งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ผลการดำเนินงาน การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน

2 Advocacy Activities Buliding Capacity Regulatory Partnership
☻ชี้แจงนโยบาย แนวทางการดำเนินงานแก่ จนท.สาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานวัยเรียนทุกระดับ ในเขตสุขภาพที่ 5 ☻พัฒนาศักยภาพเครือข่ายวัยเรียน ☻การพัฒนามาตราฐานประกันคุณภาพโรงเรียน ☻มีแผนงานโครงการ ควบคุม กำกับ โดย KPI ส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ☻การตรวจราชการ • การเยี่ยมเสริมพลัง สถานการณ์สุขภาพเด็กวัยเรียน (กลุ่ม ปกติ เสี่ยง ป่วย) คณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน ระดับเขต จังหวัดและอำเภอ ศึกษาธิการจังหวัด, สพป, สพฐ, สช องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Advocacy ☻การรณรงค์วันเด็กแห่งชาติ Love milk day ดื่มนม สดรสจืด ยืดความสูง วันละ 2 กล่อง กินไข่วันละ ฟอง , กินอาหารลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ หลากสี ออกกำลังกายวันละ 60 นาที 5 วันต่อ สัปดาห์ ☻ประสานผ่าน สสจ. สพป,สพฐ เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร ผ่าน line วัยเรียน ภาคกลาง,youtube Investment ชี้แนะแหล่งทุนให้กับเครือข่าย เช่น กองทุนตำบล สปสช, สสส

3 ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน ระดับประเทศ เปรียบเทียบ ปี 2559-2560
ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561 ปี ต่ำกว่าค่าเป้าหมายระดับประเทศ (68) ร้อยละ 3.41 ปี ร้อยละ 3.66

4 เด็กอายุ 12 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์
เป้าหมาย เพศชายมีส่วนสูงเฉลี่ย 154 เซนติเมตร, เพศหญิง มีส่วนสูงเฉลี่ย 155 เซนติเมตร

5 แสดงภาวะทุพโภชนาการ อ้วน เตี้ย ผอม
แสดงภาวะทุพโภชนาการ อ้วน เตี้ย ผอม ระดับประเทศ ปี 60

6 เปรียบเทียบเด็กเริ่มอ้วนและอ้วน ปี 59-60
ปี 60 อันดับ 1 ปี 59อันดับ 1 อ้วนเพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 0.86 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 61

7 กราฟวงกลม แยกทุพโภชนาการระดับประเทศ
ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 61

8 สูงดี สมส่วน ปี 60 เขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 64.3
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 66 สูงดี สมส่วน ปี 60 เขตสุขภาพที่ 5 ร้อยละ 64.3 ต่ำกว่าปี 59 ร้อยละ และต่ำกว่าเป้าหมายเขต ร้อยละ 1.7 สูงสุดที่จังหวัดราชบุรี ร้อยละ 65.8 ต่ำสุดที่จังหวัดสมุทรสาคร ร้อยละ ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561

9 เปรียบเทียบ อ้วน เตี้ย ผอม เขตสุขภาพที่ 5 ปี 2559-2560
ผอม เตี้ย ไม่เกิน ร้อย 5 ภาพรวมเขต อ้วนลดลงจากปี 59 ร้อยละ 0.87 ปี 60 อ้วนร้อยละ 13.63 อ้วนสูงสุด 3 จังหวัด ได้แก่ สมุทรสาคร, นครปฐม และสุพรรณบุรี ข้อมูล HDC ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2561

10

11 สิ่งที่พบจากการตรวจราชการและเยี่ยมเสริมพลัง
1. ด้านข้อมูล ❀ ข้อมูลในระบบต่ำกว่าสถานการณ์จริง อาจนำไปสู่การวางแผนที่ผิดพลาด ❀ การบันทึกข้อมูลเด็กวัยเรียนในเขตเมืองไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เนื่องจาก รร.มีเด็กจำนวนมาก และบางแห่งขาดข้อมูลในเขตเทศบาล ❀ ข้อมูลในระบบอาจไม่พบปัญหาทุพโภชนาการ เช่น ผอมและเตี้ย เมื่อ วิเคราะห์รายอำเภอ ตำบล พบเกินเป้าหมายร้อยละ 5 ต้องมีการเฝ้าระวัง อย่างต่อเนื่อง ❀ ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับโรงเรียน เพื่อให้โรงเรียนทราบ สถานการณ์ และวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน

12 ด้านปฏิบัติการ • แผนงานโครงการ ควรมีรายละเอียดของ key message เพิ่มสูง ลดอ้วน เพื่อให้พื้นที่ ใช้เป็นค่ากลางในการจัดกิจกรรม • มาตรการควรให้ความสำคัญในเด็กกลุ่มเสี่ยงผอมและเตี้ย ร่วมด้วย เนื่องจากพบพื้นที่ เสี่ยงในหลายอำเภอ และจ่ายเม็ดเสริมธาตุเหล็กให้นักเรียนกิน สัปดาห์ละ 1 เม็ด • แผนงานควรให้ความสำคัญทางด้านการควบคุมคุณภาพอาหารกลางวันในโรงเรียนและ การจัดการด้านโภชนาการ • ควรมีการสรุปข้อมูลเชิงวิจัย หรือ R to R เพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาในเด็กวัยเรียน (อ้วน เตี้ย ผอม)

13 ควรมีการตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวัง เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก /วัดส่วนสูง ที่เป็นมาตรฐาน และจัดท่าทางให้ถูกต้อง

14 เครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวัง เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก/ ที่วัดส่วนสูง ที่ไม่ได้มาตรฐาน คือ ปัญหาเรื้อรังในเกือบทุกพื้นที่

15 Key message การพัฒนาเด็กวัยเรียนให้สูงดี สมส่วน จะต้องมีการเคลื่อนไหวดังนี้ “ ดื่มนมจืดยืดความสูง อย่างน้อยวันละ 2 กล่อง (โรงเรียน 1 กล่อง,บ้าน 1 กล่อง) กินไข่ วันละ 1 ฟอง , ลดหวาน มันและเค็ม เติมเต็มด้วยผัก ผลไม้หลากสี การมีกิจกรรมทางกาย วันละ 60 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ นอนหลับ ชั่วโมง” หรือใช้หลักการชุดความรู้ NuPETH

16


ดาวน์โหลด ppt การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google