งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มที่ 2 เด็กวัยเรียน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มที่ 2 เด็กวัยเรียน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มที่ 2 เด็กวัยเรียน

2 สถานการณ์ปัญหาสุขภาพเด็กวัยเรียน
เด็กเริ่มอ้วนและอ้วน ปี = 8.8%, 9.5%, 12. 5% ปี 59 = 11.2% (สูงที่สุด ศอ. 4 =16.3% ต่ำสุด ศอ. 8 = 8.4% ) ผอม เตี้ย โลหิตจาง = มีข้อมูลบางศูนย์ฯ ????? พฤติกรรมสุขภาพเด็ก เช่น ออกกำลังกาย การบริโภค ?????? ช่องปาก โภชนาการ หู/ตา วัยเรียน สายตาผิดปกติ = 6.6% มีความจำเป็นที่ต้องใส่แว่น = 4.1% การได้ยินผิดปกติ = 2.1% *ข้อมูลระดับเขตมีบางเขตไม่ครบทุกเขต ส่วนข้อมูลระดับประเทศเป็นข้อมูลจากการสำรวจงานวิจัย นร.ป.6 มีฟันแท้ผุ = 52.3% ฟันแท้ผุ อุด ถอน = 1. 3% เหงือกอักเสบ นร.ประถม = 50.3%

3 ปัญหาอุปสรรคที่พบในพื้นที่/การแก้ไข
ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไข 1. นโยบายการพัฒนาศักยภาพ นักจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (ครู ก) จากส่วนกลางดำเนินการล่าช้า 1. ศูนย์ฯ จัดประชุม SKC ให้กับจังหวัด 2. ศูนย์ฯ ร่วมกับเขตสุขภาพจัดประชุมให้จังหวัด 3. ศูนย์ฯ สนับสนุนงบประมาณให้ สสจ.จัดประชุม 2. สื่อ คู่มือการดำเนินงาน แผนการสอน SKC สนับสนุนล่าช้า/ไม่เพียงพอ ศูนย์ฯ ผลิตสื่อ/คู่มือ/หลักสูตรการสอนไฟล์อิเลคทรอนิค 3. ขาดความเชื่อมโยงการดำเนินงาน/แผนปฏิบัติงานของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ สร้างความเข้าใจ กับ จนท.สธ / ทำMOU

4 ปัญหาอุปสรรคที่พบในพื้นที่/การแก้ไข (ต่อ)
ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไข 4. ชุมชน ผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ค่อนข้างน้อย 1. จนท.สธ.มีการคืนข้อมูลให้กับพื้นที่ 2. มีการเปิดเวทีทำประชาคมเพื่อหาแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา 5. บางจังหวัดยังไม่มีข้อมูลจำนวนโรงเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ≥10% ไม่ได้จัดทำแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา แผนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในพื้นที่ที่เป็นปัญหา เร่งรัดพื้นที่ให้มีการ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลมายังจังหวัด

5 ปัญหาอุปสรรคที่พบในพื้นที่/การแก้ไข(ต่อ)
ปัญหา/อุปสรรค การแก้ไข 6. การนำเข้าข้อมูล 43 แฟ้ม/ HDC ต่ำ (51.94%) และถ้าเทียบกับระบบรายงานปกติของพื้นที่มีความแตกต่างกัน เร่งรัดการคีย์ข้อมูลในพื้นที่ และประสาน IT ตรวจสอบปัญหาการนำเข้าข้อมูล 7. จังหวัดมีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพเด็กไม่ครบถ้วนทุกมิติ ทำให้เด็ก วัยเรียนไม่ได้รับการแก้ไขแบบองค์รวม จังหวัดควรมีการวางแผนสำรวจข้อมูลสุขภาพเด็กวัยเรียน 8. การคัดกรอง ส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงจากสถานศึกษาเข้าระบบ Service plan และคลินิก DPAC การบริหารจัดการยังไม่ชัดเจนและยังไม่เป็นรูปธรรม สร้างขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหา (Flow chart) ส่งต่อเด็กอ้วนเข้าระบบการดูแลช่วยเหลือ

6 ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ
- เนื่องจากการตรวจราชการในรอบที่ผ่านมาเป็นการตรวจราชการรอบแรก นวัตกรรมในการดำเนินงานยังไม่ชัดเจน

7 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการตรวจราชการรอบที่ 2
1. ส่วนกลางควรทบทวน Template - วิธีการเก็บ/ประเมินผลในประเด็นระยะเวลาการตัดข้อมูลรอบที่ 1 ส.ค. และรอบที่ 2 ม.ค. - กลุ่มเป้าหมายเป็น ร.ร.ประถมศึกษาและประถมศึกษาขยายโอกาส ควรเพิ่มกลุ่มเป้าหมาย ร.ร.มัธยมศึกษา (เด็กชั้นม.1-3 อายุอยู่ในช่วง ปี) 2. ส่วนกลางควรประสาน สนย. วิเคราะห์ข้อมูลเริ่มอ้วนและอ้วน และคืนข้อมูลไปยังศูนย์เขตเพื่อใช้เป็นข้อมูลเดียวกันทั้งประเทศ และเพิ่มรายงานเด็กวัยเรียนในระบบ 43 แฟ้ม 3. ส่วนกลางควรกำหนดตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนโดยใช้ช่วงอายุเดียวกัน

8 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการตรวจราชการรอบที่ 2
4. ปรับแบบตก 1, 2 5. ประสาน Service plan สาขากุมารแพทย์ เพื่อรับส่งต่อเด็กที่มีปัญหาอ้วนกลุ่มเสี่ยง 6. สนับสนุนคู่มือ มาตรฐานการดำเนินงานต่างๆ ปรับปรุงช่องทางการเข้าถึงสื่ออิเลคทรอนิคส์ให้สะดวกเข้าถึงง่ายและสื่อมีความทันสมัยสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ เอกสาร สิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ยังไม่เพียงพอ โดยเฉพาะในระดับโรงเรียนส่วนกลางควรสนับสนุนให้มีความหลากหลาย และครอบคลุมทุกระดับ

9 ข้อเสนอแนะในระยะยาว 1. บูรณาการประสานความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องฯลฯ ในการแก้ไขปัญหาเด็กวัยเรียนให้เป็นวาระแห่งชาติ (เลือก) 2. สำนักโภชนาการควรวางแผนปฏิบัติการออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะสั้น กลาง และยาว จะได้เกิดความต่อเนื่องในการแก้ไขปัญหา 3. ระบบส่งต่อข้อมูลเพื่อการจัดการและการสื่อสาร air war 4. สำรวจสถานการณ์สุขภาพเด็กวัยเรียนทุก 3 ปี/ 5 ปี 5. การศึกษาวิจัย พฤติกรรมการบริโภค (อาหารเช้า, อาหารหวาน มัน เค็ม) การออกกำลังกาย และการนอน

10 ข้อเสนอแนะในระยะยาว (ต่อ)
6. โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโต การแปลผลควรครอบคลุมเรื่องส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (เลือก) 7. กองออกกำลังกายควรพัฒนารูปแบบการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับเด็กอ้วน 8. มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Flow chart) ในการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน 9. การรณรงค์สร้างกระแสนโยบายในเรื่อง อ้วน การบริโภคน้ำตาล การออกกำลังกาย 10. สำนักโภชนาการควรสร้างเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วนให้มากกว่า SKC (เลือก)


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มที่ 2 เด็กวัยเรียน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google