งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
แนะนำผู้สอน ผศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย กศ.บ. คณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ กศ.ม. จิตวิทยาพัฒนาการ กศ.ด. วิจัยและประเมินผลการศึกษา

2 ข้อคิดก่อนเรียน

3 แนวโน้มความรู้ ความรู้ในโลกเพิ่มทุกวัน
รู้แต่ไม่บอกใคร บอกไม่เป็น ไม่ยอมบอก หวง ตายไป ลาออก ทำงานทั้งวัน แต่จับไม่ได้ว่านี่คือความรู้ รู้แบบท่อง จำได้ ไม่นานก็ลืม เวลาที่ผ่านไป

4 บันไดสี่ขั้นสู่การเรียนรู้ (Learning)
เลียนแบบ/ พัฒนาต่อยอด 4 เลียนรู้ รับมา ทำเลียนแบบ 3 รับรู้ แต่อาจไม่ได้นำไปใช้ 2 ไม่รู้ ไม่รู้ ไม่ชี้ vs. ไม่รู้ แล้วชี้ 1

5 ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
รูปแบบของความรู้ เอกสาร (Document) กฎ ระเบียบ (Rule) วิธีปฏิบัติงาน (Practice) ระบบ (System) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ทักษะ (Skill ) ประสบการณ์ (Experience) ความคิด (Mind of individual ) พรสวรรค์ (Talent ) ความรู้ที่ฝังลึกแฝงใน ตัวบุคคลแต่ละบุคคล (Tacit Knowledge)

6 20% 80% ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
ความรู้ฝังลึกแฝงในตัวบุคคลแต่ละบุคคล (Tacit Knowledge) อธิบายไม่ได้ อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย

7 EK to TK TK to EK TK to EK EK to TK

8 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกัน
ส่วนกลางลำตัว - ส่วนที่เป็น “หัวใจ” - ให้ความสำคัญกับ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกัน และกัน (Share & Learn) Knowledge Sharing (KS) TUNA Model (Thai –UNAids) Knowledge Vision (KV) Knowledge Assets (KA) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจากชุมชนนักปฏิบัติ ส่วนหัว ส่วนตา มองหาเป้าหมายที่ชัดเจน

9 อย่าปิดกั้นตนเอง หรือทำเป็นน้ำล้นแก้ว

10 อย่าเอาแต่เดินตาม หัดคิดนอกกรอบ สร้างสรรค์ หรือต่อยอด
ส่ายหัว

11 สร้างสรรค์พอไหม?

12 อย่าเป็นคนเก่งเสียทุกอย่าง ไว้ใจคนรอบข้างก็ดี

13 รู้จักทำงานเป็นทีม

14 อย่าตื่นกลัวในสิ่งที่ยังไม่ลงมือทำ

15 Happiness Learning together
Organization Happiness Learning together

16 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 30 ได้กำหนดให้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ มาตราที่ 30 ได้กำหนดให้ “สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถ วิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ ผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา”

17 การประเมินผลการเรียนรู้ (เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ)
การจัดการเรียนรู้ (เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ด้วยนะครับ

18 ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน/จัดทำโครงการสอน
วิเคราะห์หลักสูตร/คำอธิบายรายวิชา/วิเคราะห์ผู้เรียน /ศึกษาและเลือกแนวคิด รูปแบบ วิธีสอน เทคนิคการสอน /สอดแทรกคุณลักษณะ ทักษะที่ต้องการส่งเสริม/อื่นๆ จัดการเรียนการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน/จัดทำโครงการสอน จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามที่ออกแบบไว้ รายงานการใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้ พบปัญหา ทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน / วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

19 ครูยุคปฏิรูปการเรียนรู้ : ครูคือ ผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และเป็นครูนักวิจัย

20 การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การวิจัยของครู
การวิจัยที่ครูผู้สอนเป็นผู้ทำวิจัย และนำมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียน การสอนในชั้นเรียนของตนเอง สาระสำคัญ และกระบวนการวิจัย อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่จุดเน้น และมุมมอง ของนักวิชาการ แต่ละท่าน การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การวิจัยของครู การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ชื่อเหล่านี้ ต่างมีจุดเน้น คล้ายๆ กัน

21 ท่านรู้ เข้าใจ เพียงใด กับคำว่า “การวิจัย” หรือ “Research”
แล้วไงละ Are you ready?

22 การวิจัยคืออะไร แสวงหา ด้วย ความจริงส่วนบุคคล (Private facts)
ความรู้ความจริง ความจริงสาธารณะ (Public facts) ด้วย วิธีการที่เป็นระบบ ความเชื่อถือได้

23 ตอบได้หลายแง่มุม ขึ้นอยู่กับความเชื่อหรือสำนึกคิดของนักปรัชญา
ความจริงคืออะไร ตอบได้หลายแง่มุม ขึ้นอยู่กับความเชื่อหรือสำนึกคิดของนักปรัชญา ดังนั้น จึงขอสรุปว่า “ความจริงคือสิ่งที่เชื่อว่าจริง”

24 ค้นพบความจริงได้อย่างไร
วิธีการค้นพบความจริง แบ่งเป็น 2 วิธีการ (กลุ่ม) กลุ่มแรก : การจะค้นพบความจริงทำได้โดยการให้เหตุผล ครุ่นคิด (คิดอย่างมีเหตุผลจะทำให้ได้ความจริง) โดยอาศัยหลักการนิรนัย (Deductive) เป็นเครื่องมือ ความจริงที่ได้มาจากภายในมิใช่ภายนอกหรือจากประสบการณ์ ที่ผ่านเข้ามา ความจริงเป็นสิ่งนิรันดรไม่แปรเปลี่ยน หากใช้เหตุผลคิด อย่างรอบคอบก็จะพบความจริงดังกล่าว ดังนั้นกลุ่มนี้จึงถูกเรียกว่า กลุ่มเหตุผลนิยม (Rationalism)

25 กลุ่มที่สอง : การจะค้นพบความจริงต้องอาศัยประสบการณ์ทั้งสิ้น วิธีการ ค้นหาจะใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้ากับประสบการณ์เดิม โดยอาศัยหลักการอุปนัย (Inductive) เป็นเครื่องมือสรุปข้อค้นพบ ดังนั้นกลุ่มนี้จึงถูกเรียกว่า กลุ่มประจักษ์นิยม (Empiricalism)

26 วิจัยกับการค้นพบความจริง
ด้วยพื้นฐานความเชื่อเกี่ยวกับความจริงและวิธีการค้นพบความจริงที่กล่าวมาแล้ว นำไปสู่การเกิด ระเบียบวิธีวิจัยหรือวิธีวิทยาการวิจัย (Research Methodology) ที่แตกต่างกัน 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มแรก : Rational Research Methodology (ระเบียบวิธีวิจัยเชิงตรรกะ หรือ เชิงเหตุผล) กลุ่มที่สอง : Empirical Research Methodology (ระเบียบวิธีวิจัยเชิงประจักษ์)

27 กลุ่มแรก : Rational Research Methodology (ระเบียบวิธีวิจัยเชิงตรรกะ หรือ เชิงเหตุผล)
การดำเนินการวิจัยมุ่งหาความจริงที่มีลักษณะเป็นการคิดและใช้ เหตุผล สรุปอย่างสมเหตุสมผลโดยอาศัยการนิรนัย ความถูกต้อง หรือความรู้ความจริงที่ได้รับจะพิจารณาจากการลงสรุปอย่างสมเหตุ สมผลเป็นสำคัญ โดยไม่สนใจว่าจะสอดคล้องกับสิ่งที่เกิดขึ้นใน ธรรมชาติหรือไม่ ตัวอย่างความรู้ความจริงที่ได้จากระเบียบวิธีวิจัยประเภทนี้ ได้แก่ ปรัชญา ตรรกศาสตร์ เรขาคณิต คณิตศาสตร์ เป็นต้น

28 กลุ่มที่สอง : Empirical Research Methodology (ระเบียบวิธีวิจัยเชิงประจักษ์)
การดำเนินการวิจัยมุ่งหาความจริงโดยใช้ประสบการณ์ที่ผ่านประสาท สัมผัสทั้งห้าเป็นหลัก ความจริงที่มุ่งค้นหาจึงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นหรือเป็น ปรากฏการณ์ในธรรมชาติที่สามารถจับต้องได้ ความถูกต้องและน่าเชื่อถือเพียงใด ขึ้นอยู่กับความสามารถใน การทดสอบพิสูจน์ด้วยประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ประกอบกัน ตัวอย่างความรู้ความจริงที่ได้จากระเบียบวิธีวิจัยประเภทนี้ ได้แก่ ความรู้ความจริงที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ในธรรมชาติทั้งหมด

29 กลุ่มที่สอง : Empirical Research Methodology
กลุ่มสำนักคิดที่ใช้ Empirical Research Methodology ยังแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มสำนักย่อย เนื่องจากพื้นฐานความเชื่อในการมองปรากฏการณ์ในธรรมชาติแตกต่างกัน ได้แก่ กลุ่มปฏิฐานนิยม (Positivism) กลุ่มปรากฏการณ์นิยม (Phenomenologism)

30 1. กลุ่มปฏิฐานนิยม (Positivism) มุ่งค้นหาความจริงของปรากฏการณ์ในธรรมชาติ โดยเน้นศึกษาปรากฏการณ์ที่เป็นวัตถุสสารที่สามารถสัมผัส จับต้อง วัดค่าได้อย่างเป็นวัตถุวิสัยหรือมีความเป็นปรนัย และมีความเชื่อว่าปรากฏการณ์ในธรรมชาติที่มุ่งศึกษานั้น เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอไม่แปรเปลี่ยนง่ายๆ นักวิจัยมีหน้าที่ค้นหา ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะใช้ความรู้ความจริงที่ค้นพบนี้ ไปควบคุมปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติให้เกิดหรือไม่เกิดขึ้น ตามความต้องการ

31 2. กลุ่มปรากฏการณ์นิยม (Phenomenologism) มุ่งศึกษาปรากฏการณ์โดยอาศัยประสบการณ์และประสาทสัมผัสทั้งห้าเป็นพื้นฐาน (เช่นเดียวกับกลุ่มแรก) แต่กลุ่มนี้มีความเชื่อ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางสังคม (ของมนุษย์) แตกต่างกับปรากฏการณ์ในธรรมชาติอื่นๆ โดยเชื่อว่า ปรากฏการณ์ทางสังคมมีลักษณะเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง หรือมีความเป็นพลวัตสูงมาก นอกจากนั้น ยังขึ้นอยู่กับความเชื่อ การให้คุณค่า ความหมาย และวัฒนธรรมของกลุ่มคนในสังคมนั้น ด้วยเหตุนี้ การที่จะทำการศึกษาให้ได้ความรู้ความจริง และเข้าใจถึงปรากฏการณ์ทางสังคมอย่างแท้จริงจึงไม่ สามารถกระทำได้โดยการแจงนับ วัดค่าออกมาเป็นตัวเลข หากแต่ จะต้องเข้าใจถึงความหมาย ระบบคุณค่า วัฒนธรรมของกลุ่มคนเสียก่อน

32 2. กลุ่มปรากฏการณ์นิยม (Phenomenologism)
1. กลุ่มปฏิฐานนิยม (Positivism) 2. กลุ่มปรากฏการณ์นิยม (Phenomenologism) กลุ่มที่สอง : Empirical Research Methodology ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research Methodology) ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Methodology)

33 Qualitative Research Methodology Quantitative Research Methodology
เข้าศึกษา ปรากฏการณ์ เก็บรวบรวม /วิเคราะห์ ข้อมูล สร้างข้อสรุป อธิบาย ปรากฏการณ์ ทฤษฎี จากพื้นที่ (weak theory) กำหนด สมมติฐาน เก็บรวบรวม /วิเคราะห์ ทดสอบ สมมติฐาน ทฤษฎีแข็ง (strong theory) นิรนัย ยืนยัน ปฏิเสธ Qualitative Research Methodology Quantitative Research Methodology ความสัมพันธ์ ของ 2 กลุ่ม

34 สังเกต ปรากฏการณ์ ในธรรมชาติ แล้วกำหนด ปัญหา
ตั้ง สมมติฐาน เก็บรวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูล สรุปผล การค้นพบความจริง ด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์ อนุมาน อุปมาน

35 เพื่อควบคุม (Control)
เป้าหมายของการวิจัย เพื่อควบคุม (Control) (การทำให้เกิดหรือไม่เกิดปรากฏการณ์ใดๆ ตามที่ต้องการ) เพื่อทำนาย (Prediction) (การบอกเล่าในลักษณะ ถ้า แล้ว) เพื่ออธิบาย (Explanation) (การบอกเล่าในเชิงสาเหตุและผลของปรากฏการณ์ หรือความสัมพันธ์ :why) เพื่อบรรยายหรือพรรณนา (Description) (การบอกเล่าตอบคำถาม who what where when how)

36 ขั้นตอนการทำวิจัยทั่วไป 6. สร้าง/เลือกเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
1. ตระหนักถึงปัญหา 9. สรุปผลและเขียนรายงานวิจัย 2. กำหนดขอบเขตของปัญหา 8. การจัดกระทำข้อมูล 3. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 7. ดำเนินการรวบรวมข้อมูล 4. กำหนดสมมติฐาน 6. สร้าง/เลือกเครื่องมือรวบรวมข้อมูล 5. เขียนโครงการวิจัย

37 จรรยาบรรณของนักวิจัย
ในไฟล์เอกสาร แนบ


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google