งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ
ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา SME yalada

2 ประเภทของสินค้าคงคลังหรือสินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือ(Inventory) หมายถึง วัสดุที่มีไว้ใช้ในอนาคต วัสดุเหล่านั้น ได้แก่ -วัตถุดิบ (Raw Material Inventory) -สินค้าระหว่างผลิต (Work-in-Process :WIP Inventory) -สินค้าสำเร็จรูป (Finished goods inventory) SME yalada

3 EOQ การบริหารต้นทุนสินค้าคงคลัง (Inventory Carrying Cost)
เป็นการบริหารจัดการ เพื่อให้มีการถือครองสินค้าคงคลังน้อยที่สุด ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพื่อประสิทธิภาพของการบริหารสินค้าคงคลังให้ตํ่าสุด EOQ yalada

4 EOQ การจัดซื้อปริมาณที่ประหยัดต่อครั้ง
(Inventory Downsizing Management) EOQ Inventory Downsizing เป็นเรื่องของการจัดการความสมดุลของต้นทุนในการถือครองสินค้าคงคลัง (Holding Cost) ต่อต้นทุนปริมาณสินค้าที่คุ้มค่าและประหยัดที่สุดในการสั่งซื้อแต่ละออเดอร์ (Economies From Order Quantities) yalada

5 การวางแผนสินค้าคงเหลือ
เป็นการกำหนดปริมาณสินค้าคงเหลือที่เหมาะสม(Economic Order Quantity: EOQ) การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด การกำหนดระดับสินค้าเผื่อขาด การกำหนดเวลาสั่งซื้อ 1.1. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ(Ordering Cost) 1.2. ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา(Carrying Cost) 1.3. ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน(Shortage Cost) SME yalada

6 การหาปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสม (Economic Order Quantity)
การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด เป็นการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อต้นทุนค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ และค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาที่ประหยัด TC : ค่าใช้จ่ายรวมตลอดปี Q : ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง S : ปริมาณการใช้ตลอดปี(หน่วย) O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง(บาท) C : ค่าเก็บรักษาสินค้าคงคลังต่อปี(บาท การคำนวณ SME yalada

7 จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ (ครั้ง/ปี)
จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ (ครั้ง/ปี) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง (บาท/ปี) ปริมาณสินค้าเฉลี่ย หน่วย ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วยต่อปี ค่าใช้จ่ายสำหรับตัวสินค้าแต่ละตัว (บาท/ปี) ค่าใช้จ่ายรวม (บาท/ปี) ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง SME yalada

8 ภาพที่ 6.1 วงจรสินค้าคงคลัง
Q ปริมาณสินค้าในคลังสินค้า สินค้าคงคลัง จุดสั่งซื้อสินค้า (Reorder point) O จุดที่รับสินค้า จุดสั่งสินค้า จุดรับสินค้า Q T (เวลา) ช่วงเวลาก่อนสินค้ามาถึง (Lead time) SME yalada

9 Q ระยะเวลา 1 ปี ระยะเวลา 1 ปี
สินค้าคงคลัง สินค้า เฉลี่ย Q ระยะเวลา 1 ปี t การสั่งซื้อมากครั้ง (5 ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังน้อย สินค้าคงคลัง สินค้าเฉลี่ย Q ระยะเวลา 1 ปี t O 2 การสั่งซื้อน้อยครั้ง (2ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังมาก SME yalada

10 ตัวอย่างที่ 8.1 โรงานผลิตรถจักรยานยนต์ยี่ห้อหนึ่งสั่งอะไหล่มาประกอบ เพื่อผลิรถจักรยานยนต์ปีละ 45,000 ชิ้น ราคาชิ้นละ 60 บาท ต้นทุนในการสั่งซื้อต่อครั้งเท่ากับ 120 บาท ต้นทุนในการเก็บรักษาต่อปี 5 บาทต่อชิ้น จงหา ก) โรงงานแห่งนี้ควรซื้อครั้งละกี่ชิ้น ข) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้วจะสั่งซื้อกี่ครั้ง ค) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้วจะมีต้นทุนในการสั่งซื้อตลอดปี เป็นเงิน เท่าใด ง) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้ว จะมีต้นทุนในการเก็บรักษาตลอดปีเท่าใด

11 D : ปริมาณการใช้ตลอดปี 45000 ชิ้น
จาก D : ปริมาณการใช้ตลอดปี ชิ้น O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง 120 บาท C : ค่าเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี 5 บาท Q : จำนวนครั้งในการสั่งซื้อเป็นหน่วยต่อครั้ง จะได้ ชิ้น

12 จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี
ต้นทุนในการสั่งซื้อตลอดปี Q X O = 31 X 120 = 3,720 บาท ต้นทุนในการเก็บรักษาตลอดปี บาท

13 การหาปริมาณการสั่งซื้อกรณีสินค้ามีส่วนลด
ต้นทุน รวม (บาท) ปริมาณ TC TC1 TC2 TC3 EOQ Q1 Q2

14 ขนาดที่ซื้อ ราคาต่อหน่วย
ตัวอย่างที่ 8.2 โรงงานแห่งหนึ่งต้องการซื้อหลอดไฟปีละ 3,000 หลอด โรงงานที่จำหน่ายมีส่วนลดดังนี้ ขนาดที่ซื้อ ราคาต่อหน่วย ซื้อตั้งแต่ – หลอด ซื้อตั้งแต่ – 1,199 หลอด ซื้อตั้งแต่ ,200 หลอดขึ้นไป ราคาหลอดละ 15 บาท ราคาหลอดละ 10 บาท ราคาหลอดละ บาท มีค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อครั้งละ 50 บาท มีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา 18 % ของราคาซื้อต่อหลอด ให้หาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมและต้นทุนรวมทั้งปี

15 วิธีทำ D. 3,000 หลอดต่อปี. O. 50 บาท. C
วิธีทำ D 3,000 หลอดต่อปี O บาท C X ราคาสินค้าต่อหน่วย ขั้นตอนที่ 1 การหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมทุกช่วงการลดราคา EOQ (หลอดละ 15 บาท) หลอด EOQ (หลอดละ 10 บาท) หลอด EOQ (หลอดละ 8 บาท) หลอด

16 ขั้นตอนที่ 2 ปรับปริมาณการซื้อเป็นไปตามการซื้อที่แท้จริง
ขั้นตอนที่ 2 ปรับปริมาณการซื้อเป็นไปตามการซื้อที่แท้จริง ช่วง 1 – เป็น 334 หน่วย ช่วง 800 – 1, เป็น หน่วย ช่วง 1,200 ขึ้นไป เป็น 1,200 หน่วย ขั้นตอนที่ 3 คำนวณหาต้นทุนปริมาณการสั่งซื้อ ต้นทุนรวม

17 ต้นทุนรวม(334 หลอด) ต้นทุนรวม(800หลอด) ต้นทุนรวม(1200หลอด)

18 สรุป จะเห็นว่าต้นทุนที่ต่ำสุดคือซื้อ >1,200 หลอด
ซื้อตั้งแต่ ราคาต่อหน่วย ต้นทุนรวม 1 – 799 15 45,900 800 – 1199 10 30,907.50 มากกว่า 1200 8 24,989

19 กรณี รับวัตถุดิบล่าช้า
จุดสั่งซื้อ ช่วงเวลาสินค้าปกติ ช่วงเวลาสินค้าขาดมือ ระดับการสั่งซื้อใหม่ ขนาดสินค้าขาดมือ

20 ช่วงเวลาสินค้าขาดมือ ระดับการสั่งซื้อใหม่
ตัวอย่าง กิจกรรมของโรงงานหนึ่งต้องการใช้ไม้ยางพาราในการผลิตสินค้าวันละประมาณ 1,500 กิโลกรัม เมื่อสั่งยางพาราไปแล้วจะรับภายใน 3 วัน ดังนั้นเมื่อเกิดความไม่แน่นอนโรงงาน จึงสำรองยางพาราเอาไว้ 2,000 กิโลกรัม ROP = (T X LT) + สินค้าสำรอง = (1500 X 3) = กิโลกรัม จุดสั่งซื้อ ช่วงเวลาสินค้าปกติ ช่วงเวลาสินค้าขาดมือ ระดับการสั่งซื้อใหม่ ขนาดสินค้าขาดมือ

21 การควบคุมจำนวนสินค้าคงเหลือด้วยการจัดกลุ่มสินค้า
ABC analysis โดยแยกสินค้าคงคลังออกตามประเภทความสำคัญหรือราคา โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม A กลุ่มที่เป็นสินค้าที่สำคัญมาก มูลค่าสูง (high value) โดยทั่วไปจะมีสินค้า อยู่ประมาณ 10 – 20%ของสินค้าทั้งหมด และจะมีมูลค่าอยู่ประมาณ 70 – 80%ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด (มีปริมาณน้อย แต่มูลค่ารวมค่อนข้างสูง) กลุ่ม B กลุ่มที่เป็นสินค้าปานกลาง (middle value) โดยทั่วไปสินค้าคงคลังประเภทนี้จะมีอยู่ประมาณ 30 – 40% ของสินค้าทั้งหมด และมูลค่าของสินค้าประเภทนี้จะมีค่าประมาณ 15 – 20% ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด (มีปริมาณปานกลาง มูลค่ารวมปานกลาง) กลุ่ม C กลุ่มสินค้าที่มีความสำคัญน้อยที่สุด (small value) เป็นสินค้าที่มีราคาต่ำ มีเปอร์เซ็นต์ในการเก็บรักษามาก คือ ประมาณ 40 – 50% และมูลค่า 5 – 10% ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด (มีปริมาณมาก แต่มูลค่ารวมค่อนข้างต่ำ)

22 เปอร์เซ็นต์ ของมูลค่า สินค้า คงเหลือ (Percent of annual dollar usage)
กราฟแสดงการวิเคราะห์สินค้าคงเหลือด้วยวิธี ABC 80 70 60 50 40 30 20 10 กลุ่มสินค้า A กลุ่มสินค้า B กลุ่มสินค้า C เปอร์เซ็นต์ ของมูลค่า สินค้า คงเหลือ (Percent of annual dollar usage)

23 คงเหลือรายการสินค้าคงเหลือ (หน่วย)
ตัวอย่างที่ 10.1 บริษัทเมืองไทยอิเล็กทรอนิกส์ มีสินค้าทั้งสิ้น 10 รายการ สามารถแสดงการแบ่งประเภทสินค้าตามหลักการของวิธี ABC ได้ดังนี้ เลขที่สินค้า คงเหลือรายการสินค้าคงเหลือ (หน่วย) เปอร์เซ็นต์ของจำนวน ปริมาณสินค้า คงเหลือ (ต่อหน่วย) ราคาสินค้า คงเหลือ มูลค่าสินค้า สินค้าคงเหลือ % ของมูลค่า # 10366 # 11536 # 12770 # 10887 # 10508 # 12572 # 14074 # 01035 # 01305 # 10574 17.56% 32.20% 50.24% 1,300 500 1,500 600 1,200 800 2,500 150 1,400 300 100.00 120.00 20.00 50.00 13.00 16.00 1.00 10.00 0.50 130,000 60,000 30,000 15,600 12,800 700 45.87% 21.17% 10.59% 5.50% 4.52% 0.88% 0.53% 0.25% 0.10% รวม 10,250 283,400 100%

24 ผลการจัดแบ่งสินค้าเป็นกลุ่ม
กลุ่มสินค้า เลขที่สินค้าคงเหลือ มูลค่าสินค้าคงเหลือรวม เปอร์เซ็นต์ปริมาณสินค้าคงเหลือ เปอร์เซ็นต์มูลค่าสินค้าคงเหลือ A B C #10366, #11536 #12770, #10887, #10508 #12572, #14074, #01035, #01037, #10574 190,000 75,600 17,800 17.56% 32.20% 50.24% 67.04% 26.68% 6.28%

25 การคำนวณ การจัดแบ่งสินค้าเป็นกลุ่มตามวิธี ABC 67.04% 26.68% 6.28% A
เลขที่รายการ สินค้าคงเหลือ ปริมาณสินค้า คงเหลือ %ปริมาณสินค้าคงเหลือ มูลค่าสินค้า %มูลค่าสินค้าคงเหลือ A #10366 #11536 1,300 500 =17.56% 130,000 60,000 67.04% B #12770 #10887 #10508 1,500 600 1,200 = 32.20% 30,000 15,600 26.68% C #12572 #14074 #01035 #01307 #10574 800 2,500 150 1,400 300 =50.24% 12,800 700 6.28%

26 การจัดทำบันทึกรายการสินค้าที่ถูกต้องแม่นยำ (Record Accuracy)
ต้องมีระบบการจัดการที่ดี ห้องจัดเก็บ พื้นที่จัดเก็บ ใช้ระบบ Bar-code

27 จบบทที่ 8 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง... SME yaalda


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google