งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การขับเคลื่อน Cluster วัยทำงาน ปี 2562 ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี

2 สถานการณ์วัยทำงาน

3 ภาพรวมประชากรวัยทำงาน
3 2 วัยทำงานตอนปลาย อายุ ปี วัยทำงานตอนต้น อายุ ปี ชาย: ,565,609 หญิง: 7,281,029 รวม: ,846,638 ชาย: 6,936,028 หญิง: 7,597,325 รวม: 14,533,353 1 วัยทำงานตอนกลาง อายุ ปี ชาย: 8,217,300 หญิง: 8,328,143 รวม: 16,545,443 ที่มา: ข้อมูลประชากรไทย ปี 2560 สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ดาวน์โหลดไฟล์ excel ข้อมูลประชากรจากเว็บไซต์ คลัสเตอร์วัยทำงาน

4 Assessment สถานการณ์แรงงานในสถานประกอบการที่ขึ้นทะเบียนในระบบ
ผู้ประกันตน ม ,858,657 คน ผู้ประกันตน ม ,381, คน ผู้ประกันตน ม ,481, คน

5 (เบาหวาน หลอดเลือดสมอง)
อุบัติเหตุ NCD (เบาหวาน หลอดเลือดสมอง)

6

7 ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ
Level แสดงผลการดำเนินงานเทียบกับเป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ เป้าหมายร้อยละ 55 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ข้อมูลของปี 61 เป็นข้อมูล ณ วันที 19 สิงหาคม 2561

8 สรุปผลวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์วัยทำงาน
พฤติกรรมการกินผัก พฤติกรรมการปรุงรสเค็ม พฤติกรรมการดื่มรสหวาน

9 สรุปผลวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์วัยทำงาน
พฤติกรรม PA เพียงพอ พฤติกรรมการนอนเพียงพอ แปรงฟันก่อนนอน นาน 2 นาที

10 สรุปผลวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์วัยทำงาน
พฤติกรรมการเนือยนิ่ง พฤติกรรมการสูบบุหรี่

11 Concept Smart citizen วัยทำงาน
Goal : วัยทำงาน หุ่นดี สุขภาพดี 2. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและช่องทางการสื่อสาร กลยุทธ์ 1. พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ อาหาร ออกกำลังกาย นอน ฟัน BMI 3.เสริมสร้างศักยภาพภาคีเครือข่ายทุกกระดับ = Assessment สถานการณ์ BMI ระดับเขตจากฐานข้อมูล HDC โครงการ/กิจกรรม Start พัฒนาศักยภาพบุคลากร สนับสนุนชุดความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานในสถานประกอบการ พัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานตอนปลายเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ ผลักดันนโยบายและขับเคลื่อนภาคสังคม ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานระดับจังหวัด สถานประกอบการ/องค์กร/สถานบริการ/ชุมชน Smart Teenage วัยทำงานตอนต้น ( ปี) วัยทำงานตอนกลาง ( ปี) วัยทำงานตอนปลาย ( ปี) Smart Elderly ที่มา : Cluster วัยทำงาน กรมอนามัย

12 ตัวชี้วัดเดิม ตัวชี้วัดติดตาม
ผลการดำเนินงานปี 2560 ผลการดำเนินงานปี 2561 ค่าเป้าหมาย ปี 2562 ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปี มี BMI ปกติ ระดับประเทศ ระดับเขต (เขต 5) 51.8 51.94 52.82 53.76 53 ตัวชี้วัดติดตาม ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปี กลุ่มอ้วน (BMI ≥ 25) 23.16 22.07 22 ปี มี BMI ปกติ 49.01 46.15 46 ปีกลุ่มอ้วน (BMI ≥ 25) 27.17 26.29 26 ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม (กินผัก) 26.5 29.58 30 ร้อยละของวัยทำงานมีกิจกรรทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ(PA) 19.4 26.11 27 ร้อยละวัยทำงานดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม (แปรงฟันก่อนนอน) 66.8 48.1 50

13 ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัดยุทธศาตร์: ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปีมีดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ภายใต้กิจกรรมสำคัญ: * ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานระดับเขต (เน้นกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง) บริบท: สถานบริการสาธารณสุข สถานประกอบการ และชุมชน * พัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ พัฒนาศักยภาพบุคลากร

14 วัยทำงานศตวรรษที่ 21 หุ่นดี สุขภาพดี
โครงการสำคัญ วัยทำงานศตวรรษที่ 21 หุ่นดี สุขภาพดี กิจกรรมสำคัญ ระดับกรม ผลักดันนโยบายและขับเคลื่อนภาคสังคม ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน ระดับเขต พัฒนาชุดความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานตอนปลาย (Pre Aging) เป้าหมาย -กระทรวง สธ./มท./รง./พม. -ปชช.วัยทำงานอายุ ปี ปชช.วัยทำงานอายุ ปี ใน 3 setting ปชช.วัยทำงานอายุ ปี บุคลากรระดับเขต ปชช.วัยทำงานอายุ ปี ผลที่คาดว่าจะได้รับ -ผลักดันขับเคลื่อนนโยบาย -เกิดกระแส ปชช.ใส่ใจ สุขภาพ -การประเมินสถานการณ์ -รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพ ได้องค์ความรู้ที่เหมาะสม ทันสมัยและประชาชนวัยทำงานเข้าถึงได้ง่าย บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพ และเกิดความรอบรู้ -ได้ระบบเฝ้าระวังครบทั้ง 77 จังหวัด -ได้ Application ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน วัยทำงานตอนปลายมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

15 ตัวอย่างมาตรการที่ผ่านมา

16 ตัวอย่างมาตรการที่ผ่านมา
ตัวอย่างต่างประเทศ สิงคโปร์: Healthy living Master plan ญี่ปุ่น: National Health Promotion plan เยอรมันนี : Preventive Healthcare Act 2015 ฯลฯ

17 โครงการสำคัญวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 ปี 62
ขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มวัยทำงานอายุ ปี ใน 3 บริบท ดังนี้ 1)ในสถานบริการสาธารณสุข 2)ในสถานประกอบการ 3)ในชุมชน เพื่อให้วัยทำงานมีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ ภาวะอ้วนไม่เพิ่มขึ้น มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ประกอบด้วย โครงการวัยทำงานศตวรรษที่ 21 หุ่นดีสุขภาพดี เขตสุขภาพที่ 5 โครงการ :สร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี (โครงการพระราชดำริ)

18 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best practice
1. โครงการวัยทำงานศตวรรษที่ 21 หุ่นดีสุขภาพดี เขตสุขภาพที่ 5 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังร่วมกับกรมอนามัยผ่าน google form การพัฒนาบุคลากรเพื่อสร้างความรู้ด้านสุขภาพ สู่ 3 SETTING Setting สถานบริการ *การพัฒนาแนวทางการยกระดับการขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Rebrand DPAC ) ในสถานบริการสาธารณสุข สู่ศตวรรษที่ 21 ประชาชนหุ่นดี สุขภาพดี 8 จังหวัด Setting สถานประกอบการ *การพัฒนาศักยภาพแกนนำภาคีเครือข่ายสถานประกอบการเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพสู่พนักงานหุ่นดี สุขภาพ ศตวรรษที่ 21 (สมุทรสาคร,ราชบุรี) Setting ชุมชน *การพัฒนาศักยภาพและสร้างความรอบรู้ผู้นำชุมชน (Health leader) สู่การเป็น Health coach ระดับตำบล เพื่อชุมชนหุ่นดี สุขภาพดีในศตวรรษที่ 21 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best practice การพัฒนารูปแบบความรอบรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานและเตรียมความพร้อมสู่สูงวัย ในสถานบริการสาธารณสุข สถานประกอบการและชุมชน ในศตวรรษที่ 21

19 2. โครงการสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี (โครงการพระราชดำริ)
1.1 โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม * สำรวจสถานการณ์พฤติกรรม BSC 1.2 โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุ * จัดงานรณรงค์สาวไทยแก้มแดง 14 กุมภาพันธ์ 2562 1.3 โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติ * ขับเคลื่อนชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีนผ่านการรับรองเพิ่มขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ 10 * พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข * เก็บ URINE ไอโอดีน ในหญิงตั้งครรภ์ 300 case/จังหวัด (โอนเงินให้จังหวัดละ 10,000 บาท) - มกราคม –กุมภาพันธ์ 62 (ส่งตรวจวิเคราะห์ศูนย์อนามัยที่ 5 เดือนมีนาคม 2562) * จัดงานรณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ (25 มิถุนายน 2562) * สุ่มสำรวจเกลือเสริมไอโอดีนในหมู่บ้าน ตำบลละ 30 ตัวอย่าง (ศูนย์ฯสนับสนุนชุด I-Kit)

20 บทบาทศูนย์อนามัย

21 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google