งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

introduction to Computer Programming

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "introduction to Computer Programming"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 0215104 introduction to Computer Programming
address: web site:

2 บทที่ 1 บทนำ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ตัวแปลภาษา

3 ภาษาโปรแกรม คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อให้สามารถทำงานเฉพาะอย่างตามที่ต้องการ เช่น โปรแกรมการจัดการซื้อขาย การจัดการเงินเดือน ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ภาษาซี

4 ใช้ภาษาอังกฤษแทนคำสั่ง เช่น ภาษา Pascal, C, C++,
Visual Basic, Fortran ตัวอย่าง input(W,X,Y); Z = W + X * Y; การแปลภาษา ภาษาเครื่อง

5 ตัวแปลภาษา คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อใช้สำหรับแปลชุดคำสั่งที่เราเขียนขึ้นมาให้เป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถนำไปประมวลผลตามคำสั่งได้

6 การ Compile ที่ไม่มี error หรือความผิดพลาดเท่านั้น
คอมไพเลอร์ (Compiler) - แปลคำสั่งที่เขียนขึ้น (Source Program) ทั้งหมดในครั้งเดียว แล้วนำผลลัพธ์ไปเก็บเป็น Object Program เพื่อนำไปประมวลผลต่อไป เช่น ภาษา C, Pascal การ Compile ที่ไม่มี error หรือความผิดพลาดเท่านั้น จึงจะมีการสร้าง OBJ File

7 การสร้างโปรแกรม (1) สร้าง Source code Compile Run EXE File ไฟล์ชนิด CPP Source code เป็นภาษาอังกฤษที่เขียนขึ้นตามกฎเกณฑ์ ของภาษา เพื่อเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำอะไร อย่างไร และทำเมื่อไร โดยชนิดของไฟล์ที่บันทึก จะถูกกำหนดให้เป็น CPP

8 การสร้างโปรแกรม (2) ขั้นต่อไปก็คือการสั่งให้โปรแกรมทำงานเรียกว่าการรัน ( run ) โดยจะต้องมีการตรวจสอบว่าโปรแกรมเขียนถูกต้องตามกฎหรือไม่ ถ้าไม่ถูกจะมีการแสดงข้อความระบุสาเหตุของความผิดพลาด และ แสดงตำแหน่งที่ผิดพลาดใน Source code

9 ขั้นตอนหลักของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม

10 การออกแบบโปรแกรม ต้องมีการกำหนด รูปแบบของผลลัพธ์
ข้อมูลที่นำเข้าสู่คอมพิวเตอร์ วิธีการประมวลผล เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบโปรแกรม คือ ผังงาน ผังงาน (Flowchart) คือแผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือระบบรวมทั้งการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ

11 รูปแสดงสัญลักษณ์ของผังงานโปรแกรม
เริ่มต้น/จบงาน จุดเชื่อมต่อ การตัดสินใจเลือก ขึ้นหน้าใหม่ แทนการกำหนดค่า หรือคำนวณค่า ลูกศรแสดงทิศทาง รับข้อมูลเข้า หรือแสดงข้อมูล

12 วิธีเขียนผังงานที่ดี
ใช้สัญลักษณ์ตามที่กำหนด สามารถแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง ซ้ายไปขวา คำอธิบายสั้น กะทัดรัด เข้าใจง่าย มีลูกศรแสดงทิศทางเข้าออกทุกแผนภาพ ไม่ควรโยงเส้นไกลกันมากๆ ควรใช้สัญลักษณ์เชื่อมต่อแทน ควรทดสอบความถูกต้องก่อนนำไปเขียนโปรแกรม

13 ผังการทำงานของคอมพิวเตอร์
Input Process Output

14 ตัวอย่าง 1 จงเขียนผังงานแสดงชื่อของนิสิตทางจอภาพ เริ่มต้น “kookai” จบ

15 ตัวอย่าง 2 จงเขียนผังงานแสดงผลการบวกเลข 2 กับ เลข 5 ทางจอภาพ เริ่มต้น
x จบ X = 2 + 5 กำหนดให้ X แทนผลของการบวก

16 การเขียนแบบโปรแกรม (1)
จงเขียนผังงานแสดงชื่อของนิสิตทางจอภาพ #include <stdio.h> main() { printf(“kookai”); } เริ่มต้น “kookai” จบ

17 การเขียนแบบโปรแกรม (2)
จงเขียนผังงานแสดงผลการบวกเลข 2 กับ เลข 5 ทางจอภาพ เริ่มต้น x จบ X = 2 + 5 กำหนดให้ X แทนผลของการบวก #include <stdio.h> main() { int X; X = 2+5; printf(“%d”,X); }

18 การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม
ทดสอบว่าโปรแกรมให้ผลลัพธ์ออกมาถูกต้องตามที่ต้องการหรือไม่ โดยการป้อนข้อมูลสมมติหลาย ๆ ค่าที่เป็นไปได้เข้าไปแล้วดูผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่

19 โครงสร้างภาษา C #include <stdio.h> main() { ส่วนกำหนดตัวแปร
ส่วนชุดคำสั่ง }

20 คำสั่งรับ และ แสดงผล ข้อมูล
scanf(“รหัสรูปแบบ”, &ชื่อตัวแปร); เช่น scanf(“%s”,&name); scanf(“%f”,&score); printf(“ข้อความ”); printf(“my name is kookai”); printf(“ข้อความ หรือ รหัสรูปแบบ”, ชื่อตัวแปร) printf(“my name is %s \n”, name); }

21 printf(): ฟังก์ชันที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ
printf(control string, variable) control string : ใช้ในการควบคุมการแสดงผลข้อมูล ต้องอยู่ใน “” แบ่งออกเป็น 2 ส่วน - ข้อความ - รหัสรูปแบบ (format code) ใช้รหัสควบคุมการแสดงผล (Carriage Code) ร่วมกับ control string ได้

22 ตัวกำหนดชนิดของข้อมูล
Format code ตัวกำหนดชนิดของข้อมูล ความหมาย %c การแสดงผลแบบ 1 อักขระ %d การแสดงผลแบบเลขจำนวนเต็ม %e การแสดงผลแบบเลขจำนวนทศนิยมยกกำลัง %f การแสดงผลแบบเลขจำนวนทศนิยม %o การแสดงผลแบบเลขฐาน 8 %s การแสดงผลแบบข้อความ %u การแสดงผลแบบเลขจำนวนเต็มไม่คิดเครื่องหมาย %% การแสดงผล %


ดาวน์โหลด ppt introduction to Computer Programming

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google