งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พื้นฐานการพัฒนาคอมโพเนนต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พื้นฐานการพัฒนาคอมโพเนนต์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พื้นฐานการพัฒนาคอมโพเนนต์
อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยคอมโพเนนต์
วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงคอมโพเนนต์ (CBSE) หรือ การพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงคอมโพเนนต์ (CBD) สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์เน้นการแยกส่วนย่อยหรือฟังก์ชันการทำงานที่ครอบคลุมทั้งซอฟต์แวร์

3 คอมโพเนนต์และแนวคิดการใช้งานคอมโพเนนต์
เทคนิคของการแบ่งแยกส่วนประกอบ (Decomposition-Dividing) Component-Based Development (CBD) Component-Based Software Engineering (CBSE). แต่ละชิ้นส่วนเรียกว่า “คอมโพเนนต์”

4 การนำกลับมาใช้ใหม่ได้
คอมโพเนนต์เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม ทำหน้าที่อย่างอิสระในระบบ เป็นโมดูลขนาดเล็กหรือระบบย่อย ๆ การนำกลับมาใช้ซ้ำแบ่งได้ 3 ระดับ Application level  ใช้ทั้งหมดเป็นระบบย่อยของโปรแกรมใหม่ Component level ใช้เป็นระบบย่อยหนึ่งของแอปพลิเคชัน Modules level โมดูลการทำงานที่ใช้ซ้ำ

5 หัวข้อที่สนใจ บทนำ เป้าหมายของการพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์
ทำไมต้องพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์ คอมโพเนนต์คืออะไร การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยคอมโพเนนต์ แนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยคอมโพเนนต์ สรุปท้ายบท

6 เป้าหมายของการพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์
การสร้างชิ้นส่วนประกอบซอฟต์แวร์ที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ การนำชิ้นส่วนมาใช้เป็นส่วนประกอบได้อย่างเหมาะสม องค์ประกอบที่สำคัญ การพัฒนาคอมโพเนนต์ (ชิ้นส่วน) การสร้างอินเทอร์เฟซ (ส่วนต่อประสาน) การทำงานในรูปแบบโมดูล (module) การออกแบบที่มีโครงสร้าง (structure) และเชิงวัตถุ (object oriented) เทคนิคการออกแบบอินเทอร์เฟซ

7 ทำไมจึงต้องพัฒนาเชิงคอมโพเนนต์
ช่วยลดความซับซ้อน ช่วยลดเวลาในการจัดส่งซอฟต์แวร์ ทำให้สามารถปรับปรุงได้อย่างสม่ำเสมอ สามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ดีที่สุดของคลาส ช่วยเพิ่มผลผลิต ช่วยในการปรับปรุงคุณภาพ ช่วยเพิ่มความสามารถในการติดตามโครงการ ช่วยสนับสนุนการพัฒนาแบบคู่ขนานและแบบกระจาย ช่วยลดต้นทุนการบำรุงรักษา 5-เหตุผลที่คุณใช้-คูปองส.html

8 คอมโพเนนต์ การสร้างบล็อก (building blocks) พื้นฐานของโซลูชัน
ชิ้นส่วนประกอบของซอฟต์แวร์ องค์ประกอบพื้นฐานที่ใช้ประกอบเป็นซอฟต์แวร์ คอมโพเนนต์ มีมากกว่าโปรแกรมย่อยในวิธีการเขียนโปรแกรมแบบโมดูลาร์ วัตถุหรือคลาสในระบบเชิงวัตถุหรือแพ็กเกจ ใช้เป็นพื้นฐานสำหรับการออกแบบการใช้งานและบำรุงรักษา ชิ้นงานที่สามารถทำงานได้อย่างอิสระ และเข้าถึงบริการผ่านอินเทอร์เฟซ

9 ออบเจ็กต์และคอมโพเนนต์
กำหนดส่วนประกอบเป็นหน่วยที่สามารถส่งมอบได้ ประการที่หนึ่ง คอมโพเนนต์มีลักษณะเป็นชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ ประการที่สอง คอมโพเนนต์ประกอบด้วยฟังก์ชันที่มีประโยชน์ ประการที่สามคอมโพเนนต์ให้บริการผ่านอินเทอร์เฟซ

10 พื้นฐานเกี่ยวกับแนวคิดเชิงวัตถุ
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

11 หลักการพื้นฐานของแนวคิดเชิงวัตถุ
ออบเจ็กต์ (Objects) การห่อหุ้ม (Encapsulation) ระบุคุณลักษณะ (Identity) การดำเนินการให้เกิดผลลัพธ์ (Implementation) ส่วนต่อประสานของซอฟต์แวร์ (Interface) วัตถุที่นำมาใช้แทนสิ่งสนใจ (Substitutability)

12 ความสัมพันธ์ระหว่างคอมโพเนนต์และออบเจ็กต์
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

13 คอมโพเนนต์และการทำงานแบบกระจาย
ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับเทคโนโลยีเครือข่ายราคาถูก การกระจายโครงสร้างพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ในองค์กร องค์กรสร้างระบบเครือข่ายแบบกระจายที่ซับซ้อน จำเป็นต้องพัฒนาภาษาและวิธีการต่าง ๆ ที่รองรับโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางในการพัฒนาระบบแอปพลิเคชันมากมาย การสร้างระบบแบบกระจายด้วยวิธีนามธรรมต้องอาศัยการเขียนโปรแกรม

14 ความแตกต่างของการทำงานของระบบแต่ละชั้น
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

15 ส่วนประกอบของคอมโพเนนต์
องค์ประกอบของคอมโพเนนต์สามารถสื่อสารกันได้ การสร้างคอมโพเนนต์ด้วยแนวคิดเชิงวัตถุและกระจายการทำงาน ผู้ออกแบบและวิศวกรระบบมีความคุ้นเคยวิธีการใช้คอมโพเนนต์

16 คอมโพเนนต์คืออะไร Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

17 องค์ประกอบหลักของคอมโพเนนต์
การจัดการข้อกำหนดที่ชัดเจน (specification) อิมพลีเมนต์ได้อย่างน้อย 1 วิธี (One or more implementations) ข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานของคอมโพเนนต์ (component standard) วิธีการแพ็กเกจ (packaging approach) วิธีการติดตั้ง (deployment approach)

18 แอปพลิเคชันที่ประกอบด้วยคอมโพเนนต์
วิธีการเชิงคอมโพเนนต์ (component-oriented approach) ประสิทธิภาพในการออกแบบโซลูชันตามที่กำหนด (effectively design) สนับสนุนการพัฒนาระบบแบบกระจาย โดยใช้ระบบเดิมและแพ็กเกจใหม่

19 การพัฒนาระบบขององค์กรจากคอมโพเนนต์
Rational's Unified Process ทำแต่ละงานในแต่ละขั้นตอนให้สมบูรณ์ มุมมองการเลือกใช้คอมโพเนนต์ (Select Perspective Method) การพัฒนาซอฟต์แวร์ในองค์กรด้วยคอมโพเนนต์ที่ใช้ร่วมกันได้

20 กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงคอมโพเนนต์
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

21 แหล่งที่มาของคอมโพเนนต์
คอมโพเนนต์เป็นฟังก์ชันที่มีความอิสระ สามารถเข้าถึงผ่านอินเทอร์เฟซได้ คอมโพเนนต์ เป็นแพ็กเกจที่พัฒนาตามความต้องการทางธุรกิจ คอมโพเนนต์ของบุคคลที่สาม ที่พัฒนาแยกจากกัน และนำมาใช้งาน CBD มุ่งเน้นที่เทคนิคการแบ่งส่วน เพื่อให้เข้าถึงแพ็กเกจได้ในอนาคต มุมมองของ CBD เป็นพื้นฐานสำหรับรวมแอปพลิเคชันใหม่ ๆ

22 แหล่งที่มาของคอมโพเนนต์ (ต่อ)
การใช้ชิ้นส่วนที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้คอมโพเนนต์ทั้งหมดใช้งานได้ การจัดการคอมโพเนนต์ โดยใช้เครื่องมือในการจัดเก็บ ค้นหาและเรียกค้นคอมโพเนนต์ตามความต้องการได้ วิธีการออกแบบที่ช่วยให้โซลูชันนำคอมโพเนนต์มาใช้ได้ ผ่านฟังก์ชันการทำงานตามที่คิดและใช้งานลักษณะเฉพาะได้

23 การออกแบบที่เน้นส่วนเชื่อมต่อ
อินเทอร์เฟซเป็นกลไกที่คอมโพเนนต์เพื่อใช้อธิบายสิ่งที่ทำและการเข้าถึง อธิบายการเชื่อมต่อของคอมโพเนนต์นั้น การใช้งานจะถูกซ่อนไว้ภายใน การออกแบบตามอินเตอร์เฟซ เป็นสิ่งสำคัญในการออกแบบที่ยืดหยุ่น ส่วนสำคัญของการจัดเตรียมแอปพลิเคชันใหม่ ๆ ในยุคอินเทอร์เน็ต การออกแบบซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง วิธีการออกแบบที่ใช้อินเทอร์เฟซ ช่วยลดต้นทุนในการบำรุงรักษาระบบ

24 สถาปัตยกรรมคอมโพเนนต์และแอปพลิเคชัน

25 สถาปัตยกรรมคอมโพเนนต์และแอปพลิเคชัน
การออกแบบอินเตอร์เฟซของคอมโพเนนต์แต่ละชิ้นส่วน มุมมองการประกอบชิ้นส่วนของโซลูชันที่ใช้มากขึ้น คอมโพเนนต์เกี่ยวกับการออกแบบและสร้างแอปพลิเคชัน แอปพลิเคชันประกอบด้วยคอมโพเนนต์ที่ทำงานร่วมกัน สถาปัตยกรรมคอมโพเนนต์ (component architecture) คอมโพเนนต์และการปฏิสัมพันธ์ การโต้ตอบของออบเจ็กต์ที่ใช้พัฒนา

26 แนวทางในการปฏิบัติของ CBD
การใช้ส่วนประกอบจากเทคโนโลยีที่หลากหลาย ทำได้หลายวิธี โดยเฉพาะการพัฒนาแอปพลิเคชันบนแพลตฟอร์มต่าง ๆ แอปพลิเคชันขนาดใหญ่ที่มีฟังก์ชันทางธุรกิจจำนวนมาก ขึ้นอยู่กับความหลากหลายและเทคโนโลยีที่เข้ากันได้ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคอมโพเนนต์และการจัดการใช้คอมโพเนนต์ร่วมกัน

27 กลุ่มของผู้เกี่ยวข้อง
กลุ่มผลประโยชน์พิเศษ (Special Interest Groups) กลุ่มผู้ขาย (Vendor-Led User Groups) กลุ่มผู้ให้บริการคอมโพเนนต์ (Specialist Component Service Providers) ผู้ให้คำแนะนำและรายงานผล (Experience Reports and Advice)

28 ความพิเศษของคอมโพเนนต์
ส่วนประกอบในการพัฒนา (developers) ส่วนประกอบในการเป็นตัวแทน (brokers) ส่วนประกอบในการศึกษา (educators) พื้นฐานของการให้คำปรึกษา (Component-based consultants)

29 สรุปท้ายบท การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยคอมโพเนนต์ เป็นพื้นฐานของการพัฒนาซอฟต์แวร์ในกระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่เป็นมาตรฐาน เน้นการออกแบบคอมโพเนนต์หรือส่วนประกอบที่ใช้ร่วมกันได้ ใช้อินเทอร์เฟซเป็นส่วนต่อประสานระหว่างคอมโพเนนต์ การแบ่งแยกส่วนประกอบในการเขียนโปรแกรม เพื่อกระจายการทำงานและเชื่อมต่อการทำงานผ่านออบเจ็กต์ของคอมโพเนนต์ การนำไปใช้ต้องเข้าใจโครงสร้างการทำงานของคอมโพเนนต์นั้น ๆ การนำเครื่องมือที่มีอยู่มาช่วยในการนำมาใช้งาน


ดาวน์โหลด ppt พื้นฐานการพัฒนาคอมโพเนนต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google