ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยจุลภาส เก่งงาน ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี โครงการสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ (ลูกไก่) เครือข่ายมหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัศรเบศวณ์ เวชวิริยะสกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
2
(Research & Development)
การวิจัยและพัฒนา (Research & Development) R & D
3
เนื้อหาการบรรยาย ความหมาย R & D ขั้นตอนของ R & D
4
การวิจัยและพัฒนา Research and Development เรียกย่อว่า R & D หมายถึงเป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้า คิดค้น อย่างเป็นระบบและ น่าเชื่อถือ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาผลผลิต เทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์ สื่อ อุปกรณ์ เทคนิควิธีหรือรูปแบบการทำงาน ระบบบริหารจัดการ หรือ “นวัตกรรม” และทดลองใช้จนได้ผลเป็น ที่น่าพอใจ แล้วจึงนาไปเผยแพร่เพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น
5
ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา
1. การสำรวจสภาพปัญหา และความต้องการ……. 2. ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา 3. การออกแบบ/สร้าง/เลือกวิธีการ รูปแบบหรือนวัตกรรมเพื่อ แก้ปัญหา/พัฒนา 4. ทดลองใช้และปรับปรุง หรือตรวจสอบ (อาจทดลองมาก กว่า 1 ครั้ง) 5. ประเมินผลการทดลองใช้ หรือผลการตรวจสอบ (วิเคราะห์ข้อมูล) 6. สรุปผล 7. เขียนรายงานการวิจัย 8. เผยแพร่
6
การวิจัย (Research) การพัฒนา (Development)
การสำรวจ วิเคราะห์ สภาพปัญหา และความต้องการ การวิจัย (Research) การออกแบบ/สร้าง/เลือกวิธีการ รูปแบบหรือนวัตกรรม การพัฒนา (Development) ทดลองใช้และปรับปรุง ประเมินผลการทดลองใช้ หรือผลการตรวจสอบนวัตกรรม สรุปผล เขียนรายงานและเผยแพร่
7
ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา
1.สิ่งประดิษฐ์ / สื่อ / อุปกรณ์ / ชิ้นงาน 2.การพัฒนาเทคนิควิธี / รูปแบบการทางาน/บริหารจัดการ /แนวทาง พัฒนานวัตกรรม(Innovation) ทดลองใช้ ประเมินปรับปรุง เผยแพร่
8
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ในงานวิจัยและพัฒนา
ในงานวิจัยและพัฒนา ตัวแปรต้น (Independent Variable) คือ สิ่งประดิษฐ์ / สื่อ / อุปกรณ์ / ชิ้นงาน /การพัฒนาเทคนิควิธี / รูปแบบการทำงาน/การบริหารจัดการ /แนวทาง ฯลฯ ที่นักวิจัย ทำกับกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ตัวแปร ที่เป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากการทดลอง เช่น ความรู้ ความพอใจ เจตคติ ทักษะ หรือสภาพการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เป็นต้น
9
การเขียนรายงานผลการวิจัยและพัฒนา
มีจุดเน้นที่ต้องระบุไว้ คือ 1. กระบวนการในการพัฒนา 2. ลักษณะของนวัตกรรม(สื่อ / สิ่งประดิษฐ์ / เทคนิควิธี / รูปแบบการทำงาน) 3. ผลของการใช้นวัตกรรม (สื่อ / สิ่งประดิษฐ์ / เทคนิค วิธี / รูปแบบการทำงาน) 4/8/2019
10
ชื่อเรื่องการวิจัยและพัฒนา
ถ้าเป็นสิ่งประดิษฐ์/สื่อ / อุปกรณ์/ชิ้นงาน ชื่อเรื่องอาจขึ้นต้นด้วย การพัฒนา การสร้างและพัฒนา การวิจัยและพัฒนา
11
ชื่อเรื่องการวิจัยและพัฒนา
ถ้าเป็นการพัฒนาเทคนิควิธี / รูปแบบการทำงาน/ การบริหารจัดการ /แนวทาง ชื่อเรื่องอาจขึ้นต้นด้วย รูปแบบ แนวทางการ การเปรียบเทียบผลการใช้สื่อหรือรูปแบบ การทำงาน ที่คิดขึ้นใหม่กับรูปแบบเดิม
12
ตัวอย่างชื่อเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนในการบริหารโครงการฝึกอบรม รูปแบบการปลูกจิตสานึก “จิตบริการ” ของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง “การพัฒนาสมรรถนะในการทำงาน ของคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ” แนวทางการสร้างมาตรฐานการบันทึกการฝึกงานของนักศึกษา คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร การวิจัยและพัฒนารูปแบบในการกิจกรรมสาหรับนักศึกษา การพัฒนาคู่มือการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบล......
13
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR)
14
เนื้อหาการบรรยาย แนวคิดพื้นฐานของ PAR หลักการของ PAR
15
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR)
Participatory + Action + Research การมีส่วนร่วม + การปฏิบัติ + การแสวงหาความรู้ 4/8/2019
16
ที่มา: (ชอบ เข็มกลัด และ โกวิทย์ พวงงาม, 2547, หน้า 6)
17
ที่มา (ชอบ เข็มกลัด และ โกวิทย์ พวงงาม, 2547, หน้า 7)
18
PAR คืออะไร ???????????? สุภางค์ จันทวานิช(2547 : 67) ได้ให้ความหมายการวิจัย ปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม(PAR) ดังนี้ PAR หมายถึง วิธีการที่ให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมวิจัย เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมอย่าง แข็งขันจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่การกำหนดปัญหา การ ดำเนินการวิจัย การวิเคราะห์และการแก้ปัญหาหรือส่งเสริม กิจกรรม
19
แนวคิดพื้นฐานของ PAR 2. เชื่อว่าทุกคนมีศักยภาพที่จะร่วมกันเรียนรู้
1. เป็นกระบวนการที่ไม่หยุดนิ่ง 2. เชื่อว่าทุกคนมีศักยภาพที่จะร่วมกันเรียนรู้ 3. เริ่มจากความรู้สึกของคนที่มีต่อปัญหา 4. กระบวนการวิจัยต้องทำอย่างต่อเนื่อง
20
ลักษณะของ PAR 1.ชุมชนเข้ามาเป็นนักวิจัยร่วม 2. มีส่วนร่วมกว้างขึ้น ตั้งแต่วิเคราะห์ปัญหา วางแผน ปฏิบัติ และติดตามประเมินผล 3. การสร้างองค์ความรู้ - ผสมผสานทฤษฎีและการปฏิบัติ
21
ลักษณะของ PAR 4. การเป็นประชาธิปไตย - ลดการพึ่งพิงจากภายนอก - ชุมชนตัดสินใจร่วมกัน 5. ความรู้ที่ได้จากการลงมือปฏิบัติ - พัฒนาอย่างต่อเนื่อง - ไม่ยึดติดกรอบเดิม ทฤษฎีเดิม ข้อสรุปเดิม
22
แบบจำลองของกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
Stringer’s action research (1999)
23
คำถาม ชาวบ้านได้ร่วมศึกษาสถานการณ์ไหม ???
ทำตามความต้องการของใคร? ผู้นำ /นักพัฒนา ได้ร่วมกันคิดวิเคราะห์หาทางออกไหม??? เน้นแต่กิจกรรมหรือไม่? ทุกฝ่ายได้รับผลมีความสุขร่วมกันไหม??? ไปขยายผลและเป็นบทเรียนแก่ที่อื่นหรือไหม? คำถาม เป้าหมายชัดไหม? เป็นระบบต่อเนื่องไหม? ได้ยกระดับเป็นองค์ความรู้หรือไม่? แก้ปัญหาก่อให้ เกิดการพัฒนาที่แท้จริงไหม? ได้กำหนด วางแผนและมีการทำงานร่วมกันไหม??? ชาวบ้าน มีศักยภาพ เพิ่มขึ้นไหม? ได้ร่วมกันติดตาม ประเมิน สรุปผลกันไหม???
24
P A R กระบวนการ กระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการวิจัย พัฒนาของทุกฝ่าย
ตัดสินใจอะไรเป็นปัญหา ต้องการทำอะไร แก้ปัญหาอย่างไร ลงมือทำ ประเมิน สรุป รับผล กำหนดปัญหา ทบทวนข้อมูล ออกแบบ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป เสนอแนะ รายงาน ปฏิบัติการจริง ปัญหาเริ่ม จากชุมชน/องค์กร แก้ไข โดยชุมชน/องค์กร วิเคราะห์ โดยชุมชน/องค์กร
25
การมีส่วนร่วม การให้ความร่วมมือ
ใครคิด ใครตัดสินใจ ใครทำ การให้ความร่วมมือ แค่ไหน ระดับใด อย่างไร
26
ความสัมพันธ์ของทีม 3 ฝ่าย
ส่วนกลาง ท้องถิ่น คนในชุมชน ท้องถิ่น คนในชุมชน ส่วนกลาง หลังทำวิจัย ก่อนทำวิจัย แสวงหาความจริง มุ่งแก้ปัญหา การเรียนรู้ แสวงหาความจริง แก้ปัญหา การเรียนรู้
27
เทคนิค/เครื่องมือในการทำ PAR
1.เทคนิคการสร้างเครือข่ายและความสัมพันธ์กับชุมชน - การสร้างเครือข่ายเพื่อการวิจัย - การพัฒนาความสัมพันธ์ - การเรียนรู้ร่วมกัน
28
เทคนิคและเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลจากชุมชน
เทคนิค A-I-C (Appreciation Influence Control) เทคนิค Mind Map ประเด็นหลัก/รอง เทคนิคการจัดเวทีประชาคม คนที่มีปัญหาเหมือนกันมาร่วมกัน คิดหาแนวทางร่วมกัน เทคนิค SWOT บริหารจัดการเชิงกลยุทธ์
29
การตั้งคำถามกระตุ้น เพื่อให้เกิดพลัง (powerful questions)
เครื่องมือที่สำคัญ การตั้งคำถามกระตุ้น เพื่อให้เกิดพลัง (powerful questions)
30
กระบวนการวิจัยแบบ PAR
1. ขั้นเตรียมการ ประสานพื้นที่ 2. ขั้นใส่ใจกระบวนการชุมชนเพื่อรับทราบ ปัญหาและความต้องการของชุมชน 3. ขั้นแก้ปัญหาชุมชน มุ่งปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลการพัฒนา
31
ขั้นเตรียมการ ประสานชุมชนเพื่อคัดเลือกชุมชน
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน
32
ขั้นดำเนินการทำวิจัย
ศึกษา/วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับชุมชน กำหนดปัญหา ร่วมกันออกแบบการวิจัย รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เสนอผลต่อชุมชน
33
ขั้นการพัฒนา “มุ่งแก้ปัญหาชุมชน”
การวางแผนพัฒนา การปฏิบัติตามแผน อบรมผู้ปฏิบัติงาน การติดตามและประเมินผล
34
การวิเคราะห์ข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูลทางกายภาพ
(จากการสังเกต จากปรากฏการณ์ จากการบันทึก) การวิเคราะห์เนื้อหา
35
ประโยชน์ของ PAR 1. ชาวบ้านสามารถคิดวิเคราะห์ได้ถูกต้อง มีความเชื่อมั่น ที่จะให้ความร่วมมือ เกิดประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน 2. ปัญหาในชุมชนได้รับการแก้ไข 3. ผู้วิจัยได้เรียนรู้จากชุมชน เข้าใจ และเกิดแนวคิดในการพัฒนา 4. ผลงานวิจัยนำมาใช้ประโยชน์ได้ทันที
36
ตัวอย่างแนวทางการจัดการป่าชายเลนแบบมีส่วนร่วม
เป็นปัญหาในพื้นที่หรือไม่ แก้ปัญหาหรือไม่ ใครมีส่วนร่วมบ้าง ผลที่ได้เป็นอย่างไร
37
ป่าชายเลนแบบมีส่วนร่วม
ชุมชน อุปสรรค อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใช้ประโยชน์ แนวทางการจัดการ ป่าชายเลนแบบมีส่วนร่วม ชาวประมง ชุมชน ทรัพยากร อื่น ๆ ผลการ จัดการ รัฐ เอกชน ปัจจัย หนุน องค์การท้องถิ่น
38
การพัฒนาคนผ่านกระบวนการเรียนรู้
หัวใจของ PAR คือ การพัฒนาคนผ่านกระบวนการเรียนรู้ ด้วยการลงมือทำ
39
ชื่อเรื่องงานวิจัย PAR
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา การดื่มสุราในชุมชนหมู่บ้านหนองเต่าคำใหม่ ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ (สุพิมล ขอผล, 2557) การพัฒนารูปแบบการเยียวยาชุมชนสัมพันธ์ด้วยวิธีการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนบ้านท่าน้ำ(ดร.ชวลิต เกิดทิพย์ นายอธิชา สมมาตร และ นายสมบูรณ์ พันธ์ยูโส๊ะ , 2550) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งการ เรียนรู้ของโรงเรียนสุมานัน จังหวัดสมุทรปราการ (เอกพล สุมานันทกุล, 2555)
40
การวิจัยเชิงผสานวิธี (Mixed Methods Research)
41
“การวิจัยเชิงผสานวิธี (Mixed Methods Research)
หมายถึง การรวมการวิจัยสองรูปแบบ คือเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) และเชิงปริมาณ (Quantitative Method) เข้าด้วยกัน โดย ไม่เพียงแต่เทคนิคการวิจัยที่ต้องมีทั้งสองรูปแบบเท่านั้น แต่ต้องมีการผสมผสานทางใดทางหนึ่ง ในกระบวนการวิจัย (Ceswell & Plano, 2007)
42
รูปแบบการวิจัยเชิงผสานวิธี
การวิจัยแบบผสมผสานแบ่งออกได้ตามเวลาการดำเนินการวิจัยและความสำคัญ ของการวิจัยแต่ละวิธี เป็น 6 รูปแบบใหญ่ได้แก่ 1. การวิจัยแบบพร้อมกัน (Convergent Parallel Design) 2. การวิจัยแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย (Explanatory Sequential Design) 3. การวิจัยแบบขั้นตอนเชิงสารวจ (Exploratory Sequential Design) 4. การวิจัยแบบรองรับภายใน (Embedded Design) 5. การวิจัยแบบปฏิรูป (Transformative Design) 6. การวิจัยแบบหลายช่วง (Multi-phase Design)
43
การวิจัยแบบพร้อมกัน (Convergent Parallel Design)
44
การวิจัยแบบขั้นตอนเชิงอธิบาย (Explanatory Sequential Design)
เป็นการวิจัยที่แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ช่วงแรกเป็นการวิจัยหลัก เป็นการวิจัยเชิงปริมาณก่อน เพื่อตอบปัญหาการวิจัย และ ต่อด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อช่วยในการอธิบายผลให้ กระจ่างยิ่งขึ้น ดังภาพ b
45
การวิจัยแบบขั้นตอนเชิงสำรวจ (Exploratory Sequential Design)
เป็นการวิจัยที่แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ช่วงแรกเป็นการวิจัยหลักเพื่อ สารวจข้อมูลโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ และนาผลมาต่อด้วย ด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อยืนยันและสามารถนาผลไปใช้ในวง กว้างได้ ดังแสดงในภาพ c
46
การวิจัยแบบรองรับภายใน (Embedded Design)
47
“การวิจัยแบบปฏิรูป (Transformative Design)”
4/8/2019
48
การวิจัยแบบหลายช่วง (Multi-phase Design)
เป็นการวิจัยที่มีหลายช่วงหลายรูปแบบ อาจมีทั้งแบบเป็น ขั้นตอนและแบบพร้อมกัน เพื่อตอบปัญหาการวิจัยอย่างเป็น ระบบสาหรับโครงการวิจัยขนาดใหญ่ อาจต้องอาศัยการทางาน ร่วมกันของนักวิจัยเป็นกลุ่มใหญ่ ดังแสดงตัวอย่างในภาพ f
49
ช่วงเวลาและวิธีการผสมการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ (Mixing)
ผสมในช่วงการแปลผล โดยการนาผลที่วิเคราะห์ได้มาสนับสนุน อธิบายความ หรือ ผนวกกัน ผสมในช่วงการวิเคราะห์ผล นักวิจัยสามารถนาผลของการวิจัยทั้งสอง รูปแบบมาวิเคราะห์ผลด้วยกัน หรือเปรียบเทียบกันเพื่อวิเคราะห์ ผสมในช่วงการเก็บข้อมูล เป็นการใช้ผลจากการวิจัยหนึ่งมาส่งผลต่อ การเก็บข้อมูลของการวิจัยต่อมา ไม่ว่าจะเป็นการตั้งปัญหาการวิจัย การเลือกผู้เข้าร่วมการวิจัย และการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล ผสมในช่วงการออกแบบการวิจัย เป็นการผสมการวิจัยเพื่อใช้ออกแบบ การวิจัยขนาดใหญ่ เช่น การใช้การวิจัยเชิงคุณภาพผสมเพื่อออกแบบ การวิจัยเชิงปริมาณรูปแบบทดลอง เป็นต้น
50
คำถาม????
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.