ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Principles of Accounting II
Asst.Prof.Dr. Panchat Akarak School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University Principles of Accounting II
2
Principles of Accounting II
Petty Cash Funds Outline Petty Cash Funds Principles of Accounting II
3
Principles of Accounting II
Petty Cash Funds Learning Objectives Explain why a petty cash fund is used, describe its operation, and Recorded the necessary in journal entries. Recorded the entry in petty cash book. Principles of Accounting II
4
Petty Cash Funds Establishing the Fund
Petty cash funds are usually established from which small disbursements can be made to avoid writing a check for these small payments. A. The entry to establish a petty cash fund is to debit Petty Cash Fund and to credit Cash for the amount drawn. B. A petty cash cashier is responsible for operation of the fund so that adequate control is maintained over cash disbursements. Principles of Accounting II
5
Principles of Accounting II
Operating The Fund A petty cash voucher is a form which indicates the amount and reason for the petty cash disbursement. A. Voucher should be prepared for each disbursement from the fund. B. Invoices for the expenditure should be stapled to the petty cash voucher. C. The person responsible for petty cash is accountable for having cash and petty cash vouchers equal to the amount of the fund. Principles of Accounting II
6
Principles of Accounting II
Replenishing The Fund To replenish petty cash, a check is drawn for the amount that will restore the fund to its original amount. A. The journal entry is to debit expenses and assets for the amount disbursed and to credit Cash. B. Replenishments are made when the petty cash fund becomes low in currency and at the end of the accounting period. Principles of Accounting II
7
Principles of Accounting II
Replenishing The Fund C. If the petty cash fund is found to be larger than needed, excess petty cash can be transferred back to the Cash account by debiting Cash and crediting Petty Cash. D. Increases in the petty cash fund can be made by debiting Petty Cash and crediting Cash and transferring cash over to the individual responsible for the petty cash fund. Principles of Accounting II
8
Principles of Accounting II
Petty Cash Funds Establishing the Funds 1. Imprest System Dr. Petty Cash Funds (101.1) xx Cr. Cash (101) xx 2. Fluctuating System Principles of Accounting II
9
Principles of Accounting II
Replenishing The Fund Replenishing The Fund 1. If Imprest System Dr. Expense (5xx) xx Cr. Cash (101) xx 2. If Fluctuating System Cr. Petty Cash Funds (101.1) xx Principles of Accounting II
10
Principles of Accounting II
Cash Short and Over The petty cash fund must always be restored to its set amount, so the credit to Cash will always be for the difference between the set amount and the actual cash in the fund. A. Debits will be made for all items vouchered. B. Any discrepancy will be debited or credited to an account called Cash Short and Over. Principles of Accounting II
11
Principles of Accounting II
Cash Short and Over 1. The Cash Short and Over account is an expense or a revenue depending upon whether it has a debit or credit balance. 2. Entries in the Cash Short and Over account may be entered from other change-making funds such as those in the cash register. Principles of Accounting II
12
Principles of Accounting II
Cash Short and Over Cash Short and Over account may be entered from other change-making funds such as those in the cash register. Cash Over Dr. Cash (11) xx Cr. Sale (41) xx Cash short and over(45) xx Cash Short Dr. Cash (11) xx Cash short and over (55) xx Cr. Sale (41) xx Principles of Accounting II
13
ระบบเงินสดย่อย (Petty Cash System)
กองทุนเงินสดย่อย (Petty Cash Fund) มี 2 ระบบ ดังนี้ 1. ระบบเงินสดย่อยแบบคงที่ (Imprest System) 2. ระบบเงินสดย่อยแบบไม่คงที่ (Fluctuating System) Intermediate Accounting I 13 Principles of Accounting II
14
ระบบเงินสดย่อย (Petty Cash System)
ประโยชน์ของระบบเงินสดย่อย 1. ใช้สำหรับจ่ายค่าใช้จ่ายที่ไม่สะดวกในการจ่ายเป็นเช็ค และเป็นค่าใช้จ่ายจำนวนเงินเล็กน้อย เช่น ค่าไปรษณีย์ ค่าขนส่งเข้า ค่าเครื่องเขียน ค่าพาหนะ ค่ารับรองลูกค้า ค่าอากรแสตมป์ 2. เป็นไปตามหลักการควบคุมภายในที่ดี 3. ถือเงินสดไว้ในมือไม่สูง มีความเสี่ยงต่ำ 4. ตรวจสอบได้ง่าย 14 Principles of Accounting II
15
ระบบเงินสดย่อย (Petty cash system)
1. ระบบเงินสดย่อยแบบคงที่ (Imprest System) -นิยมใช้ (ตรวจสอบง่าย) -ตั้งวงเงินไว้จำนวนแน่นอน สามารถเพิ่ม/ลดได้ -บันทึกการจ่ายในสมุดบันทึกความจำเงินสดย่อย (สมุดบันทึกความจำ) -เบิกชดเชยเมื่อครบกำหนด จำนวนเงินเบิกชดเชยตาม ใบสำคัญที่ได้จ่ายเงินไปแล้ว(ในสมุดรายวันจ่ายเงิน) 15 Principles of Accounting II
16
ระบบเงินสดย่อย (Petty cash system)
2. ระบบเงินสดย่อยแบบไม่คงที่ (Fluctuating System) -ไม่นิยมใช้ (วงเงินไม่คงที่ตรวจสอบยาก) -วงเงินตั้งครั้งแรกและการเบิกชดเชยไม่แน่นอน -บันทึกการจ่ายในสมุดเงินสดย่อย (เป็นสมุดรายวันจ่ายเงินขั้นต้น) โดยบันทึกบัญชี Dr. ค่าใช้จ่าย..ระบุชื่อ...Cr. เงินสดย่อย -เบิกชดเชยเมื่อครบกำหนดหรือเงินในมือหมด จำนวนเงินขอเบิก เท่าใดก็ได้ (ไม่จำเป็นต้องเท่ากับใบสำคัญจ่าย) 16 Principles of Accounting II
17
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย
1. ระบบเงินสดย่อยแบบคงที่ (Imprest System) 1. ตั้งวงเงิน Dr. เงินสดย่อย ,000 Cr. เงินฝากธนาคาร ,000 2. จ่ายค่าใช้จ่ายจากเงินสดย่อย Memo บันทึกความทรงจำ ในสมุดเงินสดย่อย จ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 8,000 3. เบิกชดเชย Dr. ค่าใช้จ่าย..ระบุชื่อบัญชี ,000 Cr. เงินฝากธนาคาร ,000 4. วันสิ้นงวดบัญชีมีค่าใช้จ่ายค้างเบิกชดเชย 500 บาท Dr. ค่าใช้จ่าย..ระบุชื่อบัญชี Cr. เงินสดย่อย Principles of Accounting II
18
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย
2. ระบบเงินสดย่อยแบบไม่คงที่ (Fluctuating System) 1. ตั้งวงเงิน Dr. เงินสดย่อย ,000 Cr. เงินฝากธนาคาร ,000 2. จ่ายค่าใช้จ่ายจากเงินสดย่อย Dr. ค่าใช้จ่าย.....ระบุชื่อบัญชี ,000 Cr. เงินสดย่อย ,000 3. เบิกชดเชย Dr. เงินสดย่อย ,000 Cr. เงินฝากธนาคาร ,000 4. วันสิ้นงวดบัญชีมีค่าใช้จ่ายค้างเบิกชดเชย วันสิ้นงวดบัญชี จะไม่มีค้างเบิก ไม่ต้องปรับปรุง เพราะสมุดเงินสดย่อยเป็นสมุดรายวันจ่ายเงินขั้นต้น Principles of Accounting II
19
สรุป เปรียบเทียบวิธีการบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย
1. ระบบเงินสดย่อยแบบคงที่ (Imprest System) 2. ระบบเงินสดย่อยแบบไม่คงที่ (Fluctuating System) 1. ตั้งวงเงิน Dr. เงินสดย่อย x Cr. เงินฝากธนาคาร x Dr. เงินสดย่อย x Cr. เงินฝากธนาคาร x 2. จ่ายค่าใช้จ่ายจากเงินสดย่อย บันทึกความทรงจำในสมุดเงินสดย่อย Dr. ค่าใช้จ่าย....ระบุชื่อ x Cr. เงินสดย่อย x 3. เบิกชดเชย Dr. ค่าใช้จ่าย.ระบุชื่อ.. x Cr. เงินฝากธนาคาร x Cr. เงินฝากธนาคาร x 4. วันสิ้นงวดบัญชีมีค่าใช้จ่ายค้างเบิกชดเชย Dr. ค่าใช้จ่าย ระบุชื่อ … x Cr. เงินสดย่อย x วันสิ้นงวดบัญชี จะไม่มีค้างเบิก ไม่ต้องปรับปรุง เพราะสมุดเงินสดย่อยเป็นสมุดรายวันจ่ายเงินขั้นต้น Principles of Accounting II
20
สรุป เปรียบเทียบวิธีการบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย
1. ระบบเงินสดย่อยแบบคงที่ (Imprest System) 2. ระบบเงินสดย่อยแบบไม่คงที่ (Fluctuating System) 5. การกลับรายการปรับปรุงในวันต้นงวด Dr. เงินสดย่อย x Cr. ค่าใช้จ่าย ระบุชื่อ x ไม่มีรายการ 6. เบิกชดเชยค่าใช้จ่ายของปีก่อน และงวดปัจจุบัน Dr. ค่าใช้จ่าย....ระบุชื่อ x (เก่า-ใหม่ รวมกัน) Cr. เงินฝากธนาคาร x บันทึกตามปกติ Principles of Accounting II
21
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย บริษัท เชียงรายจำกัด นำระบบเงินสดย่อยแบบ Imprest System มาใช้ในกิจการ โดยกำหนดตั้งกองทุนเงินสดย่อยครั้งแรก จำนวน 10,000 บาทเมื่อวันที่ 1 ธ.ค. 25x1 และมอบให้ นาย มงคลเป็นผู้ดูแลกองทุนเงินสดย่อย กำหนดให้เบิกชดเชยวันที่ 15 และวันสิ้นเดือนทุกเดือน รายจ่ายที่เกิดขึ้นในเดือน มกราคม 25x1 มีดังนี้ ธ.ค. 2 จ่ายค่าเครื่องเขียน 1,500 บาท 10 จ่ายค่าพาหนะ 250 บาท 13 จ่ายค่าเลี้ยงรับรองลูกค้า บาท 15 จ่ายซ่อมเครื่องปริ้นเตอร์ 120 บาท ครบกำหนดเบิกชดเชยเงินสดย่อย นายมงคลได้รวบรวมใบสำคัญเบิกชดเชย 22 จ่ายค่าพาหนะ 350 บาท 23 จ่ายค่าไปรษณีย์ 180 บาท Principles of Accounting II
22
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย ธ.ค. 25 จ่ายเงินสดให้ลูกค้าที่นำสินค้ามาคืนเนื่องจากชำรุด 320 บาท 28 จ่ายค่าเครื่องดื่มรับรองลูกค้า 150 บาท 29 จ่ายค่าไปรณีย์ 2,000 บาท 30 จ่ายค่าพาหนะ 450 บาท 31 จ่ายค่าเลี้ยงรับรองลูกค้า 1,020 บาท ครบกำหนดเบิกชดเชยเงินสดย่อย นายมงคลได้รวบรวมใบสำคัญเบิกชดเชย 25x2ม.ค. 2 จ่ายเงินสดให้ลูกค้าที่นำสินค้ามาคืนเนื่องจากชำรุด 1,260 บาท 5 จ่ายค่าขนส่งสินค้าให้ลูกค้า 500 บาท 13 จ่ายค่าจ้างตัดแต่งกิ่งไม้หน้าอาคารสำนักงาน 450 บาท (ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด) 14 จ่ายค่าพาหนะเดินทางไปติดต่องาน 490 บาท 15 Principles of Accounting II
23
การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย Imprest System
จากโจทย์ ให้ทำ บันทึกรายการค้าข้างต้นในสมุดรายวันจ่ายเงิน บันทึกรายการในสมุดเงินสดย่อย(สมุดบันทึกความจำ) แสดงการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทเฉพาะบัญชีเงินสดย่อย Principles of Accounting II
24
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดเงินสดย่อย หน้า 1
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดเงินสดย่อย หน้า 1 เลขที่ใบสำคัญจ่าย จำนวนเงินเงินสดย่อย รายจ่าย รายการจ่าย บัญชีอื่น ๆ ค่าเครื่องเขียน ค่าไปรษณีย์ ค่าพาหนะ ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี จำนวนเงิน 25X1 ธ.ค. 1 2 4 8 12 15 16 22 23 24 25 28 30 31 รับเงินสดย่อย ค่ารับรอง ค่าซ่อมแซม รวม ยอดยกไป 16มค. ยอดยกมา 16 มค. เบิกชดเชย จ่ายค่าพาหนะ จ่ายค่าไปรษณีย์ รับคืนสินค้า ค่าเครื่องดื่ม ยอดยกไป 1 ม.ค. 1 3 10,000 - 1,500 250 820 120 - ค่ารับรอง ค่าซ่อมแชม 2,690 -- 7,310 2,700 - 5 6 7 9 10 11 2.690 350 180 320 150 2,000 450 1,020 4,470 5,530 2,180 800 1,490 ยอดยกมา 1 ม.ค. Principles of Accounting II
25
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดเงินสดย่อย หน้า 2
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดเงินสดย่อย หน้า 2 เลขที่ใบสำคัญจ่าย จำนวนเงินเงินสดย่อย รายจ่าย บัญชีอื่น ๆ ค่าเครื่องเขียน ค่าไปรษณีย์ ค่าพาหนะ ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี จำนวนเงิน 25x2 ม.ค. 1 ยอดยกมา 1 ม.ค. เบิกชดเชย 5,530 4,470 - 2 รับคืนสินค้า 1 1,260 รับคืน 5 ค่าขนส่งออก 500 13 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 3 450 คชจ.เบ็ดเตล็ด 14 4 490 15 รวม ยอกยกไป 10,000 2,700 7,300 2,210 16 ยอดยกมา Principles of Accounting II
26
การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อยแบบ Imprest System
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดรายวันจ่ายเงิน หน้า 12 วันที่ เลขที่ ใบสำคัญ ชื่อบัญชีเดบิต คำอธิบาย เครดิต เดบิต เงินสด ธนาคาร ส่วนลดรับ เจ้าหนี้การค้า ซื้อสินค้า ภาษีซื้อ บัญชีอื่น ๆ จำนวนเงิน เลขที่บัญชี 25x1 ธ.ค. 1 12-01 เงินสดย่อย ตั้งกองทุนเงินสดย่อย 10,000 - 101.1 2 12-02 ค่าเช่า จ่ายค่าเช่า 2,500 505 3 12-03 เครื่องใช้ ซื้อเครื่องใช้ สนง. 500 106 6 12-04 ซื้อ 1,605 1,500 105 7 12-05 839 784 55 10 12-06 ถอนใช้ ถอนใช้ส่วนตัว 200 301 15 12-07 เครื่องเขียน ซื้อเครื่องเขียน 105 12-08 ค่าพาหนะ จ่ายค่าพาหนะ 250 507 12-09 ค่ารับรอง จ่ายค่ารับรองลูกค้ 820 508 12-10 ค่าซ่อมแซม จ่ายค่าซ่อมฯ 120 509 31 12-11 800 12-12 ค่าไปรษฯย์ ค่าไปรษณีย์ 2,180 510 12-13 รับคืน รับคืนสินค้า 320 402 12-14 ค่ารับรองลูกค้า 1,170 22,804 2,284 160 (102) (501) (105) Principles of Accounting II
27
การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อยแบบ Imprest System
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดรายวันจ่ายเงิน หน้า 1 วันที่ เลขที่ ใบสำคัญ ชื่อบัญชี เดบิต คำอธิบาย เครดิต เงินสด ธนาคาร ส่วนลดรับ เจ้าหนี้การค้า ซื้อสินค้า ภาษีซื้อ บัญชีอื่น ๆ จำนวนเงิน เลขที่บัญชี 25x2 ม.ค. 15 1-01 รับคืน รับคืนสินค้า 1,260 - 402 1-02 ค่าขนส่งออก จ่ายค่าขนส่งออก 500 504 1-03 คชจ.เบ็ดเตล็ด ค่ชจ.เบ็ดเตล็ด 450 511 1-04 ค่าพาหนะ 490 507 490 Principles of Accounting II
28
Principles of Accounting II
บัญชีแยกประเภท เงินสดย่อย เลขที่ 101.1 Date Descriptions PR. Debit amount Credit 25x1 ธ.ค. 1 สมุดรายวันจ่ายเงิน จง. 1 10,000 - ธ.ค. 31 ยอดยกไป √ 25x2 ม.ค. 1 Principles of Accounting II
29
ตัวอย่าง วิธีการบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย
บริษัท เชียงรายจำกัด นำระบบเงินสดย่อยแบบ Fluctuating System มาใช้ในกิจการ โดยกำหนดตั้งกองทุนเงินสดย่อยครั้งแรก จำนวน 10,000 บาท เมื่อวันที่ 1 ธ.ค. 25x1 และมอบให้ นาย มงคลเป็นผู้ดูแลกองทุนเงินสดย่อย กำหนดให้เบิกชดเชยวันที่ 15 และวันสิ้นเดือนทุกเดือน รายจ่ายที่เกิดขึ้นในเดือน มกราคม 25x1 มีดังนี้ ธ.ค. 2 จ่ายค่าเครื่องเขียน 1,510 บาท 10 จ่ายค่าพาหนะ 250 บาท 13 จ่ายค่าเลี้ยงรับรองลูกค้า บาท 15 จ่ายซ่อมเครื่องปริ้นเตอร์ 120 บาท ครบกำหนดเบิกชดเชยเงินสดย่อย นายมงคลได้เบิกชดเชย 5,000 บาท 22 จ่ายค่าพาหนะ 350 บาท Principles of Accounting II
30
ตัวอย่าง วิธีการบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย
ธ.ค. 25 จ่ายเงินสดให้ลูกค้าที่นำสินค้ามาคืนเนื่องจากชำรุด 320 บาท 28 จ่ายค่าเครื่องดื่มรับรองลูกค้า 150 บาท 29 จ่ายค่าอากรแสตมป์ 2,000 บาท 30 จ่ายค่าพาหนะ 450 บาท 31 จ่ายค่าเลี้ยงรับรองลูกค้า 1,020 บาท ครบกำหนดเบิกชดเชยเงินสดย่อย นายมงคลได้เบิกชดเชยอีก 4,000 บาท 25x2ม.ค. 2 จ่ายเงินสดให้ลูกค้าที่นำสินค้ามาคืนเนื่องจากชำรุด 1,250 บาท 5 จ่ายค่าขนส่งสินค้าให้ลูกค้า 500 บาท 13 จ่ายค่าจ้างตัดแต่งกิ่งไม้หน้าอาคารสำนักงาน 450 บาท (ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด) 14 จ่ายค่าพาหนะเดินทางไปติดต่องาน 490 บาท 15 ครบกำหนดเบิกชดเชยเงินสดย่อย นายมงคลได้เบิกชดเชยจำนวน 5,000 บาท Principles of Accounting II
31
การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อย Fluctuating System
จากโจทย์ ให้ทำ บันทึกรายการค้าข้างต้นในสมุดรายวันจ่ายเงิน บันทึกรายการในสมุดเงินสดย่อย แสดงการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทเฉพาะบัญชีเงินสดย่อย Principles of Accounting II
32
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดเงินสดย่อย หน้า 1
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดเงินสดย่อย หน้า 1 เลขที่ใบสำคัญจ่าย จำนวนเงินเงินสดย่อย รายจ่าย Cr. Dr. รายการจ่าย บัญชีอื่น ๆ ค่าเครื่องเขียน ค่าไปรษณีย์ ค่าพาหนะ ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี จำนวนเงิน 25X1 ธ.ค. 1 2 4 8 12 15 16 22 23 24 25 28 30 31 รับเงินสดย่อย ค่ารับรอง ค่าซ่อมแซม รวม ยอดยกไป 16 มค. ยอดยกมา 16 มค. เบิกชดเชย จ่ายค่าพาหนะ จ่ายค่าไปรษณีย์ รับคืนสินค้า ค่าเครื่องดื่ม ยอดยกไป 1 ม.ค. 1 3 10,000 - 1,500 250 820 120 - ค่ารับรอง ค่าซ่อมแชม 508 509 2,690 -- 7,310 (104) (505) 5 6 7 9 10 11 5,000 350 180 320 150 2,000 450 1,020 402 12,310 4,470 7,840 2,180 (504) - 800 ยอดยกมา 1 ม.ค. 4,000 Principles of Accounting II
33
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดเงินสดย่อย หน้า 2
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดเงินสดย่อย หน้า 2 เลขที่ใบสำคัญจ่าย จำนวนเงินเงินสดย่อย รายจ่าย Cr. Dr. รายจ่าย บัญชีอื่น ๆ ค่าเครื่องเขียน ค่าไปรษณีย์ ค่าพาหนะ ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี จำนวนเงิน 25x2 ม.ค. 1 ยอดยกมา 1 ม.ค. เบิกชดเชย 7,840 4,000 - 2 รับคืนสินค้า 1 1,260 รับคืน 402 5 ค่าขนส่งออก 500 504 13 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 3 450 คชจ.เบ็ดเตล็ด 511 14 4 490 15 รวม ยอกยกไป 11,840 2,700 9,140 (505) 2,210 16 ยอดยกมา 5,000 Principles of Accounting II
34
การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อยแบบ Imprest System
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดรายวันจ่ายเงิน หน้า 12 วันที่ เลขที่ ใบสำคัญ ชื่อบัญชีเดบิต คำอธิบาย เครดิต เดบิต เงินสด ธนาคาร ส่วนลดรับ เจ้าหนี้การค้า ซื้อสินค้า ภาษีซื้อ บัญชีอื่น ๆ จำนวนเงิน เลขที่บัญชี 25x1 ธ.ค. 1 12-01 เงินสดย่อย ตั้งกองทุนเงินสดย่อย 10,000 - 101.1 2 12-02 ค่าเช่า จ่ายค่าเช่า 2,500 505 3 12-03 เครื่องใช้ ซื้อเครื่องใช้ สนง. 500 106 6 12-04 1,605 1,500 105 7 12-05 839 784 55 10 12-06 ถอนใช้ ถอนใช้ส่วนตัว 200 301 15 12-07 เบิกชดเชย 5,000 31 12-10 4,000 24,644 2,284 160 (102) (501) (105) Principles of Accounting II
35
การบันทึกบัญชีระบบเงินสดย่อยแบบ Imprest System
บริษัท เชียงราย จำกัด สมุดรายวันจ่ายเงิน หน้า 1 วันที่ เลขที่ ใบสำคัญ ชื่อบัญชีเดบิต คำอธิบาย เครดิต เดบิต เงินสด ธนาคาร ส่วนลดรับ เจ้าหนี้การค้า ซื้อสินค้า ภาษีซื้อ บัญชีอื่น ๆ จำนวนเงิน เลขที่บัญชี 25x2 ม.ค. 16 1-01 เงินสดย่อย เบิกชดเชย 5,000 - 101.1 Principles of Accounting II
36
บัญชีแยกประเภท เงินสดย่อย เลขที่ 101.1 ธ.ค. 1 ธ.ค. 15 Date
เงินสดย่อย เลขที่ 101.1 Date Descriptions PR. Debit amount Credit 25x1 ธ.ค. 1 สมุดรายวันจ่ายเงิน จง. 12 10,000 - ธ.ค. 15 ค่าเครื่องเขียน งย.1 1,500 15 5,000 ค่าพาหนะ 250 31 4,000 ค่ารับรอง 820 ค่าซ่อมแซม งย. 1 120 ค่าไปรษณีย์ 2,180 800 รับคืน 320 งย.1 1,170 - ยอดยกไป √ 11,840 19,000 ม.ค. 1 ยอดยกมา Principles of Accounting II Principles of Accounting II
37
Principles of Accounting II
บัญชีแยกประเภท เงินสดย่อย เลขที่ 101.1 Date Descriptions PR. Debit amount Credit 25x2 ม.ค. 1 ยอดยกมา √ 11,840 - ม.ค. 15 รับคืน งย. 1 1,260 15 สมุดรายวันจ่ายเงิน จง. 1 5,000 ค่าขนส่งออก งย.1 500 14,140 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 450 ค่ารับรอง 490 16,840 2,700 Principles of Accounting II
38
ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างการบันทึกบัญชี
การตั้งวงเงินสดย่อยแบบคงที่ (Imprest System) การบันทึกปรับปรุงเงินสดย่อยในวันสิ้นงวด การกลับรายการปรับปรุงในวันต้นงวดใหม่ การเบิกชดเชยในงวดถัดไป พร้อมการยกไปบัญชีแยกประเภท เงินสดย่อย และบัญชีที่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II
39
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีเงินสดย่อย
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีเงินสดย่อย 1. ระบบเงินสดย่อยแบบคงที่ (Imprest System) ตั้งวงเงิน ม.ค.1 Dr. เงินสดย่อย ,000 Cr. เงินฝากธนาคาร ,000 จ่ายค่าใช้จ่ายจากเงินสดย่อย Memo บันทึกความจำในสมุดเงินสดย่อย จ่ายค่าใช้จ่ายไป เป็นเงิน 3,000 บาท เบิกชดเชย Dr. ค่าพาหนะ ,000 Cr. เงินฝากธนาคาร ,000 วันสิ้นงวดบัญชีมีค่าใช้จ่ายค้างเบิกชดเชย ธ.ค Dr. ค่าเครื่องเขียน Cr. เงินสดย่อย Principles of Accounting II
40
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีเงินสดย่อย
1. ระบบเงินสดย่อยแบบคงที่ (Imprest System) การกลับรายการปรับปรุงในวันต้นงวด 25x2 ม.ค Dr. เงินสดย่อย Cr. ค่าเครื่องเขียน เบิกชดเชยค่าใช้จ่ายของปีก่อน และงวดปัจจุบันมีค่าเครื่องเขียน 1,000.- ม.ค Dr. ค่าเครื่องเขียน ,400 (เก่า-ใหม่ รวมกัน) Cr. เงินฝากธนาคาร ,400 Principles of Accounting II
41
บัญชีแยกประเภท เงินสดย่อย จากระบบเงินสดย่อยแบบคงที่
บัญชีเงินสดย่อย 25x1 ม.ค.1 เงินฝาก ,000 การบันทึกบัญชีตั้งวงเงินสดย่อย 5,000 บาท เมื่อวันที่ 1 ม.ค. 25x1 Dr. เงินสดย่อย ,000 Cr. เงินฝากธนาคาร ,000 Principles of Accounting II
42
วันสิ้นงวดบัญชี หลังจากบันทึกปรับปรุงบัญชี
บัญชีค่าเครื่องเขียน 25x1 ธ.ค.31 เงินสดย่อย 25x1 ธ.ค.31 กำไรขาดทุน 400 การบันทึกบัญชี ปรับปรุงในวันสิ้นงวด 31ธ.ค. ค่าเครื่องเขียน 400 บาท Dr. ค่าเครื่องเขียน Cr. เงินสดย่อย ปรับปรุงค่าเครื่องเขียนค้างเบิกในวันสิ้นงวด การบันทึกปิดบัญชี ในวันสิ้นงวด 31 ธ.ค. ค่าเครื่องเขียน 400 บาท Dr. กำไรขาดทุน Cr. ค่าเครื่องเขียน ปิดบัญชีค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน Principles of Accounting II
43
บัญชีแยกประเภท เงินสดย่อย จากระบบเงินสดย่อยแบบคงที่
บัญชีเงินสดย่อย 25x1 ม.ค.1 เงินฝากฯ ,000 25x1 ธ.ค. 31 เครื่องเขียน 4,600 การบันทึกบัญชี ปรับปรุงในวันสิ้นงวด ค่าเครื่องเขียน 400 บาท Dr. ค่าเครื่องเขียน Cr. เงินสดย่อย บันทึกปรับปรุงบัญชีค่าเครื่องเขียนค้างเบิกชดเชย Principles of Accounting II
44
วันต้นงวดบัญชี บันทึกกลับรายการปรับปรุง
วันต้นงวดบัญชี บันทึกกลับรายการปรับปรุง บัญชีเงินสดย่อย 25x2 ม.ค.1 ยอดยกมา ,600 บัญชีเงินสดย่อยกลับมามียอดคงเหลือเท่าวงเงินที่ตั้ง ค่าเครื่องเขียน 400 5,000 การบันทึกบัญชีกลับรายการปรับปรุงในวันต้นงวด เงินสดย่อย และค่าเครื่องเขียน 400 บาท ม.ค.1 Dr. เงินสดย่อย Cr. ค่าเครื่องเขียน บันทึกกลับรายการปรับปรุงในวันต้นงวด Principles of Accounting II
45
บัญชีค่าเรื่องเขียนเป็นค่าใช้จ่ายเฉพาะ
วันต้นงวดบัญชี หลังจากบันทึกกลับรายการปรับปรุง และเบิกชดเชย บัญชีค่าเรื่องเขียนเป็นค่าใช้จ่ายเฉพาะ ของงวดบัญชีใหม่ บัญชีค่าเครื่องเขียน 25x2 ม.ค.31 เงินฝาก ,400 25x2 ม.ค. 1 เงินสดย่อย ม.ค. 31 กำไรขาดทุน 1,000 1,000 1,400 1,400 การบันทึกบัญชี เบิกชดเชย ค่าเครื่องเขียน ทั้งของใหม่และ เก่า 1, 31 ม.ค. Dr. ค่าเครื่องเขียน 1,400 Cr. เงินฝากธนาคาร ,400 บันทึกเบิกชดเชยเงินสดย่อย การบันทึกปิดบัญชี ในวันสิ้นงวด 31 ม.ค. Dr. กำไรขาดทุน ,000 Cr. ค่าเครื่องเขียน ,000 ปิดบัญชีค่าใช้จ่ายเข้าบัญชีกำไรขาดทุน Principles of Accounting II
46
ผลของการกลับรายการปรับปรุงในวันต้นงวดใหม่ (Reversing Entries)
1. ทำให้ค่าใช้จ่ายของงวดบัญชีก่อนไม่กลับมาเป็นค่าใช้จ่ายของงวดปัจจุบัน 2. ทำให้วงเงินสดย่อยคงเดิม Principles of Accounting II
47
การแสดงรายการในงบการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets): เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายเหตุ 1 74,700 หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุ 1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย.- เงินสดในมือ เงินสดย่อย ,600 เงินฝากธนาคาร ,000 รายการเทียบเท่าเงินสด , ,700 Principles of Accounting II
48
The End Thank you for your Attention Q & A Principles of Accounting II
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.