ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTomas Brodbeck ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
ประชุมขับเคลื่อนการดำเนินงานควบคุมป้องกันอุบัติเหตุและคณะอนุกรรมการดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดนราธิวาส ครั้งที่ ๑ ปี ๒๕๕๙ วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุมพระบารมี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
2
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
ทิศทางการดำเนินงาน ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ การประชุมเชิงปฏิบัติการทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ระหว่างวันที่ ต.ค. 58 ณ รร.มิราเคิล แกรนด์ กทม.
5
ทิศทางนโยบายของท่านปลัดโสภณ
วัยทำงาน NCDs : ใช้ CKD เป็น Entry point ทำการคัดกรองใน ประชาชนและภาวะแทรกซ้อน 4 ต (ตา ไต เท้า CVD risk) อุบัติเหตุทางถนน : เน้นการจัดการข้อมูลและนำไปใช้ ผลักดันการดำเนินงาน กลยุทธ์ DHS พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค Service plan : - เป้าหมายลดป่วย/ลดตาย เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ระบบการส่งต่อที่ ไร้รอยต่อ ลดความแออัด ประชาชนพอใจ
6
เป้าหมาย 59 วัยเรียน วัยรุ่น กลุ่มวัย วัยทำงาน
จมน้ำ : อัตราตายไม่เกิน 6.5 ต่อแสน (เกิน 770 คน) ทีมก่อการดี (Merit Maker) อำเภอละ 1 ทีม ในพื้นที่เสี่ยงสูง วัยรุ่น ALC : ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่ม ใน ปชก ปี ไม่เกิน 13 % ยาสูบ : อัตราการบริโภคยาสูบในวัยรุ่น (15-18 ปี) ไม่เกิน 10 % วัยทำงาน CVD : ผู้ป่วยรายใหม่ IHD ลดลง นำร่อง 15 จังหวัด องค์กรหัวใจดี (เทศบาลใน15 จังหวัด) คลินิก NCD คุณภาพ : DM&HT ควบคุมน้ำตาล/ความดัน ได้ดี อุบัติเหตุ : ลดตายในช่วงเทศกาลปีใหม่และสงกรานต์ ด่านชุมชนทุกอำเภอในพื้นที่เสี่ยง ทีมสอบสวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มวัย (บูรณาการชาติ)
7
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
8
Quick Win สำหรับการดำเนินงานลดโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2559
NCD RTI จมน้ำ มาตรการ ขับเคลื่อนงานผ่าน DHS/DC มาตรการชุมชน (ด่านชุมชน) จัดการข้อมูลและสอบสวนอุบัติเหตุ มาตรการองค์กร PP Plan 1.ตำบลจัดการสุขภาพ 2.สปก./สถานที่ทำงาน 3.บังคับใช้กม. 4.คลินิก NCD คุณภาพ 1.สร้างทีม “ผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ” 2.สื่อสารประชาสัมพันธ์ Service plan DM HT CKD & CVD MODEL เป้าหมาย พัฒนาทีมวิทยากรพี่เลี้ยง 1,000 คน อบรมพี่เลี้ยง 60 คน Pt. DM HTได้รับการประเมิน cvd risk 60% การบาดเจ็บและการเสียชีวิตภาพรวมในเทศกาลปีใหม่ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50% พัฒนา SM ระดับเขต 50% มีทีมผู้ก่อการดีเพิ่มอีก 200 ทีม (1 ทีม/อำเภอในพื้นที่เสี่ยงสูง) 3 M -มีการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง อย่างน้อย 600 แห่ง -ศูนย์เด็กเล็กได้รับการจัดการอย่างน้อย 200 แห่ง 6 M อบรมอสม.52,236 คน อบรมผู้ประเมินสปก.50 คน กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับการปป.พฤติกรรม 50% พัฒนา SM ระดับเขต 100% คัดกรอง CKD 60% การบาดเจ็บและการตายภาพรวมในเทศกาลสงกรานต์ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50 % พื้นที่ขับเคลื่อนงานผ่านDHS/DC Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) ขับเคลื่อนหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 70% Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) 9 M -เด็กได้เรียนหลักสูตรการว่ายน้ำฯ อย่างน้อย 20,000 -อุบัติเหตุของรถพยาบาลลดลงจากปีที่ผ่านมาในช่วงเวลาเดียวกัน -Pt. DM HT คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า -Pt. DM HT มีภาวะแทรกซ้อนไต stage3 ขึ้นไป ลดลง -ดำเนินการคลินิก NCD คุณภาพ ในทุกโรงพยาบาล ตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ 70% สปก.ได้รับข้อมูลดำเนินงานสปก. 5% ของทั้งหมด Pt.รายใหม่ด้วย IHD ลดลง 12 M การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี < 770 คน (< 6.5 ต่อปชก.เด็กต่ำกว่า 15 ปีแสนคน) -อัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนนของเขตลดลงอย่างน้อย 21%
9
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และการป้องกันเด็กจมน้ำ
ผลการดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และป้องกันเด็กจมน้ำ คลินิก NCD คุณภาพ 1.คลินิก NCD คุณภาพ 2558 : รพ.เป้าหมาย 324 แห่ง ผ่านการประเมินรับรอง 311 แห่ง (96.3%) เป้าปี 59 ประเมินครบ ร้อยละ 100 = 853 แห่ง 2. ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาล/ความดันได้ดีปี 58 : ร้อยละ 38.2 /41.5 (MedResNet) 3. อัตราตาย CHD (รอบ 9 เดือน ปี58) : 20.32/ปชก.แสนคน (ปี 57 =26.77,ปี 56=26.91) อุบัติเหตุทางถนน อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนน รอบ 9 เดือน : 13.98/ประชากรแสนคน มี MR.RTI 24 คน มีด่านชุมชน 206 แห่ง และพัฒนาทีมด่านชุมชน (การใช้ข้อมูล) 16 จังหวัด DHS งาน RTI > 90 อำเภอ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และการป้องกันเด็กจมน้ำ สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเนินงานเพื่อลดโรค NCDs - คู่มือการจัดบริการสุขภาพ”กลุ่มวัยทำงาน” 2558 คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข แนวทางการคัดกรอง ประเมินและดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต" (ตา ไต ตีน ตีบ) CVD risk & CKD ประเมินโอกาสเสี่ยงโรค CVD และดำเนินการในพื้นที่นำร่อง (สิงห์บุรี,อ่างทอง) พัฒนารูปแบบการจัดบริการคลินิกโรค CKD พัฒนาบุคลากร อบรม Case Manager (ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) 2 รุ่น (120 คน) อบรม System Manager (120 คน) จมน้ำ -อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี) รอบ 9 เดือน : เป้าหมายประเทศ 2558 : Rate 6.5 หรือ 770 คน ผล : 543 คน (ณ 16 กค.58) -มีเครือข่ายทีมผู้ก่อการดีจำนวน 350 ทีม
10
การดำเนินงานเพื่อลดอัตราการเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน Road Traffic Injury
11
สรุปการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนน ปีงบประมาณ 2558
สรุปการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนน ปีงบประมาณ 2558 อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน เป้าหมาย : ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน (V01-V89) รอบ 9 เดือน รายเขตสุขภาพ (ตุลาคม – มิถุนายน ปีงบประมาณ 57 และ 58) ภาพรวมลดลง 1.59 ต่อประชากรแสนคน 15.57 13.98 แหล่งข้อมูล: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 2 สิงหาคม (อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้) หมายเหตุ: ข้อมูลมรณะบัตร ปี 2557 และ เป็นช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งยังไม่ได้นำไปตรวจสอบกับหนังสือรับรองการตายจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
12
เป้าหมายการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 59
กระทรวงสาธารณสุข : ลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนน ร้อยละ 21 จาก baseline เดิม ปี ไม่เกิน 16 ต่อประชาการแสนคน เขต/สคร เป้าหมายลดจาก baseline Median 53-55 ปี 58 ลด 14% ปี 59 ลด 21% 1 1362 1171 1076 7 862 741 681 2 888 764 702 8 722 620 570 3 773 665 611 9 1393 1198 1100 4 994 855 785 10 850 731 672 5 1465 1259 1157 11 1364 1173 1077 6 1828 1572 1444 12 1126 968 889 13 194 167 153
13
การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 2559
ปี 2556 มีคนไทยตายเกือบ 23,000 คน (คิดเป็นอัตราตาย 38 ต่อประชากรแสนคน) บาดเจ็บสาหัสกว่า 200,000 ราย บาดเจ็บเล็กน้อยอีก 1,050,088 ราย ผลกระทบต่อความสูญเสียของประเทศปีละ 2 แสนกว่าล้านบาท ส่วนกลาง DHS/DC ส่วนกลาง พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อมูลเฝ้าระวัง ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ สคร. โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ มาตรการจัดการข้อมูล ชี้เป้าแต่ละตำบล/หมู่บ้าน กลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมสร้างมาตรการแก้ปัญหา สคร. 80% อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ 24 จังหวัด มาตรการลดปัจจัย/พฤติกรรมเสี่ยง Quick Win : ด่านชุมชน (ช่วงเทศกาล) จัดตั้ง EOC ช่วงเทศกาล มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฏหมาย
14
การเตรียมพร้อมเทศกาลปีใหม่ 2559
“สุขกาย สุขใจ ขับขี่ปลอดภัย รับปีใหม่ 2559” วันที่ 29 ธ.ค ม.ค. 59
20
การดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กจมน้ำ
21
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน “เด็กจมน้ำ”
“อัตราการเสียชีวิต จากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี) ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กแสนคน” เปรียบเทียบจำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุ< 15 ปี) ไตรมาสที่ 1-3 (ต.ค. 57-มิ.ย.58) กับค่าเป้าหมายปี 2558 จำแนกตามเครือข่ายบริการสุขภาพ แหล่งข้อมูล: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์: สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
22
การดำเนินงานปีงบประมาณ 2559
ตัวชี้วัด อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กแสนคน เป้าหมาย 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน < 200 คน < 400 คน < 600 คน < 770 คน มาตรการสำคัญหลัก เป้าหมาย
23
EMERGENCY MEDICAL SYSTEM
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน EMERGENCY MEDICAL SYSTEM จังหวัดนราธิวาส 23
24
ทิศทางการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ประจำปี ๒๕๕๙ ของ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
๑. นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ให้ความสำคัญกับการดำเนินงาน road safety โดยต้องการลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ๒. พัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านบุคลากร อุปกรณ์ และเครื่องมือช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน รวมทั้งมีการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และส่งเสริมให้ อปท.เข้ามามีบทบาทในการบริหารจัดการ
25
ทิศทางการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ประจำปี ๒๕๕๙ ของ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
๓. ลดตัวชี้วัด เน้นการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS profile ) เพื่อจัดทำแผนพัฒนา ระดมความคิดเห็น เพื่อร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของระดับต่าง ๆ เช่น จังหวัด เขต ภาค โดยอิงกับ service plan และ fast track ให้ครอบคลุม ตั้งแต่ Pre Hospital Care, ER, Inter Hospital Care ๔. การดำเนินการที่ไร้รอยต่อ ตั้งแต่เจ็บป่วยฉุกเฉินโทร ๑๖๖๙ กู้ชีพไปรับอย่างรวดเร็ว นำส่ง ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล เกินศักยภาพส่งต่อ excellent center
26
มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติการพัฒนาระบบปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน
๑.จะติดตั้งระบบสื่อสารทุกศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ ทั่วประเทศ โดยใช้งบประมาณของ สพฉ. ในการติดตั้งและบำรุงรักษา เพื่อใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ ๒. การขึ้นทะเบียนรถพยาบาลฉุกเฉิน การดำเนินในการขึ้นทะเบียนรถมีความล่าช้า ซึ่งได้รับเสียงสะท้อนมาจากพื้นที่ โดยจะปรับกระบวนการทำงานให้มีความรวดเร็วขึ้น
27
มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติการพัฒนาระบบปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน
๓. พัฒนาระบบสื่อสาร ICS รองรับสถานการณ์ภัยพิบัติ ให้ครอบคลุมเครือข่ายทั้งจังหวัดและอำเภอ ๔. การปฏิบัติการฉุกเฉินทางอากาศยาน มีจัดทำเป็นเครือข่ายระดับเขต โดยมีเครือข่ายที่ ๑ เป็นต้นแบบในการบริหารจัดการการปฏิบัติการฉุกเฉินทางอากาศยาน ปี ๒๕๕๙ จะขยายผลในพื้นที่ภาคใต้
29
ตัวชี้วัด ปี 2559
30
ตัวชี้วัดปี๒๕๕๙ ๑. งานอุบัติเหตุทางถนน
- อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน(ไม่เกิน ๑๖ ต่อ ปชก.แสนคน) อัตราตายจากอุบัติเหตุลดลงร้อยละ ๒๑ จากค่ามัธยฐาน ปี ๕๓-๕๕ (๑๒๒) ๒. งานจมน้ำในเด็กต่ำกว่า ๑๕ ปี -อัตราตายจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี (ไม่เกิน ๖.๕ ต่อ ปชก.แสนคน)
31
ตัวชี้วัดปี๒๕๕๙ ๓. Service plan อุบัติเหตุ
- อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยที่มีค่า Ps score มากกว่าหรือเท่ากับ ๐.๗๕ น้อยกว่าร้อยละ ๑ - อัตราส่วนของผู้ป่วยแดงที่มาด้วยระบบ EMS เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ - อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยฉุกเฉินที่รับไว้ในโรงพยาบาลภายใน ๒๔ ชม. น้อยกว่าร้อยละ ๕ -มีการประเมินความเสี่ยงของหน่วยบริการ และจัดทำแผนเพื่อรองรับภัยพิบัติระดับเขต /จังหวัด /อำเภอ
32
ตัวชี้วัด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
1. สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ (สีแดง) ที่ได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินไม่เกิน 8 นาที ที่รับแจ้งเหตุ ร้อยละ 24 2. กลไกการพัฒนาคุณภาพระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัด 3. สัดส่วนผู้ป่วยวิกฤติ (สีแดง) ที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ร้อยละ 55 4. จังหวัดที่มีการฝึกซ้อมแผนเสมือนจริง ตามแผนเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์ฉุกเฉินและการสาธารณสุขเพื่อรับรองการจัดการสาธารณภัยพร้อมมีชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็วร่วมซ้อมแผน
33
ตัวชี้วัด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(ต่อ)
5. ร้อยละความครอบคลุมขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีบทบาทการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ร้อยละ 90 6. มีการส่งเสริมพัฒนาให้มีอาสาฉุกเฉินชุมชนในการแจ้งเหตุ การปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตเบื้องต้นให้แก่ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤติที่เกิดขึ้นในชุมชน ร้อยละ 0.5
34
ตัวชี้วัด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(ต่อ)
7. ร้อยละของผู้ป่วยฉุกเฉินที่แจ้งเหตุด้วยหมายเลขที่ กพฉ.กำหนด เทียบกับผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งหมดที่มารับบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ร้อยละ 80 8. อบจ.หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษและร้อยละความครอบคลุมขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีบทบาทในการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
35
ตัวแปรที่ติดตาม เพื่อการพัฒนา
ความครอบคลุมของหน่วยบริการ (อปท ร้อยละ ) ความคล่องแคล่ว (ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ ( สีแดง )ที่เริ่มได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน 8 นาที ร้อยละ74.71 จากเป้าหมายร้อยละ 55) ความพร้อมของการใช้ 1669 ของประชาชนและการรับแจ้งเหตุของศูนย์ (ร้อยละ ) ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต เข้าสู่ระบบเพิ่มขึ้น (ร้อยละ )
36
ตัวแปรที่ติดตาม เพื่อการพัฒนา
ความพร้อมที่จะรับ Fast Track ตลอดเส้นทาง ทั้ง Trauma, Stroke, STEMI, Sepsis ระบบการส่งต่อทั้งจังหวัด เขต Ambulance Safety การพัฒนา Triage นวัตกรรมต่าง ๆ
37
สถานการณ์และผลการดำเนินงาน
38
แสดงจำนวนและอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดนราธิวาส พ. ศ
แสดงจำนวนและอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘ แยกรายปี แหล่งข้อมูล : รายงาน ๑๙ สาเหตุ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
39
แสดงจำนวนและอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๕๘ แยกรายอำเภอ
แหล่งข้อมูล : รายงาน ๑๙ สาเหตุ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
40
แสดงจำนวนและอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘ จำแนกรายปี แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
41
แสดงจำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘ จำแนกตามกลุ่มอายุ แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
42
แสดงจำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘ จำแนกตามเพศ
แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
43
แสดงจำนวนสะสมการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘ จำแนกรายเดือน แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
44
แสดงจำนวนสะสมการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘ จำแนกตามสถานที่เกิดเหตุ แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
45
สถานการณ์และผลการดำเนินงานด้าน EMS
46
จำนวนบุคลากรในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดนราธิวาส
1 แพทย์ EP 3 ราย 2 Paramedic-Nurse 451 ราย 3 EMT-Intermediate 39 ราย 4 EMT-Basic 289 ราย 5 First Responder 1,181 ราย
47
เอกชน 2 อปท1 เอกชน 8 อปท 54 รวม 132 ALS 14 BLS 57 FR 61
อบต.ปะลุกาสาเมาะ มูลนิธิเมตตาธรรมนราธิวาส สมาคมกู้ภัยนรา 01 เทศบาลตำบลต้นไทร เทศบาลตำบลบาเจาะ มูลนิธิฮิลาลอะห์มัร (สาขา อ.เมือง) อบต.ตะปอเยาะ อบต.กาเยาะมาตี อบต.โคกเคียน อบต.กะลุวอเหนือ อบต. ลุโบะบายะ อบต.สุวารี อบต.สามัคคี อบต.ลุโบะบือซา อบต. จอเบาะ เทศบาลตำบลยี่งอ อบต.ละหาร อบต.ยี่งอ กทบ.ซือเลาะ พิทักษ์ภัย อปพร BLS อบต.กะลุวอ มูลนิธิฮิลาลอะห์มัร (สาขา อ.รือเสาะ) อบต.ลำภู อบต.บาตง อบต.ไพรวัน อบต.รือเสาะ อบต.ตันหยงลิมอ อบต.บางขุนทอง อบต.มะรือโบตก อบต.ตะมะยูง อบต.จวบ อบต.ศาลาใหม่ เทศบาลตำบลมะรือโบตก เทศบาลเมืองตากใบ อบต.ตันหยงมัส อบต.บาโงสะโต อบต.พร่อน อบต.เชิงคีรี เทศบาลศรีสาคร อบต.นานาค อบต.เกาะสะท้อน มูลนิธิฮิลาลอะห์มัร (สาขา อ.ระแงะ) อบต.มูโน๊ะ อบต.ปูโยะ อบต.บองอ อบต.ดุซงญอ เทศบาลเมืองสุไหงโกลก อบต.ผดุงมาตร เทศบาลปาเสมัส อบต.ร่มไทร อบต.จะแนะ ALS 14 อบต.โต๊ะเด็ง มูลนิธิธารน้ำใจ อบต.ช้างเผือก อบต.กาวะ BLS 57 อบต.กายูคละ เอกชน 2 อปท1 อบต.ปะลุรู อบต.ริโก๋ อบต.แม่ดง FR 61 เอกชน 8 กู้ภัยอำเภอสุไหงปาดี BLS อปท 54 อบต.มาโมง กู้ภัยฉัตรวาริน รวม 132 อบต.สากอ อบต.โล๊ะจูด
48
Repitter 5 โรงพยาบาลรือเสาะ
ช่อง 0 ความถี่ Mhz tone 100 ช่อง 9 รับ Mhz ส่ง Mhz Repitter 4 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ช่อง 0 ความถี่ Mhz tone 151.4 Repitter 2 โรงพยาบาลระแงะ ชำรุด ช่อง 0 ส่ง155,725 Mhz รับ Repitter 3 โรงพยาบาลสุคิริน ชำรุด ความถี่ Mhz tone Repitter 1 โรงพยาบาลสุไหงโก-ลค ชำรุด ช่อง 12 ส่ง Mhz รับ Mhz
49
ข้อมูลเหตุการณ์ความไม่สงบ จังหวัดนราธิวาส ตั้งแต่ 7 มกราคม 2547 – 30 ตุลาคม 2558
50
สรุปสถานการณ์ในภาพรวม
จากสถานการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ตั้งแต่ปี ตุลาคม 2558 มีเหตุการณ์เกิดขึ้นจำนวน 4,121 ครั้ง จำแนกเป็น ปล้นปืน 29 ครั้ง วางระเบิด 1,256 ครั้ง ลอบยิง/ทำร้ายร่างกาย 2,391 ครั้ง ลอบวางเพลิง 445 ครั้ง มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 3,991 คน และเสียชีวิต 1,859 คน
51
กราฟแสดง ข้อมูลเหตุการณ์, การบาดเจ็บ ,เสียชีวิต
จำนวน ปี ที่มา จากสรุปข้อมูลสถานการณ์ความไม่สงบ ที่ทำการปกครองจังหวัดนราธิวาส (ฝ่าย/กลุ่มงานความมั่นคง) ปี
52
จำนวนเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส แยกรายอำเภอ
จำนวนเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส แยกรายอำเภอ การก่อเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ตั้งแต่ปี 2547 – 30 ตุลาคม 2558 อำเภอที่มีจำนวนการก่อเหตุสูงสุดคือ อำเภอระแงะ จำนวน 745 เหตุการณ์ รองลงมาคือ อำเภอรือเสาะ จำนวน 688 เหตุการณ์ และอำเภอบาเจาะ จำนวน 397 เหตุการณ์ อำเภอที่มีเหตุการณ์ต่ำสุดคืออำเภอสุคิริน จำนวน 61 เหตุการณ์
53
แผนภูมิแสดง จำนวนเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส แยกรายอำเภอ
ที่มา จากสรุปข้อมูลสถานการณ์ความไม่สงบ ที่ทำการปกครองจังหวัดนราธิวาส (ฝ่าย/กลุ่มงานความมั่นคง) ปี
54
ตัวชี้วัดที่ 2.2 กลไกการพัฒนาคุณภาพระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัด
การประชุมคณะอนุกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน ได้บูรณาการเข้ากับการประชุมของ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด จำนวน 2 ครั้ง จัดทำแผนพัฒนางานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยใช้งบผลผลิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 780,400 บาท งบปิดแกป 700,000 บาท การประชุมเครือข่ายระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จัดประชุม จำนวน 2 ครั้ง แผนได้รับการอนุมัติ ระดับจังหวัด จำนวน 1 แผน ซ้อมแผนอัคคีภัยในศาลากลางจังหวัด ระดับอำเภอ ทุกโรงพยาบาล ซ้อมแผน อัคคีภัย อุบัติภัยหมู่ และ การรองรับเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ จากเหตุ ระเบิด โจมตี และวางเพลิง รายงานผลการดำเนินงานตามแผน หรือตัวชี้วัด มีการสรุปเป็นรูปเล่ม การถอดบทเรียนในระดับจังหวัด และอำเภอ เสนอผู้บริหาร และหัวหน้าส่วนราชการ
55
ตัวชี้วัดที่ 2.3 สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติที่เริ่มได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน ๘ นาที ร้อยละ ๖๐
ที่มา จากรายงาน ITEMS ปี 2558
56
ทุกอำเภอ มีการซ้อมแผนจากสถานการณ์ความไม่สงบ
ตัวชี้วัดที่ 2.4 จังหวัดที่มีการฝึกซ้อมแผนเสมือนจริง ตามแผนเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์ฉุกเฉินและการสาธารณสุข เพื่อรองรับการจัดการสาธารณภัยพร้อมมีชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็วร่วมซ้อมแผน จังหวัดที่มีการฝึกซ้อมแผนเสมือนจริง ตามแผนเตรียมความพร้อมด้านการแพทย์ฉุกเฉินและการสาธารณสุข เพื่อรองรับการจัดการสาธารณภัยพร้อมมีชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็วร่วมซ้อมแผน ทุกอำเภอ มีการซ้อมแผนจากสถานการณ์ความไม่สงบ
57
การซ้อมแผนการช่วยเหลือและค้นหาผู้ประสบภัยทางน้ำ จังหวัดนราธิวาส ร่วมกับอำเภอตุมปัต รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ณ หาดเสด็จ เขตเทศบาลเมืองตากใบ
58
การฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข จากเหตุการณ์ความไม่สงบ โดยบูรณาการกับทุกหน่วยงาน ณ ชุมชนชายทะเล เขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
59
ตัวชี้วัดที่ 3.1 แผนภูมิแสดงร้อยละความครอบคลุมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีบทบาทในการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ หมายเหตุ เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ ๙๐ ทื่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉินและนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี 2558
60
คปสอ. เทศบาล อบต รวม ตั้งเอง ร้อยละ เมือง 2 5 7 4 57.14 ตากใบ 1 8 87.50 บาเจาะ 6 50.00 ยี่งอ 100.00 ระแงะ 9 66.67 รือเสาะ 10 40.00 ศรีสาคร 3 42.86 แว้ง 37.50 สุคิริน 33.33 สุไหงปาดี 71.43 สุไหงโก-ลก จะแนะ เจาะไอร้อง 16 72 88 54 61.36
61
ตัวชี้วัดที่ 3. 2 จำนวนหน่วยงานหรือองค์กร (อบจ
ตัวชี้วัดที่ 3.2 จำนวนหน่วยงานหรือองค์กร (อบจ.)ที่มีบทบาทดำเนินงานหรือการป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นฉุกเฉินระดับจังหวัด ไม่มีหน่วยงาน อบจ. เข้าร่วม หมายเหตุ เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ ๖๐ ทื่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉินและนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี 2555
62
ตัวชี้วัดที่ 3.3 แผนภูมิแสดงร้อยละของการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีบทบาทในการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ หมายเหตุ เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ ๙๐ ทื่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉินและนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี 2555
63
ตัวชี้วัดที่ 3.4 การส่งเสริมพัฒนาให้มีอาสาฉุกเฉินชุมชนในการแจ้งเหตุ การปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตเบื้องต้นให้แก่ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤติที่เกิดขึ้นในชุมชน หมายเหตุ เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ ๐.๕ ทื่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉินและนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี 2557
64
ตัวชี้วัดที่ 3.5 แผนภูมิแสดงร้อยละของการแจ้งเหตุผ่านหมายเลข ๑๖๖๙ จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๕๘ (ต.ค.๕๗- ก.ย.๕๘) เป้าหมาย = ร้อยละ ๘๕ ร้อยละ ทื่มา จากรายงานระบบITEMS ปี 2558
65
ร้อยละผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉินวิกฤติ(สีเหลืองและสีแดง) ที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน โดยแจ้งผ่านศูนย์สั่งการ ๑๖๖๙ ปี ๒๕๕๘ ร้อยละ หมายเหตุ เป้าหมาย ร้อยละ ๗๐ ทื่มา จากรายงานระบบ ITEMS ปี 2558
66
ร้อยละของการประเมิน ER EMS คุณภาพตามมาตรฐาน กรมการแพทย์ ๑๒ ด้าน ผ่านเกณฑ์ ปี ๒๕๕๗
หมายเหตุ เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ ๗๐ ทื่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉินและนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี 2557
67
การให้บริการผู้ป่วย การให้บริการในปี 2558 ให้บริการช่วยเหลือผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ (ต.ค.2557 – ก.ย.2558) จำนวน 11,174 ครั้ง ให้บริการ โดยหน่วย FR จำนวน 8,996 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ ให้บริการโดยหน่วยบริการระดับ BLS จำนวน 896 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 8.00 ให้บริการโดยหน่วยบริการระดับ ILS จำนวน 686 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 6.14 ให้บริการโดยหน่วยบริการระดับ ALS จำนวน 598 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 5.35
68
การเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานช่วงเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๙ วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘-๔ มกราคม ๒๕๕๙ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส
69
“ สุขกาย สุขใจ ขับขี่ปลอดภัย รับปีใหม่ ๒๕๕๙ ”
๑. ให้ดำเนินการตามแนวทางกระทรวงฯ ในการป้องกันและ ลดอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๙ โดยการบูรณาการของทุกภาคส่วนในจังหวัด ภายใต้การบริหารงานของ ผวจ. โดยมีมาตรการเน้นหนัก ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘- ๔ มกราคม ๒๕๕๙ ๒. คำขวัญในการรณรงค์ “ สุขกาย สุขใจ ขับขี่ปลอดภัย รับปีใหม่ ๒๕๕๙ ”
70
๓. เป้าหมายการดำเนินงานในภาพรวม
- ให้ประชาชนเดินทางสัญจรอย่างปลอดภัยและมีความสุขในช่วงเทศกาล ปีใหม่ ๒๕๕๙ - ให้มีผู้บาดเจ็บ(Admit)และเสียชีวิต ลดลงให้เหลือน้อยที่สุด ให้จังหวัดอำเภอ อปท.เป็นผู้กำหนดเป้าหมายด้วยตนเอง ข้อมูลปีใหม่ ๒๕๕๘ -จำนวนครั้งการเกิด ๒๔ ครั้ง -จำนวนบาดเจ็บ(Admit) ๒๔ คน -จำนวนเสียชีวิต ๑ คน
71
๔. เตรียมความพร้อมการให้บริการ EMS
๕. เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร อุปกรณ์ต่างๆ - เตรียมห้องฉุกเฉิน ห้องผ่าตัด ห้องผู้ป่วยหนัก ให้พร้อมรับอุบัติเหตุหมู่ มีการสำรองเลือด ออกซิเจน รถพยาบาล รถกู้ชีพ การประสานการส่งต่อ ในเครือข่าย ตลอด ๒๔ ชม. ๖. เตรียมความพร้อมเรื่องการประสานและสั่งการต่างๆ - ทั้งทางโทรศัพท์พื้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรสาร และวิทยุสื่อสารให้สามารถติดต่อประสานได้ตลอด ๒๔ ชม.
72
๗. การรายงานข้อมูล ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต
- ระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูล ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ – ๔ มกราคม ๒๕๕๙ - การเก็บรวบรวมและรายงานข้อมูล ๗.๑ ให้ รพช. /รพท. ทุกแห่ง จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลผู้บาดเจ็บ(Admit) และเสียชีวิตตามแบบ ปภ. บอ.๓ และ ปภ. บอ.๔ จัดทำเชิงบูรณาการ(จัดทำร่วมกันกับฝ่ายตำรวจ ปกครอง และอื่นๆ) ในส่วนที่เกี่ยวข้องรวบรวมส่งศูนย์ปฏิบัติการฯ อำเภอนั้นๆ ในเวลา ๐๐.๓๐ น. ของทุกวัน
73
๗.๒ ให้ รพช. /รพท. ทุกแห่ง จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลผู้บาดเจ็บ (Admit) ทั้งผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ผู้เสียชีวิต(เเม้ไม่ได้นำศพมาส่งโรงพยาบาล ก็ตาม) ตามแบบฟอร์มการลงข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตของสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน(สธฉ.) เก็บรวบรวมรายงานข้อมูลแบบ Real Time ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ให้รายงานทันทีเมื่อเสร็จสิ้นแต่ละเวร ตามช่องทาง - (PHER Accident) - (PHER Accident) - pher.cloud-health.org
74
๗.๓ ให้ รพช. /รพท.ทุกแห่งที่รับผู้ป่วยครั้งแรกเป็นผู้ติดตามผลการรักษาเพิ่มเติม ๓๐ วันหลังวันเกิดเหตุ และปรับปรุงรายงานให้แล้วเสร็จ ๗.๔ กรณีมีอุบัติเหตุรุนแรงหรืออุบัติเหตุหมู่ในพื้นที่ (บาดเจ็บตั้งแต่ ๔ คนขึ้นไป หรือเสียชีวิตตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป หรือมีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตรวมกันตั้งแต่ ๔ คนขึ้นไป) ให้รายงาน ปภ.และ สสจ. ทราบหมายเลข ปภ. ๐ ๗๓๕๓ ๒๑๓๒ หรือ ๐ ๗๓๕๓ ๒๑๓๔ สสจ. ๐ ๗๓๕๓ ๒๖๗๒ / ๐๙ ๑๔๖๑ ๖๘๒๔)
75
๘. ให้ รพช. /รพท. /สสอ. ทุกแห่ง สนับสนุนการจัดตั้งด่านตรวจ โดยสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติการฯ อำเภอหรือที่จุดตรวจ ตามที่อำเภอร้องขอ ๙. ให้ รพช. /รพท. /สสอ.ทุกแห่ง ประชาสัมพันธ์รณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัยกับหน่วยงานในพื้นที่ ผลักดันให้ตั้งด่านชุมชน/จุดสกัดกั้น และให้ อสม.สำรวจกลุ่มคนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงในพื้นที่อย่างใกล้ชิด
76
๑๐. ให้ รพช. /รพท. /สสอ. ทุกแห่ง ดำเนินการเรื่องห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตาม พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยประชาสัมพันธ์เรื่องสถานที่ เวลา ห้ามขาย เฝ้าระวัง ตรวจเตือนสถานประกอบการ ร้านค้าในพื้นที่ หากพบเห็นการกระทำผิด ให้รายงานศูนย์ปฏิบัติการฯ อำเภอ และจังหวัด
77
แผนการดำเนินงานปี 2559
78
กิจกรรมการดำเนินงานปี 2559 (จังหวัด)
1. จัดอบรมหลักสูตรอาสาสมัครฉุกเฉินทางการแพทย์( 40 ชั่วโมง) จำนวน 3 รุ่นๆ ละ 40 รวม 120 คน เป็นเงิน 227,100 บาท 2. สนับสนุน EMS Rally ระดับเขต เป็นเงิน 108,760 บาท 3. ค่าสนับสนุนวัสดุทางการแพทย์ในหน่วยงานเอกชนและท้องถิ่น จำนวน 10 หน่วย x 5,000 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
79
4. จัดทำแบบรายงานการออกปฏิบัติการ เป็นเงิน 120,000 บาท
กิจกรรม (ต่อ) 4. จัดทำแบบรายงานการออกปฏิบัติการ เป็นเงิน 120,000 บาท 5. สนับสนุนการจัดอบรมอาสาฉุกเฉินชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 1 รุ่น 60 คน เป็นเงิน 67,600 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 573,460 บาท
80
แผนการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ อุบัติภัย
สาธารณภัยทางด้านการแพทย์และการสาธารณสุข จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๕๙ ๑. ประชุมเชิงปฏิบัติการป้องกันการจมน้ำในเด็กจังหวัดนราธิวาส ๒. ประชุมชี้แจงและดำเนินงานจัดตั้งทีมผู้ก่อการดีดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำในเด็กในพื้นที่อำเภอเมืองนราธิวาส (นำร่อง) ๑ ทีม/คปสอ. ๓. ขับเคลื่อนการดำเนินงาน Service plan สาขาอุบัติเหตุฉุกเฉิน ทุก ๓ เดือน
81
๔. การดำเนินงานตามมาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนน ในหน่วยงาน(สสจ
๔. การดำเนินงานตามมาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนน ในหน่วยงาน(สสจ./รพ./สสอ.) ๕. การเตรียมความพร้อมและจัดการภัยพิบัติด้านการแพทย์และสาธารณสุข ๖. การร่วมฝึกซ้อมแผนรับภัยพิบัติ การดำเนินงานช่วงเทศกาลสำคัญ โดยบูรณาการกับหน่วยงานอื่น
82
ประชาสัมพันธ์ การสมัครโครงการประกันภัยปี ๒๕๕๙
ประกันรอบที่ ๑ วันที่ ๒๐ สิงหาคม - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘ ประกันรอบที่ ๒ วันที่ ๑๕ มกราคม - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ มีผลความคุ้มครอง วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ และ ๑ มีนาคม ๒๕๕๙ ค่าสมัครสำหรับผู้ปฏิบัติการ อายุ ระหว่าง ๕-๖๐ ปี ค่าสมัคร ๑๒๐ บาท อายุเกิน ๖๐ ปี แต่ไม่เกิน ๗๐ ปี ค่าสมัคร ๓๒๐ บาท ค่าสมัครสำหรับครอบครัวผู้ปฏิบัติการ อายุ ระหว่าง ๕-๖๐ ปี ค่าสมัคร ๒๐๐ บาท
88
วาระเพื่อพิจารณา
89
แนวทางการพัฒนางานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินสู่การประกวด
๑.ความพร้อมของชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน ที่สามารถออกปฏิบัติการได้ภายใน ๒ นาที หลังจากได้รับการแจ้งจากศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ ๒. ผลการออกปฏิบัติงานทันเวลา โดยพิจารณาจาก การให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ หลังจากได้รับ แจ้งเหตุจนกระทั่งรถปฏิบัติการฉุกเฉิน ถึงจุดเกิดเหตุ ภายใน ๑๐ นาที (Response time) ๓. ปฏิบัติการฉุกเฉินได้ถูกต้องตามมาตรฐาน ในแต่ละประเภทของชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน โดยพิจารณา จากการประเมินการนำส่ง ณ ห้องฉุกเฉิน (ER) ตามแบบบันทึกการปฏิบัติงานหน่วยปฏิบัติการ ๓.๑ ความเหมาะสมในการดูแลด้านทางเดินหายใจ (airway) ๓.๒ ความเหมาะสมในการดูแลด้านการห้ามเลือด (stop bleeding) ๓.๓ ความเหมาะสมในการดูแลด้านการดามกระดูก (splint) ๓.๔ ความเหมาะสมในการดูแลด้านการให้สารน้ำ (IV fluid)
90
การประกวดทีมปฏิบัติการดีเด่น ระดับ จังหวัด ปี ๒๕๕๘
การประกวดทีมปฏิบัติการดีเด่น ระดับ จังหวัด ปี ๒๕๕๘ ระดับ ALS โรงพยาบาลสุไหงโกลก ระดับ BLS รพ.สต.ลูโบะบือซา ระดับ FR กู้ชีพกู้ภัย อบต.จะแนะ เกณฑ์เพิ่มเติม ให้บริการมากกว่า 50 รายขึ้นไป ยกเว้นระดับ BLS 20 รายขึ้นไป คิดจากผลงาน ปี ๒๕๕๘ (มกราคม 2558-ธันวาคม 2558) ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2557
91
ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
ลำดับ (ยานพาหนะ/หน่วยปฏิบัติการ/เดือน/ปี) รับแจ้ง - สั่งการ(นาที) รับแจ้ง - ถึงจุดเกิดเหตุ(นาที) หายใจ ห้ามเลือด สารน้ำ ดาม รวมคะแนน 2 > 2 10 > 10 ทำ 1 รพช.จะแนะ[ALS] 62 60 96.77 59.68 93.55 91(2) รพช.เจาะไอร้อง[ALS] 520 7 96.25 97.94 58.05 97.00 86 3 รพช.ตากใบ[ALS] 109 87 22 91.15 92.04 63.72 89 4 รพช.บาเจาะ[ALS] 149 124 26 90.85 91.50 43.79 90.20 83 5 รพช.ยี่งอฯ[ALS] 129 102 31 83.33 57.25 82.61 81 6 รพช.ระแงะ[ALS] 258 217 41 94.53 95.26 47.08 88 รพช.รือเสาะ[ALS] 107 78 30 96.43 95.54 54.46 8 รพช.แว้ง[ALS] 80 84.34 85.54 37.35 86.75 9 รพช.ศรีสาคร[ALS] 122 115 84.50 85.27 47.29 รพช.สุคิริน[ALS] 38 36 92.31 58.97 89.74 91 11 รพช.สุไหงปาดี[ALS] 32 27 81.82 84.85 54.55 12 รพท.นราธิวาสราชนครินทร์[ALS] 293 231 63 93.81 94.14 78.50 13 รพท.สุไหงโก-ลก[ALS] 66 92.96 71.83 97 (1) 14 หมวดพยาบาลค่ายจุฬาภรณ์[ALS] 0.00 ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
92
ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
ลำดับ (ยานพาหนะ/หน่วยปฏิบัติการ/เดือน/ปี) รับแจ้ง - สั่งการ(นาที) รับแจ้ง - ถึงจุดเกิดเหตุ(นาที) หายใจ ห้ามเลือด สารน้ำ ดาม รวมคะแนน 2 > 2 10 > 10 ทำ 1 รพสต.บ้านเชิงเขา[BLS] 4 83.33 0.00 100 รพสต.ปะลุกาสาเมาะ[BLS] 50.00 55 3 รพสต.ยี่งอ[BLS] 100.00 80 รพสต.ละหาร[BLS] 9 95 5 รพสต.ลูโบะบือซา[BLS] 56 87.72 89.47 100 (1) 6 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะปอเยาะ[BLS] 7 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะบายะ[BLS] 8 เทศบาลตำบลมะรือโบตก[FR] 238 237 96.22 98.32 97.48 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงกือเต๊ะ ตำบลสามัคคี[BLS] โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาโละ[BLS] ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
93
ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
ลำดับ (ยานพาหนะ/หน่วยปฏิบัติการ/เดือน/ปี) รับแจ้ง - สั่งการ(นาที) รับแจ้ง - ถึงจุดเกิดเหตุ(นาที) หายใจ ห้ามเลือด สารน้ำ ดาม รวมคะแนน 2 > 2 10 > 10 ทำ 11 รพสต.บ้านกลูบี[BLS] 8 6 93.85 92.31 0.00 87.69 85 12 รพสต.บ้านป่าไผ่[BLS] 100.00 100 13 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอร์แยง ตำบลศรีสาคร[BLS] 14 รพสต.ไอปาโจ[BLS] 20 95.00 100 (2) 15 กู้ภัยอำเภอสุไหงปาดี[BLS] 69 68 3 82.26 85.04 83.76 90 16 รพสต.บ้านปิเหล็ง[BLS] 5 1 80 17 รพสต.บ้านไอสะเตีย[BLS] 18 95 พิทักษ์ภัย ศูนย์ อปพร.จังหวัดนราธิวาส[BLS] 22 19 4 88.33 97.78 98.33 รพสต.บ้านบางขุด[BLS] ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
94
ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
ลำดับ (ยานพาหนะ/หน่วยปฏิบัติการ/เดือน/ปี) รับแจ้ง - สั่งการ(นาที) รับแจ้ง - ถึงจุดเกิดเหตุ(นาที) หายใจ ห้ามเลือด สารน้ำ ดาม รวมคะแนน 2 > 2 10 > 10 ทำ 1 กู้ภัย อบต.สากอ[FR] 42 80.00 86.67 0.00 91.11 100 องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุรู[FR] 19 16 5 95.24 90 3 องค์การบริหารส่วนตำบลริโก๋[FR] 9 72.73 80 4 กู้ชีพ อบต.ช้างเผือก[FR] 651 650 92.82 92.98 95 กู้ชีพกู้ภัย อบต.จะแนะ[FR] 397 394 96.47 96.22 95.47 100 (1) 6 องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ 602 30 609 23 94.65 94.50 7 องค์การบริหารส่วนตำบลผดุงมาตร 271 272 91.18 90.81 8 องค์การบริหารส่วนตำบลนานาค[FR] 83 79 86.75 92.77 91.57 องค์การบริหารส่วนตำบลบางขุนทอง 134 133 91.74 94.21 องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน[FR] 38 29 84.21 11 องค์การบริหารส่วนตำบลศาลาใหม่ 240 232 95.14 97.14 96.29 12 องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะสะท้อน[FR 336 339 92.65 90.44 13 องค์การบริหารส่วนตำบลไพรวัน[FR] 337 14 เทศบาลเมืองตากใบ[FR] 20 85.00 15 องค์การบริหารส่วนตำบลกาเยาะมาตี 21 85.71 เทศบาลตำบลต้นไทร[FR] 100.00 17 องค์การบริหารส่วนตำบลจอเบาะ[FR] 60 62 96.83 98.41 ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
95
ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
ลำดับ (ยานพาหนะ/หน่วยปฏิบัติการ/เดือน/ปี) รับแจ้ง - สั่งการ(นาที) รับแจ้ง - ถึงจุดเกิดเหตุ(นาที) หายใจ ห้ามเลือด สารน้ำ ดาม รวมคะแนน 2 > 2 10 > 10 ทำ 18 องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลิมอ 25 20 5 92.31 96.15 0.00 100 19 องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงสะโต 3 100.00 องค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบตก 9 21 กู้ชีพกู้ภัย กทบ.บ้านซือเลาะ[FR] 449 1 447 96.67 98.45 97.56 95 22 มูลนิธิฮิลาลอะห์มัร (สาขา อ.รือเสาะ) 27 7 81.48 88.89 23 องค์การบริหารส่วนตำบลรือเสาะ[FR] 62 39 93.85 87.69 80 24 เทศบาลตำบลศรีสาคร[FR] 14 13 78.57 92.86 องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง[FR] 207 199 8 91.79 92.27 100(3) 26 องค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร[FR] 329 324 85.89 85.59 กู้ภัยฉัตรวาริน[FR] 56 48 81.03 82.76 28 องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุรู[FR] 16 95.24 90 29 องค์การบริหารส่วนตำบลริโก๋[FR] 72.73 30 มูลนิธิเซิ่งหมู่(ธารน้ำใจ ) สุไหงโก-ลก 889 882 92.00 91.68 31 องค์การบริหารส่วนตำบลปูโยะ[FR] 36 64.86 59.46 70.27 70 32 องค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ[FR] 11 12 84.62 33 เทศบาลตำบลปาเสมัส[FR] 59 53 6 83.33 91.67 93.33 34 องค์การบริหารส่วนตำบลจวบ[FR] 169 168 96.45 97.63 ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
96
ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
ลำดับ (ยานพาหนะ/หน่วยปฏิบัติการ/เดือน/ปี) รับแจ้ง - สั่งการ(นาที) รับแจ้ง - ถึงจุดเกิดเหตุ(นาที) หายใจ ห้ามเลือด สารน้ำ ดาม รวมคะแนน 2 > 2 10 > 10 ทำ 35 มูลนิธิฮิลาลอะห์มัร (สาขา อ.เมือง)[F 18 1 100.00 95.65 0.00 95 36 มูลนิธิเมตตาธรรมนราธิวาส FR[FR] 1,140 12 1,054 98 97.69 97.53 37 สมาคมกู้ภัยนรา 01 FR[FR] 278 264 14 95.31 94.38 100 (2) 38 องค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ[FR] 593 7 580 20 99.67 99.50 39 องค์การบริหารส่วนตำบลลำภู[FR] 214 165 49 97.77 97.32 96.88 40 องค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน 55 17 54 97.26 98.63 80 41 เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ[FR] 288 286 3 99.36 98.72 42 องค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ[FR 124 86.72 88.28 100 43 องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ดง[FR] 28 29 86.21 96.55 89.66 44 องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด[FR] 33 4 97.30 94.59 ที่มา จากรายงานการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558
97
ระดับ ALS โรงพยาบาลสุไหงโกลก ระดับ FR มูลนิธิเมตตาธรรม
รถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ประเภทฉุกเฉินลำเลียงผู้ป่วยดีเด่น ระดับจังหวัด ประจำปี ๒๕๕๘ ระดับ ALS โรงพยาบาลสุไหงโกลก ระดับ FR มูลนิธิเมตตาธรรม เกณฑ์เพิ่มเติม มีพนักงานขับรถที่ผ่านการอบรมขับขี่ปลอดภัย
98
เกณฑ์การคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมที่จะได้รับเข็มเชิดชูเกียรติปี ๒๕๕๘ ประเภทสรรเสริญ ชั้น ๕
๑. ต้องเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินโดยครอบคลุมกลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินทั้ง ๒ กลุ่ม คือ ๑.๑ ผู้ปฏิบัติการการแพทย์ขั้นสูง(ALS)และปฏิบัติการอำนวยการ,นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด,ผู้อำนวยการโรงพยาบาล, แพทย์, พยาบาล, EMT-I, นักวิชาการสาธารณสุข, ผู้รับผิดชอบงาน EMS จังหวัด, หัวหน้าศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ๑.๒ ผู้ปฏิบัติการการแพทย์ขั้นพื้นฐาน(BLS), EMT-B, FR, ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานใน สสจ.และศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด, บุคคลที่จังหวัดเห็นสมควรจะได้รับเข็มเชิดชูเกียรติเช่น ผู้บริหารมูลนิธิฯ, ผู้นำท้องถิ่น ฯลฯ
99
๑.๑ ผู้ปฏิบัติการการแพทย์ขั้นสูง(ALS)และปฏิบัติการอำนวยการ,นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด,ผู้อำนวยการโรงพยาบาล, แพทย์, พยาบาล, EMT-I, นักวิชาการสาธารณสุข, ผู้รับผิดชอบงาน EMS จังหวัด, หัวหน้าศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นพ.สมเกียรติ ทยานิธิกุล ผู้ช่วยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ผอ.รพ.ระแงะ
100
๑.๒ ผู้ปฏิบัติการการแพทย์ขั้นพื้นฐาน(BLS), EMT-B, FR, ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานใน สสจ.และศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด, บุคคลที่จังหวัดเห็นสมควรจะได้รับเข็มเชิดชูเกียรติเช่น ผู้บริหารมูลนิธิฯ, ผู้นำท้องถิ่น ฯลฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายสุวัฒน์ เสาร์พูล ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ รพ.สต.ลูโบ๊ะบือซา อ.ยี่งอ องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง ( อบต.จะแนะ/สมาคมกู้ภัยนรา๐๑ ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติแล้ว ) งานอุบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
101
หลักเกณฑ์พิจารณาหลักสูตรฝึกอบรม
วันที่/เวลา วันที่1 ลง ทะเบียน ระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทย สรีระของร่างกายมนุษย์ การประเมินสถานการณ์และการประเมินสภาพผู้ป่วย พักรับประทานอาหารกลางวัน แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติเรื่องการประเมินสถานการณ์และการประเมินสภาพผู้ป่วย วันที่2 หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉิน การประเมินผู้ป่วยฉุกเฉินและฝึกปฏิบัติการ วันที่3 การใช้วิทยุสื่อสารในงานEMSและฝึกปฏิบัติ การเขียนแบบบันทึกการปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและฝึกปฏิบัติ วันที่4 การทำคลอดฉุกเฉินและการดูแลทารกแรกเกิด บทบาทหน้าที่ของผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้นในสถานการณ์สาธารณภัย การฝึกปฏิบัติการจัดการในสถานการณ์สาธารณภัย วันที่5 แบ่งกลุ่มทดสอบเรื่องถานกาณ์จำลอง จำนวน 6 ฐาน ฐานที่1 ผู้ป่วยติดภายใน Emergency Extrication ฐานที่ 7 การใช้ AED ฐานที่2 ผู้ป่วยติดภายในการใช้ KED ฐานที่ 8 อากาศยาน ฐานที่3 ผู้ป่วย MCA การถอดหมวกกันน๊อค ฐานที่4 การประเมินผู้ป่วยทางอายุรกรรม ฐานที่5 การช่วยฟื้นคืนชีพ ฐานที่6การช่วยคลอดและทารกแรกเกิด ทดสอบหลังอบรม อภิปรายทั่วไป และปิดการอบรม
102
หลักเกณฑ์พิจารณาหลักสูตรฝึกอบรม การฝึกปฏิบัติงาน ณ ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล
การฝึกปฏิบัติ เก็บเคส ออกปฏิบัติการรับผู้ป่วยฉุกเฉิน จำนวน 10 ราย หากไม่มีเคส ให้ฝึกปฏิบัติงานที่ห้องฉุกเฉินอย่างน้อย .....วัน มีความสามารถในการลงรายงานในแบบบันทึกปฏิบัติการ มีความสามารถในการรายงานเคสปฏิบัติการทางวิทยุหรือโทรศัพท์ มีความสามารถในการดูแลระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วย มีความสามารถในการปฐมพยาบาลผู้ป่วยเบื้องต้น การพัน การดาม การห้ามเลือด มีความสามารถในการยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
104
เจ้าพนักงาน / อาสาสมัคร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.