ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทบาทการดูแลผู้สูงอายุ โดย อ.ชุติมา รักษ์บางแหลม
โดย อ.ชุติมา รักษ์บางแหลม
3
ท้าทายความสามารถของสังคมด้วย
การที่ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้นถือว่าเป็นชัยชนะของมวลมนุษยชาติ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นการ ท้าทายความสามารถของสังคมด้วย “Population ageing is a triumph of humanity but also a challenge to society” WHO at Geneva, 2002
4
ประเทศที่มีอัตราส่วนผู้สูงอายุมากที่สุด
อายุ ≥ 60 ปี ลำดับที่ ญี่ปุ่น 27.9 1 อิตาลี 26.4 2 เยอรมัน 25.3 3 ไทย 11.0 68 UN, 2007
5
อัตราส่วนประชากรผู้สูงอายุทั่วโลก
UN, 2007
7
การกระจายตัวของประชากรผู้สูงอายุ
.
8
การกระจายตัวของประชากรผู้สูงอายุ
จำนวนสูงสุด 5 จว.แรก นครราชสีมา เชียงใหม่ ขอนแก่น นครศรีธรรมราช อุบลราชธานี
9
ใครคือผู้สูงอายุ ? USA: ≥ 65 ปี UK, THAILAND: ≥ 60 ปี AFRICA: ≥ 50 ปี
10
กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ ปี) เป็นผู้ที่ยังแข็งแรง สุขภาพดี อยู่ได้ตามลำพัง เป็นอิสระ ช่วยเหลือตนเองได้ ควรมีการจรรโลงสุขภาพที่ดีไว้ กลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุตอนปลาย (อายุ ปี) ถ้าไม่มีโรคประจำตัวและดูแลสุขภาพดีก็ยังแข็งแรง แต่ต้องพึ่งพิง ควรได้รับการช่วยเหลือในชีวิตประจำวัน และการเฝ้าระวังทางสุขภาพ กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุสูงสุด (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องการผู้ดูแลช่วยเหลือในชีวิตประจำวันต้องการดูแลด้านการแพทย์และเวชศาสตร์ผู้สูงอายุตามสาเหตุ ซึ่งอาจจะเป็นการดูแลที่บ้านหรือสถานพยาบาลที่ต้องการความต่อเนื่องของบริการที่มีลักษณะแบบบูรณาการ
11
กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ ปี) เป็นผู้ที่ยังแข็งแรง สุขภาพดี อยู่ได้ตามลำพัง เป็นอิสระ ช่วยเหลือตนเองได้ ควรมีการจรรโลงสุขภาพที่ดีไว้ กลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุตอนปลาย (อายุ ปี) ถ้าไม่มีโรคประจำตัวและดูแลสุขภาพดีก็ยังแข็งแรง แต่ต้องพึ่งพิง ควรได้รับการช่วยเหลือในชีวิตประจำวัน และการเฝ้าระวังทางสุขภาพ กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุสูงสุด (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องการผู้ดูแลช่วยเหลือในชีวิตประจำวันต้องการดูแลด้านการแพทย์และเวชศาสตร์ผู้สูงอายุตามสาเหตุ ซึ่งอาจจะเป็นการดูแลที่บ้านหรือสถานพยาบาลที่ต้องการความต่อเนื่องของบริการที่มีลักษณะแบบบูรณาการ
12
สุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ 4 หลักการ
พึ่งตนเอง อยู่เพื่อดูแลตนเองได้ให้ยืนยาวที่สุด ครอบครัวเกื้อหนุน อยู่เพื่อความอบอุ่นในครอบครัวให้นานที่สุด ชุมชนช่วยเหลือ อยู่เพื่อสานสัมพันธ์กับเพื่อนให้นานที่สุด สังคม รัฐเกื้อหนุน อยู่เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตในสังคมได้ดีที่สุด
13
สิทธิและความมั่นคงด้านสุขภาพ
สถานะสุขภาพ การดูแล การส่งเสริม การป้องกัน ไม่ป่วย สมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มปัจจัยเสริม ลดปัจจัยเสี่ยง ป่วย เข้าถึงบริการ คุณภาพบริการ ไม่ป่วยซ้ำ พิการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ คุณภาพชีวิตในสังคม ไม่พิการซ้ำ
14
สภาวะทุพพลภาพและภาวะพึ่งพาในผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุทุก 1 ใน 4 คน เจ็บป่วยทุพพลภาพ ผู้สูงอายุทุก 1ใน 5 คนทุพพลภาพระยะยาว (มากกว่า 6 เดือน) 7% พึ่งพาผู้อื่น เมื่อปฏิบัติกิจวัตรส่วนตัว 11.5% พึ่งพาผู้อื่น ยามออกนอกเคหะสถาน 45% พึ่งพาผู้อื่น เมื่อใช้การขนส่งสาธารณะ 28% ของเตียงผู้ป่วย คือผู้สูงอายุ
15
มาตรฐานผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดมาตรฐานผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ไว้ 4 ประการ ดังนี้ 1. มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ 2. มีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ 3. มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ 4. สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามอัตภาพ
16
สถานภาพสมรสผู้สูงอายุ
17
ลักษณะการอยู่อาศัย ปัญหาการอยู่คนเดียว
18
พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
ทั้งสอง การออกกำลังกายสม่ำเสมอ สุรา บุหรี่
19
โรควิถีชีวิต มะเร็ง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ หลอดเลือดสมอง
20
อัตราการเป็นโรคเรื้อรัง
มะเร็ง 0.5 หลอดเลือดสมองตีบ 1.6 อัมพาต อัมพฤกษ์ 2.5 หัวใจ 7.0 เบาหวาน 13.3 ความดันโลหิตสูง 31.7
21
ทำอย่างไรให้ผู้สูงอายุตระหนักและแลเห็นคุณค่าของตัวเอง โดยส่วนมากผู้สูงอายุมักจะใจน้อย เราต้องทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า เมื่อรู้สึกอย่างนี้ก็จะภูมิใจในชีวิตตนเอง สุขภาพก็จะแข็งแรงขึ้น แล้วทำอย่างไรจึงจะทำให้ท่านรู้สึกว่าชีวิตตนมีคุณค่า
22
นั่นคือ สิ่งที่ต้องเข้าใจ คือ อายุมากขึ้น โรคก็ยิ่งมากขึ้น
ฐานะพึ่งพาก็ยิ่งมากขึ้น เราก็ต้องใช้ทรัพยากรทางด้านสุขภาพมากขึ้น ...
24
บทบาทการดูแลผู้สูงอายุของครอบครัวและผู้ดูแล
ขึ้นอยู่กับ ปัจจัยภายในครอบครัว และปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายในครอบครัว ได้แก่ ผู้ดูแลหลักและสมาชิกครอบครัวคนอื่นๆ ปัจจัยภายนอกได้แก่ การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐบาล ภาคเอกชน กลุ่มเพื่อนบ้าน ผู้นำชุมชน และศาสนาที่
25
ปัจจัยภายในครอบครัวเป็นพื้นฐานที่สำคัญ
ลักษณะการดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวจะมีการกำหนดให้มี ผู้ดูแลหลัก ที่ทำหน้าที่ดูแล ด้านอาหาร ด้านการกินยา ด้านความสะอาด ด้านสุขภาพโดยรวม สมาชิกครอบครัวคนอื่น ๆ จะให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ด้านเงินทอง เสื้อผ้า ของใช้ที่จำเป็น
26
โดยสรุปสิ่งที่ครอบครัวให้การดูแลผู้สูงอายุ ครอบคลุมในด้านต่าง ๆ ได้แก่
ด้านสุขภาพอนามัย ด้านอาหาร ด้านโภชนาการ ด้านการเงิน ด้านเครื่องนุ่งห่ม ด้านเครื่องอุปโภค บริโภค ด้านที่อยู่อาศัย
27
บทบาทของผู้ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ควรตระหนักถึงความรับผิดชอบในบทบาทการส่งเสริมให้ดูแลสุขภาพตนเองทั้งในภาวะปกติและ เมื่อเจ็บป่วยได้ดังนี้ 1. การกระทำให้หรือกระทำแทน 2. การชี้แนะ 3. การสนับสนุน
28
บทบาทของผู้ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
4. การสอน 5. การสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเอง **การจะใช้วิธีใดในการส่งเสริมดูแลตนเองของผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสมนั้น จำเป็นต้องทราบถึงสภาพที่แท้จริงของผู้สูงอายุ
29
โดยสรุปบทบาทของครอบครัวและผู้ดูแล ควรมีดังนี้
ครอบครัวและผู้ดูแลควรแสวงหาความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ส่งเสริมให้สมาชิกครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ สร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุของสมาชิกในครอบครัวได้รับทราบ ผู้ดูแลควรศึกษาและหาข้อมูลเกี่ยวกับเครือข่ายการดูแลและทรัพยากรต่างๆที่จะมาสนับสนุนผู้สูงอายุ
31
การที่ครอบครัวให้การดูแลผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดีทำให้ผู้สูงอายุมี
ความรู้สึกมั่นใจและเชื่อมั่นว่าครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้ แต่ในภาวะปัจจุบันครอบครัวและผู้สูงอายุประสบปัญหาหลายประการได้แก่ ปัญหาด้านสุขภาพ ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ปัญหาด้านการเงิน จึงมีความ ต้องการให้ช่วยเหลือทั้งต่อผู้สูงอายุ และช่วยเหลือสมาชิกของครอบครัวเพื่อ เสริมสร้างให้มีศักยภาพเข้มแข็งสามารถดูแลผู้สูงอายุได้
32
ปัจจัยภายนอกได้แก่การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐบาล ภาคเอกชน กลุ่มเพื่อนบ้าน ผู้นำชุมชน และศาสนาที่ช่วยแบ่งเบาภาระที่เกินความสามารถของครอบครัวที่จะดูแลผู้สูงอายุได้
34
กิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (basic activity of daily living) ใช้เครื่องมือประเมิน คือ ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล(barthel ADL index) เพื่อประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ ช่วยให้ผู้ดูแลสามารถช่วยเหลือ/ดูแลผู้สูงอายุให้ตรงกับความต้องการตามสภาพของผู้สูงอายุ
35
4.Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด)
Barthel Index of Activity of daily living 1.Transfer (ลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตียงไปเก้าอี้) 2.Mobility (การเคลื่อ1นที่ภายในห้องหรือในบ้าน) 3.Toilet use (การใช้ห้องสุขา) 4.Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด) 5.Bladder (การกลั้นปัสสาวะ)
36
6.Bowel (การกลั้นอุจจาระ)
7.Bathing (การอาบน้ำ) 8.Feeding (การรับประทานอาหาร) 9.Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า) 10.Stair (การขึ้นลงบันได 1 ขั้น)
37
การแปลผลคะแนน 0-4 คะแนน ต้องพึ่งพาผู้ดูแลทั้งหมด กิจกรรมการดูแล ทำกิจกรรมพื้นฐานให้ผู้ป่วยทั้งหมด 5-8 คะแนน ต้องพึ่งพาผู้ดูแลเป็นส่วนใหญ่ กิจกรรมการดูแล ทำกิจกรรมพื้นฐานให้ผู้ป่วยเป็นส่วนใหญ่
38
9-11 คะแนน ต้องพึ่งพาผู้ดูแลบางส่วน
กิจกรรมการดูแล ทำกิจกรรมพื้นฐานให้ผู้ป่วยเป็นบางส่วน กระตุ้นให้ผุ้สูงอายุช่วยเหลือตนเอง 12 คะแนนขึ้นไป ทำกิจกรรมได้เองเป็นส่วนใหญ่ กิจกรรมการดูแล กระตุ้นให้ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด
39
กิจวัตรประจำวัน นั่งขี้ นั่งเยี่ยว ลุก เดินเที่ยว ขึ้นลงบันได
ตื่นเช้าอาบน้ำ แปรงฟัน รับประทานอาหาร อย่าลืมแต่งตัว เข้าห้องส้วม นั่งขี้ นั่งเยี่ยว ลุก เดินเที่ยว ขึ้นลงบันได
40
ถาม ผู้สูงอายุอาศัยอยู่บ้านกับบุตรสาว เมื่อประเมินดัชนีบาร์เธล เอดีแอล (Barthel ADL index) ได้ คะแนน ท่านจะแนะนำให้บุตรสาวดูแลผู้สูงอายุอย่างไร 1. ช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวันอย่างใกล้ชิด 2. พาผู้สูงอายุไปทำกายภาพบำบัดที่โรงพยาบาล 3. กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง 4. กระตุ้นให้ผู้สูงอายุเดินออกกำลังทุกวัน
41
ตอบ ข้อ 1. ช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวันอย่างใกล้ชิด
42
หลังจากประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้ดัชนีบาร์เทลเอดีแอลของผู้สูงอายุได้ ๑๖ คะแนน จะให้คำแนะนำผู้ดูแลอย่างไร ๑. ให้ล้างหน้าแปรงฟันบนเตียงเท่านั้น ๒. ส่งเสริมให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง ๓. ให้เช็ดตัวในส่วนที่เช็ดได้เองและเดินรอบเตียงได้ ๔. ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอย่างใกล้ชิด
43
ตอบข้อ ๒ หลักการ ส่งเสริมให้ดูแลตนเองตามความสามารถ 43
44
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยเรื้อรังที่มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน คือข้อใด
ให้ญาติช่วยปฏิบัติกิจกรรมทุกอย่าง ให้ผู้สูงอายุปฏิบัติกิจกรรมเองทุกอย่าง จัดให้มีผู้ดูแลใกล้ชิดตลอด 24 ชั่วโมง ให้ผู้สูงอายุปฏิบัติกิจกรรมตามความสามารถ
45
กิจกรรมในข้อใดเหมาะสมมากที่สุดสำหรับผู้สูงอายุ
1. พาผู้ป่วยโรคหัวใจระยะพักฟื้นนั่งรถเข็นชมสวนหย่อม 2. ช่วยยกแขน-ขา ออกกำลังกายผู้ป่วยหูหนวก 3. ฝึกให้ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกสวมเสื้อเอง 4. ป้อนอาหารผู้ป่วยอ่อนเพลีย
46
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทุกอย่าง
ผู้สูงอายุวัย 89 ปี ช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจกรรมได้น้อย ท่านจะดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายนี้อย่างไร ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทุกอย่าง กระตุ้นให้ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆด้วยตนเอง ให้ญาติคอยให้ความช่วยเหลือเท่าที่จำเป็น ให้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองตามความสามารถ การดูแลผู้สูงอายุ เน้นการดูแลตนเองเป็นอันดับแรก เน้นครอบครัว และการสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง 46
48
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
1. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุดูแลช่วยเหลือตนเองให้ได้อยู่ในครอบครัวที่มีความเอื้ออาทร โดยชุมชนมีส่วนร่วมช่วยเหลือ หน่วยงานบริการทางการแพทย์หรือทางสังคมจะเข้าไปช่วยเหลือเมื่อมีความต้องการหรือมีปัญหา 2. แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุตามนิยามขององค์การสหประชาชาติเป็น 3 กลุ่ม เพื่อการแลช่วยเหลือที่แตกต่างกันตามความเหมาะสมของสภาวะทางกาย ทางจิต และสภาวะพึ่งพิง รวมถึงความต้องการที่แตกต่างกัน
49
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ในระดับนโยบาย กำหนดมาตรการเกี่ยวกับการส่งเสริมศักยภาพครอบครัว รณรงค์องค์กรท้องถิ่น องค์กรชุมชนให้ตระหนักในการจัดกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุและครอบครัว เตรียมการป้องกันปัญหาในอนาคต ผลักดันให้กองทุนในชุมชน จัดสรรงบประมาณเพื่อช่วยเหลือและดูแลผู้สูงอายุทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
50
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ระดับปฏิบัติควร จัดบริการด้านสุขภาพไปสู่ผู้สูงอายุและ สนับสนุนครอบครัวในชุมชนในรูปแบบที่บูรณาการและอย่างต่อเนื่อง จัดบุคลากรสาธารณสุขไปให้คำแนะนำแก่ครอบครัว อบรมอาสาสมัครในชุมชน พัฒนาระบบอาสาสมัครและเครือข่ายความช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุ จัดกิจกรรมสำหรับครอบครัวหรือสมาชิกในครอบครัวที่ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
52
พญ.สิรินทร ฉันศิริกาญจน แพทย์ผู้ดูแลผู้สูงอายุ
ได้แยกการดูแลผู้สูงอายุด้านต่างๆเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจและต่อการจำเป็น 11 อ. อาหาร อนามัย ออกกำลังกาย อุจจาระ ปัสสาวะ อากาศ แสงอาทิตย์ อารมณ์ อดิเรก อนาคต อบอุ่น อุบัติเหตุ
54
อย่าให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างนกน้อยในกรงทอง
ผู้สูงอายุคือพ่อแม่ไม่ใช่ลูก อย่าปฏิบัติกับท่านเช่นเดียวกับลูกเข้าใจผู้สูงอายุ อย่าข่มเหง ดุด่าว่ากล่าวผู้สูงอายุ เราทำกับพ่อแม่อย่างไร ลุกหลานก็จะทำกับเราอย่างนั้น สิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการจากครอบครัว คือ
57
ขอบคุณค่ะ .
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.