ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2
เผยแพร่ผลงานในวารสารระดับนานาชาติในฐานข้อมูล ISI และSCOPUSจำนวน 40 เรื่อง
การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยเพื่อการอนุรักษ์ พัฒนาการเรียนการสอน สร้างเทคโนโลยีที่เหมาะสมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน อาจารย์ดีเด่นด้านการวิจัยปี58 ด้วยผลงานที่หลากหลายทางด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เซ็นเซอร์ การอนุรักษ์ทะเลและภูเขา การพัฒนาการเรียนการสอนSTEMในโรงเรียน นักวิทยาศาสตร์ไทย1ใน5ของไทยที่ได้รับการคัดเลือกโดยสมเด็จพระเทพฯให้เข้าร่วมGlobal Young Scientists Summit (GYSS) ทื่ประเทศสิงค์โปร์ บทความเรื่อง Spin Crossover in Iron(III) Complexes ของ รศ.ดร. เดวิด เจมส์ ฮาร์ดิง ผศ.ดร. พิมผกา ฮาร์ดิง ดร. วาสินี พลศรี นัได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Coordination Chemistry Reviews ซึ่งเป็น วารสารที่มีค่า ISI Journal impact factor สูงถึง
3
โครงร่างองค์กร คณบดี รองคณบดี สาขาวิชาฟิสิกส์ สาขาวิชาเคมี
สาขาวิชาชีววิทยา สาขาวิชาคณิตศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร์เชิงคำนวณ ป.ตรี และบัณฑิตศึกษา หลักสูตรฟิสิกส์ (โท-เอก) หลักสูตรเคมี หลักสูตรนิเวศฯ สำนักงานบริหาร หน่วยบริการวิชาการโรงเรียน ศูนย์ พสวท. คณะกรรมการประจำสำนักวิชาฯ วิชาศึกษาทั่วไปและวิชาพื้นฐาน ของสำนักวิชาอื่นๆ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ศูนย์ STEM
4
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
สำนักวิชาวิทยาศาสตร์จะจัดการศึกษาที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ สามารถสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และได้รับการยอมรับทางวิชาการในระดับสากล พันธกิจ การดำเนินงานของสำนักวิชาวิทยาศาสตร์เป็นไปตามวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย ในการ “เป็นองค์กรธรรมรัฐ เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล” และสามารถตอบสนองตามภารกิจหลักทั้ง 4 ด้านของมหาวิทยาลัยในการผลิตบัณฑิต การศึกษาค้นคว้าวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ การบริการทางวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสำนักวิชาได้กำหนดภารกิจไว้ Motto บัณฑิตวิทยาศาสตร์ รู้และเข้าใจเหตุผลของธรรมชาติ จากสิ่งที่เล็กสุดระดับอะตอม ถึงสิ่งที่ใหญ่สุดระดับ จักรวาล สามารถประยุกต์ความเข้าใจเพื่อสร้างสรรค์นวตกรรมและเทคโนโลยีที่จะตอบสนองความต้อง การของสังคมและยุคสมัย รู้จักการปรับตัวที่มีชีวิตอย่างสมดุลกับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
5
บุคคลากร
6
การบริหารจัดการ การสอนปริญญาตรี บัณฑิตศึกษาและวิจัย บริการวิชาการ
วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ การประเมิน การยกย่องและ การขึ้นเงินเดือน คณาจารย์สำนักวิชา วิทยาศาสตร์ ทีมบริหาร เป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ งบพัฒนาวิชาการ งบประมาณรวม สำนักวิชาฯ ทีมบริหาร พนักงาสนับสนุน ทีมบริหาร หน่วยงานสนับสนุน แผนยุทธศาสตร์ มวล.
7
งบประมาณการดำเนินงาน
แผนงานจัดการศึกษาอุดมศึกษา เงินเดือน ปริญญาตรี (กิจกรรมเสริมหลักสูตร, ภาคสนาม) บัณฑิตศึกษา (การจัดสอบโครงร่าง วิทยานิพนธ์ กิจกรรมเสริมหลักสูตร ภาคสนาม) การพัฒนาบุคคลากร (อบรม สัมมนา ) วิจัย มวล. นโยบาย ค่า FTES สสวท. โรงเรียน สกว. วช. มวล. สวทช. ฯลฯ งบประมาณปี 2558 บริการวิชาการ แผนงานพัฒนาวิชาการตามยุทธศาสตร์สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ โครงการการเพิ่มทักษะในการวิเคราะห์ การใช้เหตุผล และการแก้ปัญหาวิชาพื้นฐาน โครงการโครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้และการวิจัยของนักศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการวิจัยในระดับสากลของนักศึกษา การร่วมวิจัยกับนักวิจัยในประเทศและต่างประเทศและการอบรมระยะสั้น โครงการโครงการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
8
แนวคิดในการดำเนินงาน
บัณฑิตศึกษา ปริญญาตรี Project Thesis Active learning Role model STEM การสอน การบริการวิชาการ ความรู้ใหม่ งานวิจัย Lecture การสอน Lecture การสอน ความรู้เดิม อาจารย์
9
ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน
ศูนย์เป็นเลิศนวตกรรมฟิสิกส์ยั่งยืน สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มวิจัยการสร้างแบบจำลอง ทางทฤษฎีและการคำนวณ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีโมเลกุล การเรียนการสอน การวิจัย หน่วยวิจัยการใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ ทางธรรมชาติ กลุ่มวิจัยสารสนเทศความหลาก หลายทางชีวภาพและจีโนมิกส์ บริการวิชาการ วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ หน่วยบริการวิชาการเพื่อการเรียน การสอนในโรงเรียน ศูนย์ความรู้เฉพาะด้านนิเวศวิทยาพยากรณ์ และการจัดการ ศูนย์พสวท. ศูนย์STEMศึกษา
10
การสร้างสรรค์ผลงานการวิจัย
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นโยบายและงบประมาณ นโยบายและงบประมาณ สถาบันวิจัยและพัฒนา สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ ปี56-58 อาจารย์ ทุนวิจัย บทความวิจัย การนำใช้ประโยชน์
11
คำถามและข้อเสนอแนะ ขอบคุณมาก
12
การประเมินผลการปฏิบัติงานปี57 การประเมินผลการปฏิบัติงานปี59
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.