ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยอนุชา สมิธ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ประชุมการดำเนินการของขมรมเครือข่ายพัฒนาการพยาบาล UHOSNET ครั้งที่ 58 วันที่ 15 กันยายน 2559
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ ประธานใหม่ วาระที่ 2 เรื่องสืบเนื่อง 2.1 การกำหนดมาตรฐานชั่วโมงการทำงานพยาบาล 2.2 การสร้างแนวทางแบบบูรณาการในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคซับซ้อนใน รพ. 2.3 การเยี่ยมตรวจคุณภาพการบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 2.4 Sensitive Nursing KPI และการพัฒนาตัวชี้วัดทางการพยาบาลพร้อม การกำหนด KPI ใน THIP วาระที่ 3 Present Nursing KPI นำเสนอโดย รพ.ธรรมศาสตร์ฯ, รพ.มหาราชนครเชียงใหม่และ รพ.สงขลานครินทร์ วาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ
2
1. การกำหนดมาตรฐานชั่วโมงการทำงานพยาบาล
1. การจัดตั้งคณะกรรมการศึกษาภาวะเจ็บป่วย (16 คนจาก 11 รพ.) : รพ.สงขลานครินทร์, รพ.มหาวิทยาลัยนเรศวร, รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ., รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน, รพ.กลาง, รพ.ชลประทาน, รพ.พระมงกุฎเกล้า, รพ.สมเด็จพระปิ่นเกล้า พร., รพ.ตำรวจ, รพ.สมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา และ รพ.วชิรพยาบาล 2. ศึกษาภาวะเจ็บป่วยของพยาบาลในกลุ่ม รพ.ชมรมเครือข่ายฯ 3. การศึกษาภาระงานของพยาบาลรายบุคคล 4. การกำหนดมาตรฐานชั่วโมงการทำงานของพยาบาลในแต่ละกลุ่มอายุที่ไม่ส่งผลกระทบ ต่อภาวะสุขภาพ 5. การติดตามภาวะสุขภาพอย่างเป็นระบบ
3
2. การสร้างแนวทางแบบบูรณาการในการดูแล ผู้ป่วยสูงอายุโรคซับซ้อนใน รพ.
2. การสร้างแนวทางแบบบูรณาการในการดูแล ผู้ป่วยสูงอายุโรคซับซ้อนใน รพ. 1. จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคซับซ้อนฯ รวม 22 คน : รพ,มหาราชนครเชียงใหม่, รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ., รพ.สงขลานครินทร์, รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน, รพ.กลาง, รพ.ชลประทาน, รพ. สมเด็จพระปิ่นเกล้า พร., รพ. พระมงกุฎเกล้า, รพ. ราชวิถี, รพ. ตำรวจ, รพ. จุฬาลงกรณ์, รพ. ศิริราช, รพ. วชิรพยาบาล,รพ. มหาวิทยาลัยบูรพาและตัวแทนจากสมาคมพฤฒาวิทยา 2. การสร้างแนวทางแบบบูรณาการในการดูแลผู้สูงอายุโรคซับซ้อนฯตั้งแต่เข้ารับการรักษาจนถึง การดูแลต่อเนื่องและกำหนดตัวชี้วัดในการดูแลที่สอดคล้องกับของประเทศและเป็นสากล 3. นำเสนอแนวทางฯต่อสภาพยาบาลเพื่อนำไปใช้ในระดับประเทศ 4. รวบรวมแหล่งประโยชน์/หน่วยงานที่ผู้ป่วยสูงอายุใช้ในการดูแลสุขภาพ 5. ศึกษาวิจัยทางการพยาบาลเพื่อพัฒนาการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคซับซ้อนฯ
4
3. การเยี่ยมตรวจคุณภาพการบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์
5
การดำเนินงานการเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการพยาบาลฯ
มิ.ย.59 ก.ค.59 ส.ค.59 ก.ย.59 ต.ค.. 59 พ.ย..59 ธ.ค.59 ม.ค.60 ก.พ. 60 มี.ค.60 เม.ย.60 พ.ค. 1. ประชุมกลุ่ม (ย่อย) 7 2. รวบรวมข้อมูลผู้เยี่ยมสำรวจของสภาฯ/สรพฯ (30/34 คน) 3. เชิญผู้เชี่ยวชาญจากสภาพยาบาลเป็นที่ปรึกษา และแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 4. กำหนดมาตรฐานในการเยี่ยมตรวจฯ บูรณาการกับการตรวจของ สภาฯ/สรพ./TQA และกรอบ/วิธีการ/หลักเกณฑ์ ในการตรวจเยี่ยม 4. การอบรม 4.1 อบรม Refresh surveyor 4.2 อบรม Surveyor 4.3 อบรมการเขียน SAR 25-26 21-23 15-16 6. การเยี่ยม 6.1 รับสมัครการขอรับเยี่ยมตรวจ 6.2 การเยี่ยมตรวจ
6
ประเมินผลการอบรมเชิงปฏิบัติการ Refresh surveyor 25-26 ก.ค.59
1. จำนวนผู้เข้าอบรม : 25 ก.ค.59 จำนวน 21 คน (ขาด 1 คน) 26 ก.ค.59 จำนวน 20 คน (ขาด 2 คน) (ไม่ได้ผ่านการอบรมผู้เยี่ยมสำรวจของสภาฯ จำนวน 4 คน) 2. ความพึงพอใจต่อการบรรยายของวิทยากร : ระดับมาก-มากที่สุด ร้อยละ 100 3. ระดับความรู้ / ความพร้อมของผู้เข้ารับการอบรม 3.1 หลังการอบรมฯ มีความรู้ ความเข้าใจใน มาตรฐานการบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ คิดเป็น 76.7% (เพิ่มขึ้น 22.7%) 3.2 หลังการอบรมฯ มีความรู้ ความเข้าใจการเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ในพื้นที่หน้างาน คิดเป็น 77.3% (เพิ่มขึ้น 22.6%) 3.3 มีความพึงพอใจที่ได้รับความรู้และประสบการณ์จากการอบรมฯ ระดับ ร้อยละ 80
7
ประเมินผลการอบรม (ต่อ)
4. สิ่งที่ต้องการเพิ่มพูนทักษะ 4.1 การตรวจเยี่ยม : วิธีการ Approch, การถามที่เชื่อมโยงมาตรฐาน, การฟัง, การเก็บและ ประมวลข้อมูล, การเสนอความคิดเห็น, การบริหารเวลา, การสรุปและการปิดประเด็น และ สมรรถนะการเขียนรายงาน 4.2 หัวข้อการอบรม : จริยธรรมวิชาชีพ, การทบทวนมาตรฐานต่างๆ และ การฝึกปฏิบัติการตรวจเยี่ยมในพื้นที่ 4.3 การสร้างบรรยากาศที่ดี เมื่อลงเยี่ยมหน้างาน
8
ภาพกิจกรรมการเยี่ยมตรวจฯ 26 กันยายน 2559
9
ภาพกิจกรรมการเยี่ยมตรวจฯ 26 กันยายน 2559
10
สรุป Refresh surveyor Performance
Purpose Process Performance - การออกแบบและสร้างความเข้าใจมาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - การพัฒนา (ปิด Gap) - สร้างและเสริม Surveyor - เตรียมความพร้อมในการรับ Re-accredit ครั้งที่ 4 ** D 1 - บรรยาย/สร้างความเข้าใจและความชัดเจนในมาตรฐาน - คุณสมบัติ/ การเตรียมความพร้อม Surveyor ** D2 นำเสนอ SAR NUR แบ่งลงพื้นที่ 5 กลุ่ม Exit ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในมาตรฐานฯ เพิ่มขึ้น ผู้เข้าอบรมได้รับประสบการณ์ในการลงเยี่ยมตรวจฯหน้างาน ผู้รับการเยี่ยมตรวจฯได้มีการเตรียมความพร้อม ผู้รับการเยี่ยมตรวจฯได้เห็นโอกาสในการพัฒนาตามมาตรฐานฯ
11
4. Sensitive Nursing KPI และการพัฒนาตัวชี้วัดทางการพยาบาลพร้อม
4. Sensitive Nursing KPI และการพัฒนาตัวชี้วัดทางการพยาบาลพร้อม การกำหนด KPI ใน THIP Sensitive KPI ANA UHNDC 1. Mix of nurses and unlicensed staff caring for patients in the acute-care setting - 2. Total nursing-care hours provided per patient day 3. Nasocomial infection : VAP, CRBSI, CAUTI 4. Patient falls : Fall rate in IPD 5. Pressure ulcer rate : Pressure ulcer rate: Incidence/ Prevalence 6. Patient satisfaction with overall care 7. Patient satisfaction with pain-management : Pain response,Pain continuing care, Pain Patient Right 8. Patient satisfaction with educational information 9. Staff nurse satisfaction Medication administration error
12
4. การพัฒนาตัวชี้วัดชมรมเครือข่าย (ต่อ)
THIP : KPI ที่เกี่ยวข้องกับ Nursing 1. Pressure ulcer rate in IPD 2. Nasocomial Infection 2.1 VAP : Overall / ICU 2.2 CAUTI : Overall / ICU 2.3 CRBSI : Overall / ICU 3. Patient satisfaction 4. HR : Turn Over rate, Satisfaction
13
3. การพัฒนาตัวชี้วัดชมรมเครือข่าย (ต่อ) คณะอนุกรรมการระบบคุณภาพและพัฒนาตัวชี้วัดเครือข่าย รพ.กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (UHOSNET) เสนอ KPI คัดเลือก KPI 1. Medication Administration Medication Administration Error in High Alert Drug 2. Pain Management 2.1 Pain Management Satisfaction 2.2 Pain control 2.2.1 Cancer pain 2.2.2 Cancer pain (Non Medication) 2.2.3 Acute pain 2.2.4 Pediatric Pain Pain Management Satisfaction (2.1) 1.1 Pain Response Satisfaction 1.2 Pain Continuing Care Satisfaction 1.3 Pain Patient Right Satisfaction 3. Fall Fall rate in IPD
14
วาระที่ 3 Present Nursing KPI
รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ รพ.มหาราชนครเชียงใหม่ อาจารย์พิมพ์ประพรรณ สถาพรพัฒน์ รพ.สงขลานครินทร์ อาจารย์กัญชลี พุ่มน้อย อาจารย์ยุพิน วัฒนสิทธิ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.