ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
(Rice Analysis) เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดนครราชสีมา
2
การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
STEP 1 Generic Value Chain เกษตร-อุตสาหกรรม เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ยางพารา) กระบวนการผลิต กระบวนการแปรรูป กระบวนการค้าและการตลาด การวิจัยพัฒนา (R&D) – การพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และการพัฒนาเกษตรกร การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งและ จัดการบริหาร สินค้า (Logistics) การพัฒนา ระบบ การตลาด เกษตรกร ผู้บริโภค จากฟาร์มเกษตรกรไปถึงมือผู้บริโภค (From Farmer to Market) การวิจัยและพัฒนาพันธ์พืช การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม การวิเคราะห์สินค้าและความต้องการของตลาด (Intelligence) การจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเชิงลึกเกษตร ก่อนเก็บเกี่ยว (Pre-cultivation) การกระจายเมล็ดพันธ์ที่ดีให้เกษตรกร การบริหารจัดการน้ำ การบริหารจัดการการใช้ดิน (Zoning) การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก ปรับปรุงดิน การรวมกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร ช่วงเพาะปลูก (Cultivation) การผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) การใส่ปุ๋ยและกำจัดศัตรูพืช การเพิ่มผลิตภาพ การเก็บเกี่ยวและขั้น ตอนหลังเก็บเกี่ยว (Harvest & Post) การรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัยสินค้า ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Tracability) มาตรฐานการผลิต เกษตรอุตสาหกรรม(GMP/HACCP) การทำบรรจุภัณฑ์ การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark) ระบบเกษตรปลอดวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) การขนส่งและ กระจายสินค้า การบริหารจัดการคลังสินค้า ระบบห้องเย็น พัฒนาตลาดกลางสินค้า พัฒนาระบบค้าปลีก ค้าส่ง ส่งเสริมการทำตลาดเฉพาะ (Niche Market) และตลาดเฉพาะฤดู (Seasonal Market) สนับสนุนสินเชื่อเพื่อการส่งออก พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market)
3
นครราชสีมา ข้าวหอมมะลิปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์
เพื่อส่งเสริมพัฒนาสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม การวิจัยและพัฒนา(R&D)และโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน วิจัยความต้องการข้าว หอมมะลิปลอดภัยของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรค พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว การพัฒนา ดัดแปลงและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิทั้งกระบวนการ การส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัย สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรมีแผนการผลิต และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม(Crop Zoning and planning) เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัยให้เกิดประโยชน์ ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยทั้งกระบวนการ มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัย โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวหอมมะลิปลอดภัย ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวหอมมะลิปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว ผลผลิตข้าวสารหอมมะลิได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP/ GMP/ HACCP เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวหอมมะลิปลอดภัย การแปรรูปสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น (Value Creation) ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยในระดับจังหวัดและระดับกลุ่มจังหวัด การใช้ระบบการขนส่งข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าจนถึงตลาด มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวหอมมะลิปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน มีระบบตลาดซื้อขายข้าวหอมมะลิปลอดภัยล่วงหน้า มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางการตลาด มีตราสัญลักษณ์บรรจุภัณฑ์ข้าวหอมมะลิปลอดภัยเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด
4
และปัจจัยความสำเร็จ (CSFs) ตัวชี้วัด ข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น หน่วย
ฐานข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ของข้อมูล ผู้รับผิดชอบ VC4 : การแปรรูป การเพิ่มและสร้างคุณค่า CSF 4.1 โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวปลอดภัย KPI4.1-1 จำนวนโรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์ ที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความพร้อมเข้าสู่มาตรฐาน GMP Data4.1.1 จำนวนโรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์ ที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความพร้อมเข้าสู่มาตรฐาน GMP มี ทะเบียน รายปี ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว/สหกรณ์การเกษตร CSF 4.2 ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่อง อบลดความชื้นข้าว เป็นต้น) KPI4.2-1 จำนวนเกษตรกรที่ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบความชื้นข้าว เป็นต้น) Data4.2.1 จำนวนเกษตรกรที่ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว (เช่น การเก็บรักษาข้าวเปลือกให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน การใช้เครื่องอบความชื้นข้าว เป็นต้น) ศูนย์ข้าวชุมชน/ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวจังหวัดนครราชสีมา Data4.2.2 ปริมาณข้าวเปลือกข้าวปลอดภัยที่มีการเก็บรักษาให้มีคุณภาพและปลอดภัยตามมาตรฐาน KPI4.2-3 จำนวนเกษตรกรและโรงสีที่ได้รับการอบรมและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว Data4.2.3 จำนวนเกษตรกรและโรงสีที่ได้รับการอบรมและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตข้าวปลอดภัย CSF 4.3 ผลผลิตข้าวปลอดภัยได้รับการรับรองคุณภาพข้าวเพื่อการค้าในประเทศ ตามมาตรฐานข้าวปลอดภัย KPI4.3-1 ผลผลิตข้าวปลอดภัยที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานข้าวปลอดภัยเทียบเท่า GAP / GMP/HACCP Data4.3.1 ปริมาณข้าวปลอดภัยที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานข้าวปลอดภัยเทียบเท่า GAP ของจังหวัด หรือในกรณีที่เป็นเงื่อนไขการส่งออกให้ต้องมี มาตรฐาน GAP / GMP/HACCP ศูนย์เมล็ดพันธ์ข้าว/สนง.เกษตรจังหวัดนครราชสีมา CSF 4.4 ใช้เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย KPI4.4-1 จำนวนชนิดของบรรจุภัณฑ์ข้าวปลอดภัย ขอจังหวัดที่ได้รับการตรวจสอบว่าสามารถรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย Data4.4.1 จำนวนชนิดของบรรจุภัณฑ์ข้าวปลอดภัยของจังหวัดที่ได้รับการตรวจสอบว่าสามารถรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด (สกต)
6
การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวอย่าง จังหวัดนครราชสีมา “ข้าว ปลอดภัย” สรุปประเด็นที่สำคัญต่อยุทธศาสตร์ จาก 32 อำเภอ มีการเพาะปลูกข้าวหอมมะลิกระจายในทุกพื้นที่ทุกอำเภอ พื้นที่ที่ปลูกข้าวมากที่สุด คืออำเภอพิมายและอำเภอโนนสูงซึ่งมีความเหมาะสมกับสภาพดินตามเขตเหมาะสมการเพาะปลูกข้าวของจังหวัดนครราชสีมา
7
การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
จำนวนโรงสีข้าวที่ผ่านมาตรฐาน GMP สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครราชสีมา อำเภอ จำนวน เมือง 1 ปักธงชัย 2 โนนสูง สูงเนิน คง ขามทะเลสอ บัวใหญ่ พิมาย สถานที่เก็บรวบรวมสินค้า (Warehouse) ศูนย์กระจายข้าวปลอดภัย สหกรณ์การเกษตรพิมาย จำกัด สหกรณ์การเกษตรบัวใหญ่ จำกัด สหกรณ์การเกษตรลำพระเพลิง จำกัด สหกรณ์การเกษตรโนนสูง จำกัด สหกรณ์การเกษตรสูงเนิน จำกัด สหกรณ์การเกษตรปักธงชัย จำกัด ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สรุปประเด็นที่สำคัญต่อยุทธศาสตร์ จาก 32 อำเภอ มีอำเภอที่ปลูกข้าวปลอดภัย เพียง 11 อำเภอ โดยมีครัวเรือนที่ปลูกข้าวปลอดภัย เพียงร้อยละ 0.56 ของครัวเรือนเกษตรที่ปลูกข้าวทั้งหมด มีโรงสีข้าวที่ผ่านมาตรฐาน GMP จำนวน 9 แห่ง ศูนย์กระจายสินค้ามีเพียง 2 แห่ง ดังนั้น การที่จะทำให้บรรลุตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 คือเกษตรกรที่ได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP ข้าว ควรมีโครงการเพิ่มโรงสีข้าวของสหกรณ์ที่ผ่าน GMP เพียงพอกระจายตามพื้นที่เพื่อเพิ่มมูลค่าเพิ่มและลดต้นทุนให้เกษตรกร
8
โครงการสำคัญ / มาตรการ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) ตัวอย่าง จังหวัดนครราชสีมา “ข้าว ปลอดภัย” สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ พื้นที่ที่มีการปลูกข้าวจำนวน อำเภอ กระจายอยู่ทั่วทั้งจังหวัด โครงการเพิ่มโรงสีข้าวของสหกรณ์ที่ผ่าน GMP เพียงพอกระจายตามพื้นที่ ผลผลิตข้าว จำนวน 1,067,623 ตัน โรงสีข้าวของสหกรณ์จำนวน 9 โรง กระจายใน 8 อำเภอ มีศูนย์กระจายสินค้า 2 แห่ง STEP 3
9
เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea)
วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อให้มีโรงสีสหกรณ์กระจายในทุกพื้นที่ 2. เพื่อลดรายจ่ายในการสีข้าวของเกษตรกร 3. ผลผลิตข้าวที่ออกมาได้มาตรฐาน กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. ส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตร 2. ส่งเสริมให้โรงสีเอกชนเข้าร่วมมาตรฐานการผลิต เกษตรอุตสาหกรรม(GMP/HACCP) ตัวอย่าง จังหวัดนครราชสีมา “ข้าว ปลอดภัย” STEP 4
10
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เรื่องข้าว
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.