ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle”
เอกสารประกอบการอบรม การสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Moodle” สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
2
ลำดับเนื้อหา การเข้าสู่ระบบ e-Learning การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา
3. การจัดการหัวข้อบทเรียน 4. การเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน 4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube 4.3 การเพิ่มแบบฝึกหัด 4.4 การเพิ่มข้อสอบและคลังข้อสอบ 4.5 การสร้างชุดข้อสอบสำหรับเก็บคะแนน 5. การกำหนดรหัสผ่านเพื่อเข้าสู่รายวิชา
3
1. การเข้าสู่ระบบ
4
คณาจารย์เข้าสู่ระบบผ่านเว็บไซต์ e-Learning ของคณะ
คณะครุศาสตร์ edu-elearning.bsru.ac.th คณะวิทยาการจัดการ ms-elearning.bsru.ac.th คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ hu-elearning.bsru.ac.th คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี sci-elearning.bsru.ac.th วิทยาลัยการดนตรี music-elearning.bsru.ac.th โรงเรียนมัธยมสาธิตฯ mattayom-elearning.bsru.ac.th
5
เข้าเว็บไซต์ e-learning ของคณะฯ
2. กรอก Account เพื่อเข้าสู่ระบบ
6
หน้าเว็บไซต์ e-Learning
คลิกที่หน้าแรกของเว็บไซต์
7
หน้าเว็บไซต์ e-Learning
รายชื่อวิชาที่เปิดสอน คลิกเลือกรายวิชาที่ท่านสอน
8
หน้าเว็บไซต์ e-Learning
หน้าการจัดการเนื้อหารายวิชา
9
2. การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา
10
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา
เช่น ภาพผู้สอน ชื่อสาขาวิชาที่สังกัด เบอร์โทรศัพท์ อีเมล์ ไลน์ไอดี เฟสบุ๊ค ฯลฯ
11
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
1) คลิกเริ่มการแก้ไขหน้านี้ คลิก “เริ่มการแก้ไขหน้านี้” เลื่อนหน้าจอลงด้านล่าง ที่มุมขวาล่างจะปรากฏ “เพิ่มบล็อก”
12
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
คลิก “เพิ่ม” > เลือก “HTML” ปรากฏ (บล็อค HTML) 2)
13
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
ทำการเลื่อน “(บล็อก HTML)” ขึ้นด้านบนของเพจ โดยคลิกที่ ค้างไว้ แล้วลาก เมาส์ขึ้น 3) 4) บล็อก HTML ที่ถูกเลื่อนขึ้นด้านบน
14
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
การเพิ่มข้อมูลผู้สอน คลิกรูป “ฟันเฟือง” ของ (บล็อค HTML) เลือก Configure (บล็อค HTML)
15
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
1) กำหนดชื่อหัวข้อบล็อค 2) แทรกภาพผู้สอน
16
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
3) คลิกปุ่ม “Browse..” 4) เลือก Upload a file.”
17
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
5) เลือก Choose file.”
18
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
ปรับขนาดภาพ 100 x 100
19
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
กรอกข้อมูลเพิ่มเติมและคลิกปุ่ม
20
การเพิ่มข้อมูลผู้สอนในรายวิชา (ต่อ)
ข้อมูลผู้สอนที่ถูกสร้างเรียบร้อยแล้ว
21
3. การจัดการหัวข้อบทเรียน
22
การจัดการหัวข้อบทเรียน
พื้นที่การจัดการหัวข้อบทเรียน
23
1) คลิกเพื่อแก้ไขหัวข้อบทเรียน
การจัดการหัวข้อบทเรียน (ต่อ) เข้าสู่การจัดการหัวข้อบทเรียนและเนื้อหาของบทเรียน โดยคลิกปุ่ม “ ” หน้าบทเรียนที่พร้อมสำหรับการแก้ไข 1) คลิกเพื่อแก้ไขหัวข้อบทเรียน
24
การจัดการหัวข้อบทเรียน (ต่อ)
การแก้ไขชื่อหัวข้อบทเรียน สามารถทำตามลำดับ ดังนี้ 1 คลิกที่ข้อความ “หัวข้อ..” 2 พิมพ์ชื่อหัวข้อ 3 กดปุ่ม
25
การจัดการหัวข้อบทเรียน (ต่อ)
ตัวอย่างบทเรียนที่เปลี่ยนชื่อหัวข้อมเรียบร้อยแล้ว
26
4. การเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้
27
การเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้
ตัวอย่างเนื้อหาบทเรียนที่สร้างด้วย Moodle ข้อความ
28
การเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้
ตัวอย่างเนื้อหาบทเรียนที่สร้างด้วย Moodle แทรกไฟล์เอกสาร pdf,docx,pttx youtube
29
การเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้
ตัวอย่างเนื้อหาบทเรียนที่สร้างด้วย Moodle การทำชุดข้อสอบ
30
4.1 การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน
31
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน
การสร้างเนื้อหาใน e-Leaning นั้น มีข้อดีคือ สามารถตรวจสอบได้ ว่าผู้เรียนได้เข้าไปศึกษาในหัวข้อบทเรียนนั้น ๆ แล้วหรือไม่ โดยมีการแสดงสถานะท้ายหัวข้อย่อยภายในบทเรียนนั้น ๆ เช่น ผู้สอนกำหนดให้ผู้เรียนศึกษาวิดีโอ เมื่อผู้เรียนได้เข้าไปศึกษาแล้วจะมีสถานะ ที่ท้ายหัวข้อย่อยทันที
32
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน (ต่อ)
ตัวอย่างของสถานะการเรียนของผู้เรียน สถานะการเรียนรู้ของผู้เรียน
33
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน (ต่อ)
การเพิ่มไฟล์เอกสารทุกชนิด ทั้ง pdf, word, powerPoint, excel สามารถทำได้ดังนี้ 1. ไปที่หัวข้อบทเรียนที่ต้องการเพิ่มไฟล์เอกสาร 2. คลิก “+เพิ่มกิจกรรมหรือแหล่งข้อมูล”
34
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน (ต่อ)
ปรากฏหน้าต่าง “เพิ่ม กิจกรรมหรือแหล่งข้อมูล” เลือก
35
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน (ต่อ)
ปรากฏหน้าต่างการเพิ่มไฟล์เอกสาร คลิกปุ่มเพิ่ม
36
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน (ต่อ)
ขั้นตอนการเพิ่มไฟล์เอกสาร มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. กรอกชื่อหัวข้อเอกสารที่ต้องการให้ปรากฏบนหน้าบทเรียน 2. กรอกคำอธิบายเอกสาร เช่น ให้ผู้ศึกษาเอกสารและสรุปตามความเข้าใจ 3. คลิกเลือกไฟล์เอกสารที่ต้องการ
37
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่บทเรียน (ต่อ)
ตัวอย่างการเพิ่มไฟล์เอกสาร
38
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าสู่หัวข้อบทเรียน (ต่อ)
การกำหนดให้มีเครื่องหมาย เมื่อผู้เรียนศึกษาหัวข้อจบ 1. คลิก Activity completion 2. เลือก Show activity as compete when condition are met
39
การเพิ่มไฟล์เอกสารเข้าข้อบทเรียน (ต่อ)
กำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว ให้คลิกปุ่ม คลิก ตัวอย่างการเพิ่มเอกสาร pdf
40
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก Youtube
41
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube
42
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
43
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
เลือก
44
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
1. กรอกชื่อหัวข้อคลิปที่ต้องการให้ปรากฏบนหน้าบทเรียน
45
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
มาแทรกในบทเรียน 3. คลิปปุ่ม “แชร์”
46
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
4. เลือก “ฝัง”
47
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
5. คลิก “คัดลอก”
48
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
6. คลิก “Show more buttons”
49
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
6. คลิก “HTML” 8. กดซ้ำอีกครั้งเพื่อเสร็จสิ้นการแทรกโค้ด 7. วางโค้ดที่คัดลอก
50
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
ผลลัพธ์การแทรกวิดีโอ กำหนดให้แสดงเครื่องหมายถูกเมื่อผู้เรียนศึกษาบทเรียนแล้ว
51
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
ตัวอย่างคลิปวิดีโอประกอบบทเรียน
52
กรณีต้องการให้แสดงคลิปวิดีโอในหน้าเนื้อหาบทเรียน
53
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
จากกรณีศึกษาก่อนหน้า จะเป็นการแทรกคลิปวิดีโอที่จะแสดงผลเมื่อผู้เรียนกดคลิกไปยังหัวข้อ บทเรียน ซึ่งจะไม่แสดงคลิปวิดีโอในหน้าบทเรียน ดังนั้นหากผู้สอนต้องการให้เกิดการแสดงคลิปในหน้าหลักของรายวิชา สามารถดำเนินการดังนี้
54
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
คลิก “แก้ไข” และเลือก “การตั้งค่า”
55
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
นำลิงค์ของคลิปมากรอกลงใน คำอธิบายรายวิชา 1) คลิก คลิก “Show more buttons” 2. คลิก “HTML” 3. วางโค้ดที่คัดลอก 4. คลิกเครื่องหมาย / “แสดงคำอธิบายในหน้ารายวิชา”
56
4.2 การเพิ่มวีดีโอจาก YouTube (ต่อ)
ตัวอย่างคลิปวิดีโอที่แสดงบนหน้าหลักของรายวิชา
57
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด
58
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดที่สร้างด้วย Moodle นั้นมีข้อดี คือ
สามารถกำหนดวันส่งชิ้นงานที่ชัดเจน หากพ้นกำหนดผู้เรียนไม่สามารถ ส่งชิ้นงานได้อีก ผู้เรียนส่งชิ้นงานเป็นไฟล์เอกสารกได้
59
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
คลิก “+เพิ่มกิจกรรมหรือแหล่งข้อมูล”
60
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
เลือก คลิกปุ่ม “เพิ่ม”
61
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
หน้าต่างสร้างแบบฝึกหัด
62
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
1. กรอกชื่อแบบฝึกหัดที่ต้องการ 2. กรอกรายละเอียดแบบฝึกหัด 3. คลิกเลือกไฟล์แบบฝึกหัดที่ต้องการ
63
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ไฟล์แบบฝึกหัดที่นักศึกษาสามารถดาวน์โหลด
64
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
การกำหนดเวลาส่งแบบฝึกหัด คลิกเปิดใช้งาน “Allow submissions from” และ “กำหนดส่ง” 2. กำหนดวันที่เริ่มต้นการทำแบบฝึกหัด และวันที่สิ้นสุดการส่ง
65
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัดใน มุมมองผู้เรียน ผู้เรียนสามารถดาวน์โหลดแบบฝึกหัดได้จากไฟล์เอกสารแนบ ผู้เรียนกดปุ่ม Add submission เพื่อส่งการบ้านกลับมายังผู้สอน
66
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัด มุมมองผู้สอน ผู้สอนสามารถคลิกปุ่ม View all submissions เพื่อดูแบบฝึคหัดที่ผู้เรียนส่ง
67
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัด มุมมองผู้สอน รายชื่อผู้เรียนทั้งหมดในชั้นเรียน
68
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัด มุมมองผู้สอน ถ้ามีนักศึกษาจำนวนมาก สามารถเลือกตรวจเฉพาะคนที่ส่งแล้ว โดยการกรองโดยเลือก “ทำการส่งเรียบร้อยแล้ว”
69
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัด มุมมองผู้สอน ตัวอย่างนักศึกษาที่ส่งการบ้านแล้ว
70
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัด มุมมองผู้สอน บันทึกคะแนนโดยคลิก “คะแนนที่ได้” ของผู้เรียนนั้น ๆ
71
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัด มุมมองผู้สอน กรอกคะแนน คลิกปุ่มบันทึก
72
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
ตัวอย่างแบบฝึกหัด มุมมองผู้เรียน ในมุมมองผู้เรียน ถ้าผู้สอนตรวจงานเรียบร้อยแล้ว ผู้เรียนสามารถเห็นคะแนนที่ได้รับ จากการทำแบบฝึกหัด
73
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
Trick ในกรณีที่มีผู้เรียนหลายหมู่เรียน ผู้สอนสามารถทำสำเนาแบบฝึกหัด เพื่อแยกหมู่เรียนซึ่งสะดวกต่อการตรวจและให้คะแนนในภายหลัง
74
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
วิการทำซ้ำแบบฝึกหัดออกเป็นหลายชุด คลิก “แก้ไข” ท้ายแบบฝึกหัดที่ต้องการทำซ้ำ (แบบฝึกหัดชุดนั้นควรเป็นแบบฝึกหัดชุดที่มีการเพิ่มไฟล์และกำหนดวันสิ้นสุดการส่งเรียบร้อยแล้ว) เลือก “ทำซ้ำ”
75
4.3 การสร้างแบบฝึกหัด (ต่อ)
วิการทำซ้ำแบบฝึกหัดออกเป็นหลายชุด 3. ตั้งชื่อแบบฝึกหัดตามหมู่เรียนที่ต้องการและกดปุ่ม ตัวอย่างชุดแบบฝึกหัดที่แยกหมู่เรียน ผู้สอนต้องกำชับให้ผู้เรียนเข้าทำแบบฝึกหัดตามหมู่เรียนที่ตนลงทะเบียน
76
4.4 การเพิ่มข้อสอบและคลังข้อสอบ
77
4.3 การเพิ่มข้อสอบและคลังข้อสอบ
Moodle สามาถรเพิ่มข้อสอบได้ทั้งแบบปรนัย อัตนัย ถูกผิด จับคู่ ฯลฯ ตามความต้องการของผู้สอน สามารถสร้างข้อสอบเก็บไว้ในคลังข้อสอบและเลือกข้อสอบ เฉพาะข้อที่ต้องการขึ้นมาใช้งาน การทำแบบทดสอบต่าง ๆ ด้วย Moodle ผู้เรียนจะ ทราบผลคะแนนของตนเองทันที สามารถกำหนดรหัสชุดผ่านชุดข้อสอบสำหรับผู้เรียน แต่ละหมู่เรียนได้ เพื่อป้องกันการเข้าถึงข้อสอบของ นักศึกษาที่ไม่ต้องการให้ทำข้อสอบ ตัวอย่างข้อสอบที่ สามารถสร้างด้วย Moodle
78
4.3 การเพิ่มข้อสอบและคลังข้อสอบ (ต่อ)
การเพิ่มข้อสอบด้วย Moodle สามารถทำได้ 2 วิธี ดังนี้ 1. การเพิ่มด้วยเครื่องมือของ Moodle 2. การเพิ่มในรูปแบบ text file แบบ gift format
79
4.3 การเพิ่มข้อสอบและคลังข้อสอบ (ต่อ)
ขั้นตอนการเพิ่มข้อสอบในคลังข้อสอบ ไปที่เมนู จัดการระบบ ที่มุมล่างซ้ายของหน้าจอ เลือก Question Bank Trick ก่อนการสร้างชุดข้อสอบในหน้าบทเรียน ผู้สอนควรสร้างคลังข้อสอบเก็บไว้ก่อน ซึ่งข้อสอบในคลังสามารถเรียกขึ้นมาใช้งานในภายหลังกี่ครั้งก็ได้
80
4.3 การเพิ่มข้อสอบและคลังข้อสอบ (ต่อ)
สร้างข้อคำถามทีละข้อด้วย Moodle 4.3 การเพิ่มข้อสอบและคลังข้อสอบ (ต่อ) สร้างประเภทของข้อคำถาม เช่น บทที่1 บทที่2 เพื่อแยกข้อคำถามแต่ละข้อตามบทเรียน นำเข้าไฟล์ gift format ที่สร้างไว้ใน Notepad ส่งออกข้อสอบ กรณีที่ต้องการเก็บสำเนาข้อสอบทั้งหมดไว้
81
4.4.1 การจัดหมวดหมู่ข้อคำถาม
82
4.4.1 การจัดหมวดหมู่ข้อคำถาม
การกำหนดประเภทของข้อคำถาม เป็นการจัดชุดข้อคำถามให้เป็นหมวดหมู่เพื่อสะดวกต่อการเรียกใช้ เช่น การแยกข้อคำถามตามบทเรียนแต่ละบท เป็นต้น ซึ่งผู้สอนอาจจะจัดหรือไม่จัดหมวดหมู่ข้อคำถามก้ได้ ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้สอน ข้อดีของการจัดหมวดหมู่ข้อคำถาม คือ สามารถใช้ข้อคำถามในการทำแบบทดสอบท้ายบทเรียนได้สะดวกขึ้น เพราะข้อสอบจะถูกแยกตามบทเรียนไว้แล้ว
83
4.4.1 การจัดหมวดหมู่ข้อคำถาม
วิธีการสร้างหมวดหมู่ข้อคำถาม 1) เลือก “ประเภท” 2) พิมพ์ชื่อหมวดหมู่ 3) คลิก Add category
84
4.4.1 การจัดหมวดหมู่ข้อคำถาม
วิธีการสร้างหมวดหมู่ข้อคำถาม หมวดหมู่ข้อคำถามที่ถูกสร้างเรียบร้อยแล้ว
85
4.4.2 วิธีการเพิ่มข้อคำถาม
ด้วยเครื่องมือของMoodle
86
4.4.2 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วยเครื่องมือของMoodle
1) เลือก “Questions” 2) เลือก หมวดหมู่คลังข้อสอบกก 3) คลิก “Create a new question…”
87
4.4.2 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วยเครื่องมือของMoodle
4) เลือกรูปแบบข้อสอบ ในที่นี้เลือกแบบ “ปรนัย”
88
4.4.2 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วยเครื่องมือของMoodle
5) กรอกชื่อข้อคำถาม (อาจเป็นวัตถุประสงค์ของบทเรียน) 6) กรอกข้อคำถาม 7) กำหนดคะแนน เมื่อผู้ตอบตอบถูก
89
4.4.2 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วยเครื่องมือของMoodle
ตัวอย่าง
90
4.4.2 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วยเครื่องมือของMoodle
กรอกคำตอบของข้อคำถาม คำตอบ คะแนนเมื่อคำตอบนี้เป็นคำตอบที่ถูก ถ้าคำตอบผิด ไม่ต้องกำหนดคะแนน
91
4.4.2 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วยเครื่องมือของMoodle
ตัวอย่างข้อคำถามที่สร้างเรียบร้อยแล้ว แก้ไขข้อคำถาม ทำสำเนา ข้อคำถาม ดูตัวอย่าง ข้อคำถาม ลบ ข้อคำถาม
92
4.4.2 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วยเครื่องมือของMoodle
ตัวอย่างข้อคำถามที่สร้างเรียบร้อยแล้ว แก้ไขข้อคำถาม ทำสำเนา ข้อคำถาม ดูตัวอย่าง ข้อคำถาม ลบ ข้อคำถาม
93
4.4.3 วิธีการเพิ่มข้อคำถาม
ด้วย Text file รูปแบบ gift format
94
4.4.3 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วย Text file รูปแบบ gift format
การเพิ่มข้อคำถามด้วยรูปแบบ Gift Format นั้นช่วยให้ผู้สอนสามารถสร้าง คลังข้อสอบได้รวดเร็วขึ้น โดยการเตรียมไฟล์ gift format ของข้อสอบไว้ก่อน โดยตัวอย่างไฟล์สามารถใช้จากที่ประกอบการอบรมในการใช้เป็นต้นเบบในการสร้างข้อ คำถาม ใช้โปรแกรม Notepad ในการสร้างข้อคำถาม ข้อเสีย คือ ข้อคำถามที่มีรูปภาพ ไม่สามารถใช้รูปแบบนี้ได้
95
4.4.3 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วย Text file รูปแบบ gift format
โดยคำตอบที่ถูกต้อง จะอยู่หลังเครื่องหมาย =
96
4.4.3 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วย Text file รูปแบบ gift format
ตัวอย่างรูปแบบข้อคำถามแบบถูก/ผิด ที่สร้างตามรูปแบบ Gift format โดยกำหนดคำตอบ ถูก/ผิด ไว้ใน { } เช่น ถูก {T} ผิด {F}
97
4.4.3 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วย Text file รูปแบบ gift format
ตัวอย่างรูปแบบข้อคำถามแบบเติมคำ ที่สร้างตามรูปแบบ Gift format โดยกำหนดคำตอบด้วยรูปแบบ {= คำตอบ }
98
4.4.3 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วย Text file รูปแบบ gift format
ตัวอย่างการอัพโหลดไฟล์
99
4.4.3 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วย Text file รูปแบบ gift format
ตัวอย่างข้อสอบที่ Upload เรียบร้อยแล้ว
100
4.4.3 วิธีการเพิ่มข้อคำถามด้วย Text file รูปแบบ gift format
ข้อสอบที่อยู่ใน Question bank
101
4.5 การสร้างชุดข้อสอบ สำหรับเก็บคะแนน
102
4.5 การสร้างชุดข้อสอบสำหรับเก็บคะแนน
การสร้างชุดข้อสอบหนึ่ง ๆ นั้น จะมีขั้นตอนการสร้าง 2 ขั้นตอน คือ 1. การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ (หัวข้อ 4.5.1) 2. การนำเข้าข้อสอบไปยังชุดข้อสอบ (หัวข้อ 4.5.2) ซึ่งทั้ง 2 ขั้นตอน ต้องทำตามลำดับ
103
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
104
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
หลังจากสร้างคลังข้อสอบและตัวข้อคำถามเรียบร้อยแล้ว ผู้สอน สามารถเรียกใช้ข้อคำถามจากคลังข้อสอบในการจัดชุดข้อสอบสำหรับ เก็บคะแนนได้ ซึ่งชุดข้อสอบเป็นการเพิ่มกิจกรรมในเนื้อหาบทเรียน โดย สามารถทำได้ดังนี้
105
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
กลับเข้าสู่หน้าจัดการเนื้อหาบทเรียน 1) คลิกไปยังรายวิชา
106
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
1) คลิกเพิ่มกิจกรรมหรือแหล่งข้อมูล 2) เลือกแบบทดสอบ
107
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
1) คลิกเพิ่มกิจกรรมหรือแหล่งข้อมูล 2) เลือกแบบทดสอบ 3) คลิก “เพิ่ม”
108
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
4) กรอกชื่อแบบทดสอบ 5) กรอกคำอธิบายข้อสอบ
109
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
6) คลิกเปิด ใช้งานการแก้ไข เพื่อกำหนดวันที่เริ่มต้นทำข้อสอบ “กรณีที่ผู้สอนไม่ต้องการกำหนด วันเริมต้น และสินสุดการทำข้อสอบ ให้ข้ามขั้นตอนนี้ไป 7) กำหนดวันเวลาสำหรับเริ่มต้นและสิ้นสุดการทำแบบทดสอบ
110
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
8) กำหนดจำนวนครั้งที่ผู้เรียนสามารถทำแบบทดสอบนี้ได้ ในกรณีที่เป็นแบบทดสอบท้ายบทเรียนผู้สอนอาจจะไม่กำหนดขั้นตอนนี้ หากผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนสามารถทำข้อสอบชุดเดิมซ้ำได้ แต่กรณีที่เป็นข้อสอบกลางภาค หรือปลายภาค ควรกำหนดจำนวนครั้งในการตอบ มิเช่นนั้น ผู้เรียนจะกลับมาทำข้อสอบใหม่ได้อีก
111
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
9) คลิกนำเครื่องหมาย / ออก ที่ The attempt ทุกคอลัมน์
112
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
10) กำหนดรหัสผ่านของชุดข้อสอบ ในกรณีที่ผู้สอนไม่ต้องการให้ผู้เรียนที่มิใช่นักศึกษาในหมู่เรียน หรือห้องเรียนของเราเข้าทำชุดข้อสอบได้ ผู้สอนสามารถกำหนด รหัสผ่านของชุดข้อสอบ เพื่อป้องกันการเข้าถึงของนักศึกษาคนอื่น 11) คลิก “บันทึกและกลับไปยังรายวิชา”
113
4.51 การสร้างชุดข้อสอบและคุณสมบัติของชุดข้อสอบ
ชุดข้อสอบที่สร้างเรียบร้อยแล้ว
114
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
115
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
เมื่อสร้างชุดข้อสอบเรียบร้อยแล้ว จะเป็นการนำข้อคำถามจากคลังข้อสอบมาใช้ในการจัด ชุดข้อสอบ โดยมีวิธีการดังนี้ 1) คลิกไปที่ชุดข้อสอบที่สร้างไว้ในขั้นตอนก่อนหน้า
116
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
2) คลิกปุ่ม “แก้ไขแบบทดสอบ”
117
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
3) คลิกปุ่ม “เพิ่ม” 4) เลือกจากธนาคารข้อสอบ
118
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
5) เลือกหมวดหมู่ข้อคำถาม 6) เลือกข้อคำถามและ คลิกปุ่ม “เพิ่มคำถาม...”
119
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
ข้อสอบถูกเลือกเข้าชุดข้อสอบ ผู้สอนสามารถเลือกข้อสอบจากคลังข้อสอบมาใส่ในชุดข้อสอบได้ตามความต้องการ โดยทำตามขั้นตอนที่ 3-7 จนกว่าจะได้ข้อสอบครบตามจำนวนที่ต้องการ
120
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบที่ถูกเลือกเข้าชุดข้อสอบ
121
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
ข้อควรระวัง!! อย่าลืมกำหนดคะแนนเต็มให้ชุดข้อสอบ เพราะ moodle จะ default คะแนนไว้ที่ 10 เสมอ ดังนั้น ถ้าผู้สอนไม่ได้กำหนดคะแนนเต็ม จะส่งผลให้ข้อสอบชุดนั้นมีคะนนเต็ม 10 เท่านั้น
122
4.5.2 การนำเข้าข้อสอบในชุดข้อสอบ
7) กำหนดคะแนนของชุดข้อสอบ และกดปุ่ม “บันทึก”
123
ทดสอบทำแบบทดสอบ
124
2) คลิก “ทำแบบทดสอบนี้”
เข้าโหมด “นักเรียน” 1) คลิกบนชุดข้อสอบ 2) คลิก “ทำแบบทดสอบนี้”
125
ตัวอย่างข้อสอบที่นักศึกษาทำ
เข้าโหมด “นักเรียน” 3) ถ้าชุดข้อสอบมีรหัสผ่าน ผู้เรียนต้องกรอกรหัสผ่าน และกดปุ่ม Start attempt ตัวอย่างข้อสอบที่นักศึกษาทำ
126
ทำข้อสอบครบทุกข้อ คลิกปุ่ม
เข้าโหมด “นักเรียน” ทำข้อสอบครบทุกข้อ คลิกปุ่ม Finish attempt คลิก “ส่งคำตอบ..” คลิกปุ่ม “ส่งคำตอบ...”
127
รายงานผลคะแนนของผู้เรียน
เข้าโหมด “นักเรียน” รายงานผลคะแนนของผู้เรียน
128
5 การกำหนดรหัสผ่านรายวิชา
129
5 การกำหนดรหัสผ่านรายวิชา
ในกรณีที่ผู้สอนไม่ต้องการให้นักศึกษาคนอื่น ๆ ที่ไม่ได้ ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่ผู้สอนสร้างขึ้น ผู้สอนสร้าง สามารถกำหนดรหัสผ่าน เพื่อเป็นกุญแจในการเข้าสู่ รายวิชาที่ผู้สอนได้สร้างขึ้น
130
5 การกำหนดรหัสผ่านรายวิชา
โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1) คลิก Enrolment methods
131
5 การกำหนดรหัสผ่านรายวิชา
โดยมีขั้นตอนดังนี้ 2) เลือก self enrolment
132
5 การกำหนดรหัสผ่านรายวิชา
โดยมีขั้นตอนดังนี้ 3) กำหนดรหัสผ่าน ที่ต้องการ
133
5 การกำหนดรหัสผ่านรายวิชา
โดยมีขั้นตอนดังนี้ วิชาที่มีสัญลักษณ์กุญแจอยู่ท้ายรายวิชา ผู้เรียนต้องทราบรหัสผ่านในการเข้าถึงรายวิชาก่อน จึงสามารถเข้าเรียนได้
134
สำนักคอมพิวเตอร์ ขอบคุณคณาจารย์ทุกท่านสำหรับการเข้าร่วมพัฒนาบทเรียนออนไลน์
135
ศูนย์ให้คำปรึกษาด้านการจัดทำบทเรียนออนไลน์
โทรศัพท์ ต่อ กด 109 Line ID
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.