งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คุณค่า ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คุณค่า ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คุณค่า ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์
Worthy Honor Human Right

2 เข้าใจ ยอมรับ ให้โอกาส และเกิดการเปลี่ยนแปลง
วิสัยทัศน์ เข้าใจ ยอมรับ ให้โอกาส และเกิดการเปลี่ยนแปลง 4 April 2019

3 เป้าหมาย ผู้ใช้ยาฯ และครอบครัว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้รับการคุ้มครองสิทธิ์และ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่าง ปกติสุขด้วยการยอมรับและเข้าใจ 4 April 2019

4 ภารกิจของเครือข่าย เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ขยายพื้นที่ มีความเท่าเทียม ดีเยี่ยมบริการ 4 April 2019

5 พื้นที่การทำงานของ TDN. ..
IDU & DU ภาคเหนือตอนบน( จ.เชียงใหม่ และ จ.แม่ฮ่องสอน ) ผ่านศูนย์ลดอันตรายเชียงใหม่ IDU & DU ภาคใต้ ( จ.ตรัง , จ.พัทลุง ,จ.สตูล ) ผ่านศูนย์ลดอันตรายตรัง 4 April 2019

6 บทบาทของเครือข่ายผู้ใช้ยาประเทศไทย
ค้นหาเพื่อนผู้ใช้ยา สนับสนุนการรวมกลุ่มของเพื่อนผู้ใช้ยาในพื้นที่ เติมองค์ความรู้ ให้คำปรึกษา พัฒนาศักยภาพแกนนำและเพื่อนผู้ใช้ยา เชื่อมประสานการส่งต่อระบบบริการสาธารณสุข ส่งเสริมการทำงานกับชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจและลดการตีตรา มีส่วนร่วมในการผลักดันเชิงนโยบาย 4 April 2019

7

8

9 การบริการภายในศูนย์ Drop In Center
อาหาร และ เครื่องดื่ม , การซักเสื้อผ้า , อาบน้ำ , การพักผ่อน ความบันเทิง (TV. , Vedio, Internet, Games, Music and Sport ) กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มย่อย , กิจกรรมให้คำปรึกษาด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ , การอบรมเกี่ยวกับอาชีพ และองค์ความรู้ต่าง ๆ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น , การบริการอุปกรณ์สะอาด เอกสาร แผ่นพับ และการให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ การบริการให้คำปรึกษาและส่งต่อ เพื่อเข้าถึงการรักษา และการบำบัด 4 April 2019

10 การทำงานเชิงรุกในพื้นที่
Outreach เป็นวิธีให้บริการเชิงรุกนอกดรอปอินเพื่อค้นหาเพื่อนที่เข้าถึงยากหรือไม่อยากเปิดเผยตัว โดยอาศัย Peer ซึ่งมาทำงานให้กับ ศูนย์ฯ โดยมีค่าตอบแทน Peer อาจจะเป็นผู้ใช้ยา หรือผู้ที่เคยใช้ยา แต่เมื่อมาทำงานต้องบริหารจัดการการใช้ยาในเวลางานได้ หน้าที่ของ Peer คือ ค้นหาเพื่อนผู้ใช้ยา สร้างความสัมพันธ์ เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ ให้ความช่วยเหลือ เช่น บริการอุปกรณ์สะอาด ให้ความรู้เรื่องการลดอันตราย เรื่องสุขภาพทางเพศ/ทั่วไป และบริการส่งต่อ และติดตามดูแลเพื่อน

11 การเข้าถึงเพื่อนผู้ใช้ยา ฯ

12 4 April 2019

13 กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์
4 April 2019

14 4 April 2019

15

16

17

18

19

20

21

22 การติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดใน เครือข่ายผู้ใช้ยาประเทศไทย (TDN) เชียงใหม่ เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 ฝ่ายพัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์

23 ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ
ผู้ใช้ยาเสพติดที่มารับบริการทั้งสิ้น 119 ราย (IDU) เพศชาย 88 คน (74%) และเพศหญิง 31 คน (26%) ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 31 ปี (19-56 ปี) ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ จำแนกตามกลุ่มอายุ และวิธีการใช้ยา/สารเสพติด % มีอายุตั้งแต่ 14 – 66 ปี ปี

24 พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการใช้ยา/สารเสพติด
52.1% ของ IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด ชนิดยาเสพติดที่ใช้ฉีดมากสุด 3 อันดับ ได้แก่ ยาบ้า (72.3%) เฮโรอีน (47.9%) และเมทาโดน (3.4%) คน

25 ร้อยละของพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ และ การใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนประเภทต่าง ๆ ใน 1 เดือนที่ผ่านมา คน

26 ความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีที่ตอบได้ถูกต้อง ของผู้ใช้ยาเสพติดที่มารับบริการ
%

27 สถานการณ์เอชไอวีในผู้ใช้ยา/สารเสพติด ที่มารับบริการในเครือข่ายผู้ใช้ยา จังหวัดเชียงใหม่ (TDN)
คน เติม N

28 ร้อยละการให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556

29 ประโยชน์ที่ได้จากโปรแกรมสำหรับเครือข่าย
มีข้อมูลเพื่อนมากขึ้นและเป็นระบบ ระเบียบมากขึ้น สามารถค้นหาข้อมูลได้สะดวกขึ้น สามารถนำข้อมูลที่ได้มาประเมินการดูแลเพื่อน ได้ดีขี้น สามารถนำข้อมูลมาเป็นแนวทางในการวางแผนการทำงาน และการอบรมให้แก่เพื่อนสมาชิก ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นและสามารถนำข้อมูลมานำเสนอเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ได้

30 การเชื่อมโยงข้อมูลและการส่งต่อข้อมูลมายังภาครัฐ
คีย์ข้อมูลทุกสามเดือน (ไตรมาส ) ข้อมูลได้จาก peer ไปเก็บข้อมูลจากเพื่อนสมาชิกในความดูแลของตน ทั้งรายเก่าและรายใหม่ ส่งต่อข้อมูลให้สสจ. ได้ทำข้อตกลงกับรพ.ธัญญารักษ์ เชียงใหม่ ถ้าเป็นเคสของ TDN ที่ส่งไปรับบริการ MMT ทางธัญญารักษ์จะไม่ลงข้อมูลเพื่อป้องกันการซ้ำซ้อนของข้อมูล ( เป็นข้อกังวลเกี่ยวกับการซ้ำซ้อนของข้อมูล ถ้าโปรแกรมไม่มีระบบเช็คการนับซ้ำ ) ติดตามผลโดยลงเก็บ Harm 2 ทุก 6 เดือน เพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงของเพื่อน

31 ประโยชน์ในภาพรวม ได้ข้อมูลครอบคลุม เพราะที่ผ่านมาภาครัฐจะบอกว่ามีข้อมูลของIDU น้อยมาก ถ้าโปรแกรมนี้สมบูรณ์ก็จะทำให้ได้ข้อมูลของ IDU ที่ครอบคลุม และสามารถนำเป็นใช้อ้างอิง หรือประกอบรายงานได้ สามารถนำไปใช้ในกลุ่ม DU ได้ ทำให้ได้ข้อมูลที่หลากหลายมากขึ้น ผลของข้อมูลสามารถนำไปใช้ในการวางแผนร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาของกลุ่มประชากรกลุ่มนี้ได้อย่างตรงจุด


ดาวน์โหลด ppt คุณค่า ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google