ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยเอกใหม่ ตั้งตระกูล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
2
เป้าหมายหลักในยกระดับคุณภาพ
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติชั้นพื้นฐาน (O-NET) การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT)
3
องค์ประกอบสำคัญในการจัดการเรียนรู้ (OLE)
ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ Objective มาตรฐานและตัวชี้วัด Learning การจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐาน Evaluation การวัดและประเมินผลตามมาตรฐาน ยกระดับคุณภาพของผู้เรียน
4
กิจกรรมการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
5
กิจกรรมการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
๑) การวิเคราะห์ผลการประเมินและจัดทำฐานข้อมูล ๕) การกำกับและติดตามการดำเนินงาน ๒) การสร้างความตระหนัก สื่อสาร และความเข้าใจแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ๔) การวางระบบสนับสนุน ส่งเสริม และสร้างความเข็มแข็งในการดำเนินงาน ๓) การพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
6
1) การวิเคราะห์ผลการประเมินและจัดทำฐานข้อมูล
7
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด และ สาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ของแต่ละสถานศึกษาแต่ละแห่ง เพื่อ - ค้นหามาตรฐานและตัวชี้วัดที่ต้อง แก้ไข - ค้นหาเนื้อหาสาระการเรียนรู้ที่ต้อง แก้ไข
8
การวิเคราะห์มาตรฐานที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน
อิงเกณฑ์ (คะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 50) อิงกลุ่ม
9
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน
อิงเกณฑ์ อิงกลุ่ม (คะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 50)
10
คะแนนเฉลี่ย ของเขตพื้นที่
จัดกลุ่มสถานศึกษาจากผลการทดสอบ O-NET ออกเป็นกลุ่มคุณภาพ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดีมาก กลุ่มดี กลุ่มพอใช้ และ กลุ่มปรับปรุง เพื่อค้นหาสถานศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย และวางแผนในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังต่อไปนี้ คะแนนเฉลี่ย ของเขตพื้นที่ 10% แรก 10% สุดท้าย เพิ่มหัว หดหาง
11
วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและกำหนด แนวทางการแก้ไขปัญหา ในแต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา (พิจารณาจากสภาพบริบทต่างๆของ สถานศึกษา) - แหล่งสาเหตุของปัญหา - จุดอ่อน/อุปสรรค - จุดแข็ง/โอกาส - แนวทางการแก้ปัญหา (สอดคล้องกับ 3 ประเด็นข้างต้น)
12
กำหนดกลยุทธ์และแผนในการยกระดับ คุณภาพผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนของแต่ละเขตพื้นที่ การศึกษา และสถานศึกษา ที่สอดคล้อง สาเหตุของสภาพปัญหา บุคลากร งบประมาณ การบริหารจัดการ สื่ออุปกรณ์ ปัญหา ร.ร.1 ปัญหา ร.ร.2 ปัญหา ร.ร.4 ปัญหา ร.ร…. แนวทาง แก้ไขปัญหา ปัญหา ร.ร.3 แนวทาง แก้ไขปัญหา กลยุทธ์ SWOT
13
การวิเคราะห์สภาพบริบทของสถานศึกษา (SWOT Analysis)
ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ ทำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ปัจจัย ภายในสถานศึกษา จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) ปัจจัย ภายนอกสถานศึกษา โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats )
14
การกำหนดกลยุทธ์ แผนงาน โครงการ กิจกรรม
ของสถานศึกษา กลยุทธ์สร้างความเติบโต(Growth Strategy) ปัจจัยภายในสถานศึกษา จุดเด่น (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) ปัจจัย ภายนอกสถานศึกษา โอกาส (Opportunities) 2 1 กลยุทธ์รักษาเสถียรภาพ(Stability Strategy) อุปสรรค (Threats ) 3 4 กลยุทธ์ตัดทอน (Retrenchment Strategy)
15
การกำหนดกลยุทธ์ แผนงาน โครงการ กิจกรรม ของสถานศึกษา
กลยุทธ์สร้างความเติบโต(Growth Strategy) จุดเด่น (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) S+O = Matching approach กลยุทธ์ “ผนึกพลัง” เพื่อใช้จุดแข็ง และโอกาสใหม่ในการแก้ปัญหา W+O = Off-set approach กลยุทธ์ “ทดแทน” แก้ไขจุดอ่อน โดยใช้โอกาสที่มีอยู่ขององค์การ อุปสรรค (Threats ) S+T = Covering approach กลยุทธ์ “โอบล้อม” การอาศัยจุดแข็ง ต้านและตรึงภาวะคุกคามที่มีต่อวัตถุประสงค์ขององค์การ W+T = Mitigation approach กลยุทธ์ “บรรเทา” เพื่อหาทางแก้ไขจุดอ่อน และเลี่ยงภาวะคุกคามที่บดบังวัตถุประสงค์ขององค์การ กลยุทธ์ตัดทอน (Retrenchment Strategy) กลยุทธ์รักษาเสถียรภาพ(Stability Strategy)
16
ยุทธศาสตร์พระราชทานของพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
(เข้าใจ) (เข้าถึง) (พัฒนา) SWOT SWOT แนวทางการพัฒนา กลยุทธ์ แนวทางการพัฒนา คะแนน เฉลี่ยเขต แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนา ทุกโรงเรียน เฉพาะโรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
17
2) การสื่อสารสร้างความเข้าใจกับครูและผู้บริหาร เกี่ยวกับการสอบ NT/O-NET
18
จัดส่งและเผยแพร่แผนผังโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษา เพื่อให้วิเคราะห์ตัวชี้วัดต้องรู้ที่ใช้ ออกข้อสอบ และวางแผนการเรียนการสอน เตรียมความพร้อมในการสอบ
19
ชี้แจงแนวทางการสอบ NT/O-NET รูปแบบข้อสอบ และลักษณะข้อสอบให้ สถานศึกษารับทราบ
20
3) การพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
21
จัดทำหลักสูตรสำหรับใช้ในการพัฒนา บุคลากรระดับเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อ ยกระดับคุณภาพผู้เรียนในการทดสอบ ระดับชาติ (NT/O-NET) พัฒนาวิทยากรแกนนำระดับเขตพื้นที่ การศึกษาในการพัฒนาครูเพื่อยกระดับ คุณภาพผู้เรียนในการทดสอบระดับชาติ (NT/ O-NET) จำนวน 225 เขต ๆ ละ 7 คน จัดสรรงบประมาณให้เขตพื้นที่การศึกษา สำหรับพัฒนาครู เพื่อยกระดับคุณภาพ ผู้เรียนในการทดสอบระดับชาติ (NT/O- NET) สร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้เพื่อพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผลในระดับเขตพื้นที่การศึกษา โดยชุมนุมนักวัดและประเมินผลฯ
22
หลักสูตรสำหรับใช้ในการพัฒนาบุคลากรระดับ เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนในการทดสอบ ระดับชาติ (NT/O-NET) กิจกรรมในการพัฒนา นโยบายและแผนการขับเคลื่อนด้านการวัดและ ประเมินผลฯ การศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดในการสอบ NT/O- NET (Test Blueprint) การจัดสอบ Pre O-NET การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรและ การออกแบบการวัดผล การสร้างข้อสอบเลือกตอบ การสร้างข้อสอบเขียนตอบและการตรวจให้คะแนนที่ เป็นมาตรฐาน การนำผลการประเมินไปใช้ในการจัดแผนพัฒนา คุณภาพผู้เรียน
23
4) การวางระบบการสนับสนุน ส่งเสริมความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
24
จัดทำหลักสูตร/คู่มือ/ใบงาน และสื่อต่างๆ สำหรับใช้ในการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาในการสร้างเครื่องมือประเมิน คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร เพื่อยกระดับ คุณภาพผู้เรียนในการทดสอบระดับชาติ (NT/O-NET) พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลในชั้น เรียนที่สอดคล้องสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐาน/ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ การวัดและประเมินผลในชั้นเรียน โดย พัฒนาบุคลากรระดับเขตพื้นที่และ สถานศึกษา เรื่อง การสร้างข้อสอบอัตนัย และการตรวจข้อสอบที่ได้มาตรฐานตามแนว การสอบ NT/O-NET บริการแบบสอบอัตนัยให้แก่สถานศึกษา เพื่อเตรียมสอบ NT/ O-NET
25
จัดสอบ Pre O-NET เพื่อสร้าง ความคุ้นเคยเกี่ยวกับข้อสอบให้แก่ผู้เรียน และนำผลการทดสอบ Pre O-NET มา จัดทำแผนพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่าง เร่งด่วน จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ในลักษณะของ “สถานศึกษาคู่พัฒนา” โดยจับคู่สถานศึกษาในกลุ่มดีมากกับกลุ่ม ต้องปรับปรุงเป็น “สถานศึกษาคู่พัฒนา” คอยเป็นพี่เลี้ยงชี้แนะ (Coaching) ถ่ายทอดประสบการณ์ในการยกระดับ คุณภาพให้แก่กลุ่มต้องปรับปรุง เช่น วิเคราะห์มาตรฐานและสาระการเรียนรู้ที่ ต้องปรับปรุงเร่งด่วนเพื่อการพัฒนา จัด ค่ายอบรมวิชาการภายในโรงเรียน และจัด ทีมพี่เลี้ยงคอยช่วยเหลือสถานศึกษา (Roving Team) เป็นต้น
26
5) การกำกับและติดตามการดำเนินงานยกระดับ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
27
กำกับติดตามการดำเนินกิจกรรมยกระดับ คุณภาพของผู้เรียนในการทดสอบ ระดับชาติ (NT/O-NET) ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาและเครือข่าย สถานศึกษา ติดตาม ช่วยเหลือ และชี้แนะการ ดำเนินงานแก่เขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษาในการยกระดับคุณภาพของ ผู้เรียนในการทดสอบระดับชาติ (NT/O- NET)
28
งบประมาณในการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
29
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาละ 365,000 บาท จำแนกเป็น
งบประมาณในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาละ 365,000 บาท จำแนกเป็น 1. การวิเคราะห์ผลการประเมินฯ 20,000 บาท 2. การสร้างความตระหนักฯ 30,000 บาท 3. การพัฒนาครูและบุคลากรฯ 200,000 บาท 4. การระบบการสนับสนุนฯ 100,000 บาท 5. การกำกับติดตามการยกระดับฯ 15,000 บาท
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.