งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
โดย...วรรณิภา จันโททัย ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์ สำนักงานจัดหางาน จ, นครสวรรค์ กรมการจัดหางาน

2 การขออนุญาตนำเข้า แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือภายใต้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจ้างแรงงานระหว่างรัฐ -MOU

3 พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560
เหตุผล..... มีการปรับปรุงกฎหมาย ที่มีบทบัญญัติยังไม่ครอบคลุม การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าวทั้งระบบ โดยรวมกฎหมาย 2 ฉบับ เป็นฉบับเดียวกัน..... พ.ร.บ. การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 พ.ร.ก. การนำเข้าคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้าง ในประเทศ พ.ศ. 2559

4 พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560
วันที่ 23 มิถุนายน 2560 บังคับใช้เมื่อใด ?

5 พระราชกำหนดการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560
เน้นการให้ความคุ้มครอง อำนวยความสะดวกให้กับ นายจ้าง และแรงงานต่างด้าว การเพิ่มโทษนายจ้างที่กระทำผิดกฎหมาย ดึงประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อป้องกัน การค้ามนุษย์ด้านแรงงาน

6 สาระสำคัญ...พ.ร.ก. การบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560
สาระสำคัญ 3 ประการ หลักเกณฑ์....การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้าง ในประเทศ การทำงานของคนต่างด้าว มีคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการการทำงานของ คนต่างด้าว

7 8 หมวด พระราชกำหนดการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560
8 หมวด พระราชกำหนดการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย 1. บททั่วไป คณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว 3. การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ 4. การทำงานของคนต่างด้าว 5. กองทุนเพื่อการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว มาตรการทางการปกครอง 7. พนักงานเจ้าหน้าที่ บทกำหนดโทษ

8 บทกำหนดโทษ พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงาน ของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560
ทั้งหมด มาตรา ม.44 ชะลอบังคับใช้ 4 มาตรา

9 ม. 44 ชะลอบังคับใช้ พ.ร.ก.แรงงานต่างด้าวฯ
ชะลอบังคับใช้ ถึง 31 ธันวาคม 2560 เท่านั้น มาตรา 101 คนต่างด้าวทำงานห้าม/ไม่มีใบอนุญาตทำงาน โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับตั้งแต่ 2 พัน- 1 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 102 นายจ้าง รับคนต่างด้าวเข้าทำงานห้าม/ไม่มี ใบอนุญาตทำงาน ปรับตั้งแต่ 4-8 แสนบาทต่อคนต่างด้าวที่จ้างหนึ่งคน มาตรา 119 คนต่างด้าวไม่แจ้งการทำงานอันจำเป็น เร่งด่วน ปรับตั้งแต่ 2 หมื่น -1 แสนบาท มาตรา 122 นายจ้าง รับคนต่างด้าวไม่มีใบอนุญาตทำงาน กับตนเข้าทำงาน ปรับตั้งแต่ 4-8 แสนบาทต่อคนต่างด้าวที่จ้างหนึ่งคน

10 การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ

11 การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้าง ในประเทศ
สาระ......การนำคนต่างด้าวมาทำงาน ดำเนินการภายใต้กรอบข้อตกลง MOU. ?..... นำคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักร ตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เข้ามาภายใต้บันทึกข้อตกลงความเข้าใจที่รัฐบาลทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ (MOU ) หรือ ตามนโยบายของรัฐบาลว่าด้วยการจ้างแรงงาน มาทำงานกับนายจ้างในประเทศ โดยจะมี ค่าบริการหรือค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม

12 การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้าง ในประเทศ
นายจ้าง (บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล) ผู้รับอนุญาต ใครบ้าง... นำเข้า ?

13 นายจ้างประสงค์นำเข้าคนต่างด้าวทำงานกับตนเอง ต้องวางหลักประกัน
หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด นายจ้างประสงค์นำเข้าคนต่างด้าวทำงานกับตนเอง ต้องวางหลักประกัน 1. ไม่เกิน 99 คน วางหลักประกัน 1,000 บาทต่อคนต่างด้าว 2. นำเข้า 100 คนขึ้นไป วาง 100,000 บาทต่อคนต่างด้าว 3. ต่อมาภายหลัง นำต่างด้าวเข้ามารวมกันมีจำนวน 100 คนขึ้นไป วางหลักประกัน 100,000 บาท

14 4. กรณีนายจ้างเลิกจ้าง/ ต่างด้าวลาออก/ ครบสัญญาจ้าง ปฏิบัติดังนี้
หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด 4. กรณีนายจ้างเลิกจ้าง/ ต่างด้าวลาออก/ ครบสัญญาจ้าง ปฏิบัติดังนี้ นายจ้างแจ้งต่ออธิบดี จัดส่งต่างด้าวกลับประเทศต้นทางภายใน 7 วัน นับแต่ ไม่ได้ทำงานหรือครบสัญญา นายจ้างไม่ส่งต่างด้าวกลับ อธิบดีดำเนินการจัดส่งกลับ ประเทศต้นทาง โดยหักหลักประกันที่วางไว้

15 5. กรณีต่างด้าวต้องถูกส่งตัวกลับประเทศต้นทางตามกฎหมาย
หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด 5. กรณีต่างด้าวต้องถูกส่งตัวกลับประเทศต้นทางตามกฎหมาย ว่าด้วยคนเข้าเมือง หรือกฎหมายอื่น ให้หน่วยงานที่ดำเนินการจัดส่ง เรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากนายจ้าง หรือผู้รับอนุญาตได้

16 หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด
หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด ผู้รับอนุญาต เมื่อนำต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างตามสัญญาแล้ว มีเหตุต่อไปนี้ ผู้รับอนุญาตต้องส่งต่างด้าวกลับประเทศต้นทาง - นายจ้างไม่รับต่างด้าวเข้าทำงาน ต่างด้าวไม่ยินยอมทำงานกับนายจ้างรายนั้น – ถูกเลิกจ้าง ลาออกก่อนสัญญา 2. หากลูกจ้างต่างด้าวประสงค์จะทำงานกับนายจ้างรายอื่นที่มีลักษณะงานทำนองเดียวกัน ผู้รับอนุญาตจะจัดให้ลูกจ้างทำงานกับนายจ้างรายอื่นก็ได้ แต่ต้องไม่เกิน 15 วันนับแต่เลิกทำงานกับนายจ้างรายเดิม

17 หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด
หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด ผู้รับอนุญาต 3. ผู้รับอนุญาต ไม่นำต่างด้าวมาทำงานตามสัญญากับนายจ้าง ให้คืนค่าบริการแก่นายจ้างทั้งหมดภายใน 30 วันนับแต่วันที่ครบกำหนดสัญญาการนำคนต่างด้าวมาทำงาน 4. คนต่างด้าวทำงานครบสัญญา หรือไม่ได้ทำงานกับนายจ้างแล้ว นายจ้างต้องแจ้งให้ผู้รับอนุญาตโดยไม่ชักช้าภายใน 7 วันนับแต่ครบสัญญา หรือต่างด้าวไม่ได้ทำงาน

18 หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด
หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด ผู้รับอนุญาต 5. กรณีผู้รับอนุญาต เลิกประกอบธุรกิจให้นายจ้างแจ้งต่ออธิบดี เพื่อส่งต่างด้าวกลับประเทศต้นทางโดยหักหลักประกัน ผู้รับอนุญาตที่วางไว้ 6. กรณีต่างด้าวต้องถูกส่งตัวกลับประเทศต้นทางตามกฎหมาย ว่าด้วยคนเข้าเมือง หรือกฎหมายอื่น ให้หน่วยงานที่ดำเนินการ จัดส่ง เรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากนายจ้าง หรือผู้รับอนุญาตได้

19 หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด
หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตามพระราชกำหนด ผู้รับอนุญาต 7. ผู้รับอนุญาต ไม่ปฏิบัติตามข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 อธิบดีหักค่าบริการและค่าใช้จ่ายจากหลักประกันผู้รับอนุญาตคืนให้นายจ้าง

20 รู้ได้อย่างไรเป็นผู้ประกอบธุรกิจผู้รับอนุญาต
การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ ? ใช้ชื่อ คำแสดงชื่อ “บริษัทนำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศ ”

21 พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560
บทกำหนดโทษผู้รับอนุญาต ผู้ใดหลอกลวงผู้อื่นว่าสามารถนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างใน ประเทศ โทษ จำคุกคั้งแต่ 3-10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 600,000-1,000,000 บาท ต่อคนต่างด้าว 1 คน หรือทั้งจำทั้งปรับ ผู้ใดประกอบธุรกิจนำคนต่างด้าวมาทำงานโดยไม่ได้รับอนุญาตจาก อธิบดีกรมการจัดหางาน โทษ จำคุกตั้งแต่ 1-3 ปี หรือปรับตั้งแต่ 200, ,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

22 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt “การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google