ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อรกัญญา เมธา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Pharmacy Journal Index: ฐานข้อมูลสืบค้นวารสารวิชาการสาขาเภสัชศาสตร์เพื่อบริการสนับสนุนการเรียนรู้และการวิจัย ห้องสมุดคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อรกัญญา เมธา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2
ความเป็นมา วิสัยทัศน์สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“เป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศทางวิชาการ” แผนยุทธศาสตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะ 5 ปี (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการที่เป็นเลิศ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ “บริการที่มีคุณภาพและเสริมสร้างการเรียนรู้และการวิจัย” พัฒนาการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ ที่มีความต้องการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้น
3
และการวิจัยแก่ผู้ใช้บริการห้องสมุด
ความเป็นมา พัฒนาการให้บริการฐานข้อมูลเฉพาะสาขาวิชาเภสัชศาสตร์สนับสนุนการเรียน การสอน และการวิจัยแก่ผู้ใช้บริการห้องสมุด พัฒนาการให้บริการฐานข้อมูลสำหรับสืบค้นวารสารวิชาการในรูปแบบ Reference Databases เพื่อให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงวารสารวิชาการสาขาเภสัชศาสตร์อย่างสะดวก รวดเร็ว
4
วัตถุประสงค์ พัฒนาฐานข้อมูลสืบค้นวารสารอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสนับสนุนการเรียนรู้และการวิจัย รวบรวมวารสารอิเล็กทรอนิกส์สาขาวิชา เภสัชศาสตร์ให้บริการในรูปแบบฐานข้อมูลเฉพาะ ชี้แหล่งเผยแพร่วารสารอิเล็กทรอนิกส์สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ให้แก่ผู้ใช้บริการ อำนวยความสะดวกในการสืบค้นและเข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส์สาขาวิชาเภสัชศาสตร์
5
การดำเนินงาน Web Service API Angular CLI PDCA
6
การออกแบบระบบ การนำเข้าข้อมูล Web Service API JSON การนำเสนอข้อมูล
HTML CSS JavaScript การใช้ฐานข้อมูล Web Site Smart Device
7
ฐานข้อมูล Pharmacy Journal Index
8
ฐานข้อมูล Pharmacy Journal Index
การสืบค้นแบบ Basic Search จากเขตข้อมูล Journal name, Keyword, ISSN, Online ISSN, Publisher
9
ฐานข้อมูล Pharmacy Journal Index
การแสดงผลบรรณานุกรมและการอ้างอิงวารสาร Journal name, Keyword, ISSN, Online ISSN, Publisher ค่าประเมินคุณภาพวารสาร Impact Factor, SNIP, SJR
10
ฐานข้อมูล Pharmacy Journal Index
การเข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยการเชื่อมโยงไปยัง ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-Text Databases)
11
ฐานข้อมูล Pharmacy Journal Index
12
การประเมินความพึงพอใจการใช้ Pharmacy Journal Index
ด้านเนื้อหา ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.57 ด้านประสิทธิภาพ ค่าเฉลี่ย 3.61 ความพึงพอใจ ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.79
13
การนำไปใช้ประโยชน์ ผู้ใช้บริการมีเครื่องมือในการสืบค้นวารสารอิเล็กทรอนิกส์เฉพาะสาขาวิชาเภสัชศาสตร์อย่างสะดวก รวดเร็ว
14
การนำไปใช้ประโยชน์ ส่งเสริมการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์อย่างคุ้มค่า
สนับสนุนการเรียนการสอนและการวิจัย สาขาวิชาเภสัชศาสตร์
16
Thank You
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.