ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ศึกษาความสัมพันธ์ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับพฤติกรรมการเรียนโดยใช้กิจกรรมเพลง ในรายวิชาภาษาจีน2 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อังคณา นิยมจิตต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
2
วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการฟัง และทักษะการอ่านสัทอักษรภาษาจีนก่อนเรียน และหลังเรียนโดยการใช้กิจกรรมเพลงของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่2 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเรียนโดยใช้กิจกรรมเพลงสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่2 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
3
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม - กิจกรรมเพลง -ความสัมพันธ์ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับพฤติกรรม การเรียน
4
ประชากร และ กลุ่มตัวอย่าง
ประชากร คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่2 สาขาภาษาต่างประเทศ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ที่เรียนวิชาภาษาจีน 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 22 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้วิจัยใช้ประชากรทั้งหมดเป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงซึ่งมีปัญหาการฟัง และการอ่านสัทอักษรภาษาจีน (Pīnyīn) แตกต่างกันแต่ละรายบุคคลทั้งชั้นเรียน จำนวน 22 คน
5
ภาพหลักฐานการสอน/การเก็บข้อมูล
นักเรียนฝึกการร้องเพลง ฝึกทำแบบทดสอบก่อน/หลังเรียน สังเกตพฤติกรรมขณะทำกิจกรรม
6
ผลวิเคราะห์ / ตารางที่สำคัญ
7
การเรียนรู้สัทอักษรภาษาจีน หมายเหตุ * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทักษะการฟัง และทักษะการอ่านสัท อักษรภาษาจีน (Pīnyīn) ของนักเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน ด้วยกิจกรรมเพลง การเรียนรู้สัทอักษรภาษาจีน ของนักเรียน Pre-test Post-test (d) t- test Sig (1 tailed) μ σ ทักษะการฟัง (20 คะแนน) 8.95 2.85 17.18 2.40 8.23 21.16* 0.000 ทักษะการอ่าน (50 คะแนน) 21.09 7.24 43.73 4.68 22.64 24.48* หมายเหตุ * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
8
ตารางที่ 2 ผลการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ฃ
ขณะทำกิจกรรมเพลงของนักเรียน ฃ พฤติกรรมการเรียน จำนวนนักเรียน (N=22) μ σ ระดับ การพูดทบทวนประโยค (5 คะแนน) 3.41 3.98 มาก การร้องเพลง (5 คะแนน) 4.36 3.75 การแสดงท่าทางประกอบ (5 คะแนน) 4.14 3.80 การออกเสียง (5 คะแนน) 4.23 3.77 เฉลี่ยรวม 4.04 3.83
9
หมายเหตุ * หมายถึงมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียนโดยใช้ กิจกรรมเพลงกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียนโดยใช้กิจกรรมเพลงกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการฟัง ทักษะการอ่าน การพูดทบทวนประโยค (5 คะแนน) 0.53* 0.35 การร้องเพลง (5 คะแนน) 0.78* 0.63* การแสดงท่าทางประกอบ (5 คะแนน) 0.65* 0.46 การออกเสียง (5 คะแนน) 0.61* 0.64* หมายเหตุ * หมายถึงมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
10
สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาความสัมพันธ์ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับพฤติกรรมการเรียนโดยใช้กิจกรรมเพลง ในรายวิชาภาษาจีน2 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่2 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ตพบว่า
11
1) นักเรียนมีคะแนนการทดสอบหลังเรียนทักษะการฟัง (μ=17
1) นักเรียนมีคะแนนการทดสอบหลังเรียนทักษะการฟัง (μ=17.18) สูงกว่าก่อนเรียน (μ=8.95) และคะแนนการทดสอบหลังเรียนทักษะการอ่าน (μ=43.73) สูงกว่าก่อนเรียน (μ=21.09) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2) พฤติกรรมขณะทำกิจกรรมเพลงทั้ง 4 ด้านใกล้เคียงกันโดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.04 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการฟังทุกด้าน และพฤติกรรมการเรียนด้วยกิจกรรมเพลงมีความสัมพันธ์กับทักษะการอ่านยกเว้นพฤติกรรมด้านการพูดทบทวนประโยค และการแสดงท่าทางประกอบ ซึ่งไม่มีผลต่อทักษะการอ่าน จึงอาจสรุปได้ว่าการเรียนโดยใช้กิจกรรมเพลงทำให้นักเรียนสามารถพัฒนาความรู้ทักษะการฟัง และทักษะการอ่านสัทอักษรภาษาจีน (Pīnyīn)ได้
12
ข้อเสนอแนะ 1. ครูควรกระตุ้นนักเรียนให้ทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอทั้งในเรื่องของการอ่าน และการเขียนเพื่อช่วยพัฒนาการจดจำสัทอักษรภาษาจีน และเพื่อการสอนประสบความสำเร็จยิ่งขึ้น 2. ควรกระตุ้นให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมต่อการเรียนด้วยกิจกรรมเพลงอย่างเป็นธรรมชาติ
13
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.