระยะเวลาการรอคอย ร้อยละของผู้ป่วยที่มีระยะเวลาการรอคอยการรักษาด้วยรังสี ≤ 6 สัปดาห์ 4 สถานบริการสุขภาพได้ มาตรฐาน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานของสถานบริการสุขภาพในแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขามะเร็ง แต่ละระดับของโรงพยาบาล เป้าหมาย คือ ดูประสิทธิผลของการคัดกรอง

8 ยุทธศาสตร์ที่ 1 Primary Prevention
การป้องกันและการรณรงค์เพื่อลดความเสี่ยง จัดกิจกรรมตามแผน ร้อยละ 80

9 การตรวจคัดกรอง และ วินิจฉัยมะเร็งระยะต้น
ยุทธศาสตร์ที่ 2 Screening and Early Detection การตรวจคัดกรอง และ วินิจฉัยมะเร็งระยะต้น มะเร็งปากมดลูก 30-60 ปี ร้อยละ 80 มะเร็งเต้านม SBE ปีร้อยละ 80 CBE ปีร้อยละ 80

10 การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 Cancer Diagnosis การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง พยาธิแพทย์ Date_Obtained Date_Report 2 สัปดาห์ (จำนวน 14 วัน)

11 การดูแลรักษาโรคมะเร็ง
ยุทธศาสตร์ที่ 4 Cancer Treatment การดูแลรักษาโรคมะเร็ง รักษาโรคมะเร็ง ผ่าตัด ภายใน 4 wks. เคมี ภายใน 6 wks. รังสี ภายใน 6 wks.

12 การวินิจฉัยโรคมะเร็ง (Date.......) 2 weeks
รพ. .... การรักษาโรคมะเร็ง ผ่าตัด (Date ) 4 weeks รพ. .... 6 weeks การรักษาโรคมะเร็ง เคมีบำบัด (Date ) รพ. .... 6 weeks การรักษาโรคมะเร็ง รังสีรักษา (Date ) รพ. .... Service Plan มอง ผู้ป่วย เป็นคนๆ เดียว (ผู้ป่วยเป็นหลัก...Patient focus) การวินิจฉัยและรักษา เป็น บริการที่ผู้ให้บริการจะไม่แยกส่วนของหน่วยที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ มองภาพเดียวกัน คือ .....ผู้ป่วยพึงได้เข้าถึงบริการภายในเวลาที่ควรจะเป็น เพื่อลดความเสี่ยงต่อการลุกลามของโรคจากการรอคอย

13 การรักษาเพื่อประคับประคองผู้ป่วย
ยุทธศาสตร์ที่ 5 Palliative Care การรักษาเพื่อประคับประคองผู้ป่วย ร้อยละของผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้ รับการดูแลแบบประคับประคอง 2. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดการระบบสนับ สนุนการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ต้องมีแนวปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (ระยะท้าย) Home Care Unit Pain Clinic Strong Opioid Medication Palliative Care Unit ศูนย์มิตรภาพบำบัด ผู้ป่วยระยะท้าย หมายถึง ผู้ป่วยมะเร็งที่แพทย์ให้การวินิจฉัยเป็นระยะที่ 4 โรคมะเร็งมีการลุกลามไปอวัยวะสำคัญ การรักษาเป็นไปเพื่อการบรรเทาอาการปวดและอาการทุกข์ทรมาน และ การประเมิน PPS ≤ 30

14 Hospital Based Cancer Registry Population Based Cancer Registry
ยุทธศาสตร์ที่ 6 Cancer Informatics Hospital Based Cancer Registry Population Based Cancer Registry

15 การวิจัยด้านโรคมะเร็ง
ยุทธศาสตร์ที่ 7 Cancer Research การวิจัยด้านโรคมะเร็ง 1. มี Research Center อย่างน้อย 1 แห่ง/1 เขตบริการสุขภาพ (ปี 2560) 2. มีการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็ง ในกลุ่ม ดังต่อไปนี้ Basic Science /Apply Research, Epidemiology Research, Clinical Research, Complementary and Alternative Medicine (CAM) โดย มีงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง ต่อ 1 เขตบริการ ภายในปี 2558 2.2 มีงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่องต่อ 1 จังหวัด ภายในปี 2560

16 ตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์
ลดอัตราตาย (ตายจากมะเร็งตับ) ลดอัตราป่วย (ปากมดลูก เต้านม) ลดระยะเวลาการรอคอย (ระยะเวลาการรอคอยฉายแสง) สถานบริการสุขภาพได้มาตรฐาน มาตรฐานของกิจกรรม 4.2 สถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ 4.3 รับส่งต่อด้วยบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ

17 สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป

18 การดำเนินงาน เร่งรัดดำเนินการตรวจคัดกรอง - มะเร็งเต้านม และ มะเร็งปากมดลูก ให้ได้ตามเป้าหมาย 2. เปิดคลินิกให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ 1 ครั้ง/เดือน 3. CUP จัด โมบายไปให้บริการใน พื้นที่ รพ.สต. ทุกแห่งๆ ละ 1 ครั้ง/ 6 เดือน

19 การตรวจมะเร็งเต้านม 1. แผนภูมิการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
1. แผนภูมิการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 2. ระบบการส่งต่อมะเร็งเต้านมของสถานบริการสาธารณสุข 3. สรุปผลการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของสตรีกลุ่มเสี่ยงฯ - แบบ Breast 1 - แบบ Breast 2 แบบฟอร์มคัดกรองมะเร็งเต้านม ทะเบียนติดตามติดตามความก้าวหน้าการส่งต่อ วินิจฉัย และรักษา สตรีที่ตรวจมะเร็งเต้านมพบก้อน รายงานการติดตามความก้าวหน้าการส่งต่อ วินิจฉัย และรักษา สตรีที่ตรวจมะเร็งเต้านมพบก้อน และได้ตรวจ U/S , Mammogram ฯลฯ

20 การตรวจมะเร็งเต้านม ปี งบประมาณ 2559 การตรวจคัดกรองมะเร็ง
ปี งบประมาณ การตรวจคัดกรองมะเร็ง 1. การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม นโยบายผู้บริหารเขตบริการสุขภาพที่ 1 ให้ใช้แนวทาง โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ต้านภัยมะเร็งเต้านม มาเป็นแนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมสตรี 1. เจ้าหน้าที่ตรวจมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง 2. จนท. สอน อสม. ทุกคนให้ตรวจมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง 3. สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคนมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง

21 การตรวจมะเร็งเต้านม 4. จนท. ประเมินการตรวจมะเร็งเต้านม ของ อสม.ทุกคนทุกเดือน 5. อสม. ประเมินการตรวจมะเร็งเต้านม ของ สตรีทุกคนทุกเดือน 6. สตรีทุกคนมีสมุดประจำตัวคนละ 1 เล่ม และบันทึกการตรวจ มะเร็งเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน 7. บันทึกข้อมูลผลการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ลงใน โปรแกรม JHCIS และส่งให้ศูนย์อนามัยฯ ราชบุรี ทุกเดือน 8. ศูนย์อนามัยฯ ราชบุรี ตรวจสอบ วิเคราะห์ ประมวลผลงาน เสนอ เลขามูลนิธิถันยรักษ์ ทุกเดือน

22 การตรวจมะเร็งปากมดลูก
1. แบบฟอร์มคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 2. แบบรายงานผลการตรวจคัดกรอมะเร็งปากมดลูก 3. หากตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกพบความผิดปกติ ส่งต่อตาม ระบบ Refer 4. ทะเบียนติดตามติดตามความก้าวหน้าการส่งต่อ วินิจฉัย และรักษา สตรีที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกพบความผิดปกติ 5. รายงานการติดตามความก้าวหน้าการส่งต่อ วินิจฉัย และรักษา สตรีที่ ตรวจมะเร็งปากมดลูกพบความผิดปกติ และได้ตรวจ Cloposcope ฯลฯ

23 การดำเนินงาน 4. จัดทำทะเบียนการติดตามกรณีรายที่ตรวจพบความ ผิดปกติ ทั้งมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ให้ ครอบคลุมและอย่างมีคุณภาพ 5. บันทึกข้อมูลผลงานการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกลงในโปรแกรมให้ถูกต้อง ครบถ้วน ทั้งใน - JHCIS - CXS2010

24 การดำเนินงาน 6. การส่งข้อมูลรายงาน จาก โปรมแกรม
- JHCIS ส่ง ทุกเดือน ให้ งาน IT สสจ.ชม. - CXS2010 ส่ง ทุกเดือน ให้ งานมะเร็ง สสจ.ชม. 7. การส่งรายงานผลการดำเนินงาน ตามรายงานการตรวจ ราชการ ระดับอำเภอ/ตำบล ( แบบ ตก.1 ) ทุก (งวด)ไตรมาส - งวดที่ 1 ภายใน 30 ธันวาคม 2558 - งวดที่ 2 ภายใน 30 มีนาคม 2559 - งวดที่ 3 ภายใน 30 มิถุนายน 2559 - งวดที่ 4 ภายใน 30 กันยายน 2559

25 การดำเนินงาน 8. การประเมินผลสำเร็จการดำเนินงาน Small Success และระบบการ ติดตามงานมะเร็ง ทุก ๓ เดือน เปรียบเทียบกับเป้าหมาย ( Small Success ) แต่ละตัว 9. การส่งรายงานผลการดำเนินงาน ตามรายงานการตรวจ

26 2. โครงการแก้ไขปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงครองราชย์ ครบ 70 ปี และ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ 84 ปี - ดำเนินการใน 12 อำเภอ สันป่าตอง พร้าว แม่ริม ฮอด แม่อาย แม่แตง เชียงดาว ดอยสะเก็ด เมืองเชียงใหม่ สันกำแพง สารภี สันทราย - คพสอ. ดำเนินการ คัดกรองสัมภาษณ์ฯ กลุ่มเป้าหมาย อำเภอละ คน

27 การตรวจพยาธิใบไม้ตับมะเร็งท่อน้ำดี
กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ที่มีอายุ ตั้งแต่ ๔๐ ปีขึ้นไป และมีความเสี่ยง ๔ ด้าน คือ - มีประวัติติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ - เคยกินยาฆ่าพยาธิใบไม้ตับ - มีประวัติการกินปลาน้ำจืดที่มีเกล็ดสุกๆดิบๆ - มีญาติสายตรงเป็นมะเร็งท่อน้ำดี การสัมภาษณ์ มี - แบบสัมภาษณ์ ใบยินยอม -ใบบัตร เพื่อรับบริการ ส่งสรุปรายชื่อผู้ที่ได้รับการสัมภาษณ์ ให้ สสจ.ชม. ภายใน 20 กพ.59 ประชุมวางแผนเพื่อตรวจ ultrasound ในวันที่ 2 มีค. 59 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานเขตสุขภาพที่ 1 ดำเนินการ ultrasound ให้ เสร็จ ภายใน 31 พค. 59

28 3. โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
- ดำเนินการ ใน อำเภอแม่ริม คน โดย รพ.นครพิงค์ - ดำเนินการ ให้ เสร็จ ภายใน 30 เม.ย. 59

29 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาการดำเนินงานมะเร็ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google