งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก
การดำเนินงาน โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก

2 โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก
วัตถุประสงค์  พัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี จากแม่สู่ลูก  ลดอุบัติการณ์ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี จากแม่สู่ลูก 

3 โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก
2561 2562 พื้นที่ดำเนินงาน รพศ. /รพท. ใน12 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ นนทบุรี ราชบุรี ฉะเชิงเทรา ขอนแก่น อุดรธานี สุรินทร์ อุบลราชธานี นครศรีธรรมราช และสงขลา ทั่วประเทศ กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล รูปแบบการดำเนินงาน บูรณาการไปพร้อมกับงานอนามัยแม่และเด็ก

4 ขั้นตอนการดำเนินงาน ให้บริการ หลังให้บริการ ก่อนให้บริการ
วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (สคร + สสจ + รพ) การกำหนดผู้รับผิดชอบ การให้บริการ การส่งต่อผู้ป่วย การส่งต่อข้อมูล การเบิกจ่ายงบประมาณ ให้บริการตามแนวทางฯ การรับฝากครรภ์ การตรวจหาเชื้อ HB การดูแลมารดา การดูแลทารก การเบิกยา Tenofovir การบันทึกข้อมูล การรายงานผล การควบคุม กำกับติดตาม การดำเนินงาน การเบิก-จ่ายงบประมาณในการดำเนินงาน การนิเทศและประเมินผล

5 ขั้นตอนการดำเนินงาน ให้บริการ หลังให้บริการ ก่อนให้บริการ
วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (สคร + สสจ + รพ) การกำหนดผู้รับผิดชอบ การให้บริการ การส่งต่อผู้ป่วย การส่งต่อข้อมูล การเบิกจ่ายงบประมาณ ให้บริการตามแนวทางฯ การรับฝากครรภ์ การตรวจหาเชื้อ HB การดูแลมารดา การดูแลทารก การเบิกยา Tenofovir การบันทึกข้อมูล การรายงานผล การควบคุม กำกับติดตาม การดำเนินงาน การเบิก-จ่ายงบประมาณในการดำเนินงาน การนิเทศและประเมินผล

6 การกำหนดผู้รับผิดชอบและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กรมควบคุมโรค/กรมอนามัย สนับสนุน และติดตามผลการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สนับสนุน และติดตามผลการดำเนินงาน กุมารแพทย์ ดูแลทารกหลังคลอด พิจารณาให้วัคซีนตามความเหมาะสม ติดตามทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อว่าติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี หรือไม่ ให้การดูแลเด็กที่ติดเชื้อต่อเนื่อง งานอนามัยแม่และเด็ก ระดับอื่นๆ ที่ไม่ใช่โรงพยาบาล ซักประวัติ ตรวจครรภ์ ตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบ บี ตรวจยืนยันการวินิจฉัยไวรัสตับอักเสบ บี ส่งต่อมารดาที่ติดเชื้อไปยังรพ.แม่ข่าย ติดตามมารดาหลังคลอด ติดตามทารกหลังคลอด กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ ตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อคัดกรองโรค และยืนยันการวินิจฉัยในมารดา และทารก ตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อประเมินหญิงตั้งครรภ์ก่อนการรักษา และติดตามการรักษา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รายงานผลการดำเนินงานกำจัดการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี จากแม่สู่ลูก กลุ่มงานเภสัชกรรม เบิกจ่ายยา TDF จากกรมควบคุมโรค จัดหา HBIG เพื่อให้แก่ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อ อายุรแพทย์หรือแพทย์โรคตับ ดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ สั่งจ่ายยาต้านไวรัส TDF เมื่อมีข้อบ่งใช้ ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ให้การดูแลมารดาที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบอย่างต่อเนื่องหลังคลอด สูติแพทย์ ยืนยันการวินิจฉัย พิจารณาส่งต่อแพทย์อายุรกรรมเมื่อพบหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ ดูแลระหว่างคลอด และ ติดตามมารดาหลังคลอด ระดับโรงพยาบาล เฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ติดตามมารดาและทารกหลังคลอด ห้องคลอด ดูแลหญิงตั้งครรภ์ระหว่างคลอด ดูแลทารกหลังคลอด ให้ HBIG และวัคซีนที่จำเป็นในการป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ รพศ./รพท.

7 การวางแผนการดำเนินงาน
วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (สคร + สสจ + รพ) การกำหนดผู้รับผิดชอบ การให้บริการ การส่งต่อผู้ป่วย การส่งต่อข้อมูล การเบิกจ่ายงบประมาณ

8 ขั้นตอนการดำเนินงาน ให้บริการ หลังให้บริการ ก่อนให้บริการ
วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (สคร + สสจ + รพ) การกำหนดผู้รับผิดชอบ การให้บริการ การส่งต่อผู้ป่วย การส่งต่อข้อมูล การเบิกจ่ายงบประมาณ ให้บริการตามแนวทางฯ การรับฝากครรภ์ การตรวจหาเชื้อ HB การดูแลมารดา การดูแลทารก การบันทึกข้อมูล การรายงานผล การควบคุม กำกับติดตาม การดำเนินงาน การเบิก-จ่ายงบประมาณในการดำเนินงาน การนิเทศและประเมินผล

9 การให้บริการตามแนวทาง
หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ ANC, สูติแพทย์ เวชกรรมสังคม ตรวจหาเชื้อ HB ANC เทคนิคการแพทย์ ติดตาม รายงาน เบิกจ่าย ไม่ติดเชื้อ ติดเชื้อ อายุรแพทย์หรือแพทย์โรคตับ เทคนิคการแพทย์, เภสัชกรรม สูติแพทย์ คลอด สูติแพทย์ ห้องคลอด ดูแลหลังคลอด ANC, สูติแพทย์ กุมารแพทย์

10 การเบิกยา Tenofovir ฝ่ายเภสัชกรรม รพ. กรมควบคุมโรค
จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ที่จำเป็นต้องได้ยา ในเดือนก่อนหน้า เบิกยาในโปรแกรม HB-MTCT ภายในวันที่ 30 ของทุกเดือน กรมควบคุมโรค อนุมัติ จัดส่งยาภายในวันที่ 20 ของเดือน ** กำหนดให้สำรองยา Tenofovir Disoproxil Fumarate จำนวน 360 เม็ด ( 3คน :120 เม็ด/คน) ** ส่งยาสำรอง เดือนพฤษภาคม 2561 (Key ขอเบิก 3 คน เมื่อได้รับยา) ** ระบบเบิกยาเปิดให้ใช้ครั้งแรก เดือนมิถุนายน 2561

11 การเบิกยา : โปรแกรม HB-MTCT
เข้า website กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน หน้าล็อกอินเข้าสู่ระบบ

12 การเบิกยา : โปรแกรม HB-MTCT
หน้า Dashboard เมื่อทำการล็อกอินเข้าสู่ระบบจะพบหน้านี้เป็นหน้าแรก

13 การเบิกยา : โปรแกรม HB-MTCT
หน้าจอข้อมูลการเบิกจ่ายยา

14 การเบิกยา : โปรแกรม HB-MTCT
หน้าจอเพิ่มแก้ไขข้อมูลการเบิกจ่ายยา ฝ่ายเภสัชกรรมของโรงพยาบาลบันทึกข้อมูล กรมควบคุมโรคอนุมัติ

15 ขั้นตอนการดำเนินงาน ให้บริการ หลังให้บริการ ก่อนให้บริการ
วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (สคร + สสจ + รพ) การกำหนดผู้รับผิดชอบ การให้บริการ การส่งต่อผู้ป่วย การส่งต่อข้อมูล การเบิกจ่ายงบประมาณ ให้บริการตามแนวทางฯ การรับฝากครรภ์ การตรวจหาเชื้อ HB การดูแลมารดา การดูแลทารก การบันทึกข้อมูล การรายงานผล การควบคุม กำกับติดตาม การดำเนินงาน การเบิก-จ่ายงบประมาณในการดำเนินงาน การนิเทศและประเมินผล

16 การบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูลผ่านฐานข้อมูลชุดมาตรฐานด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) การบันทึกข้อมูลในสมุดวัคซีนสำหรับผู้ใหญ่/สมุดสุขภาพแม่และเด็ก การบันทึกข้อมูลในแบบบันทึกข้อมูล หญิงตั้งครรภ์และทารก

17 แบบบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์และทารก
เพื่อใช้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และทารก เพื่อใช้ในการติดตามการดำเนินงาน เพื่อใช้ในการยืนยันผลการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก

18 แบบบันทึกหญิงตั้งครรภ์และทารกฯ
แบบบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์และทารกฯ แบ่งเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ ส่วนที่ 2 การตรวจการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และการวินิจฉัยโรคในหญิงตั้งครรภ์ ส่วนที่ 3 การติดตามการใช้ TDF ส่วนที่ 4 ข้อมูลทารก ขอให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน และเย็บติดไว้กับ OPD card แบบบันทึกฯเป็นหลักฐานสำคัญที่ใช้ในการเบิกจ่ายงบประมาณ

19 แบบบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์และทารก

20 แบบบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์และทารก

21 ขอให้ผู้รับผิดชอบงานกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบ บี จากแม่สู่ลูก ทบทวนข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ทุกสัปดาห์ เมื่อพบหญิงตั้งครรภ์HBsAg เป็นบวก ให้บันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ดังกล่าว

22 การรายงานผลและควบคุมกำกับการติดตาม
กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน เป็นผู้กำกับติดตามในระดับประเทศ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต เป็นผู้กำกับติดตามในระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้กำกับติดตามในระดับจังหวัด กลุ่มงานเวชกรรมสังคม เป็นผู้รายงานการดำเนินงานในประเด็น การรายงานผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์และทารกที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี การรายงานผลการดำเนินงาน การควบคุม กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

23 การรายงานผลการดำเนินงาน
เวชกรรมสังคม รพ. รายงาน ไปที่ สสจ. ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน สสจ. รวบรวมรายงาน ส่งไปยัง สคร.และกองโรคป้องกันด้วยวัคซีน รายงานไตรมาส 1-2 ภายในวันที่ 20 เม.ย. รายงานไตรมาส 3-4 ภายในวันที่ 20 ต.ค.

24 การควบคุม กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควบคุมกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามมาตรการ มาตรการ ตัวชี้วัด ความถี่ 1. เร่งรัดการตรวจคัดกรองไวรัส ตับอักเสบ บี ในหญิงตั้งครรภ์ 1. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจ HBsAg ร้อยละ 100 ระดับ รพ. ทุกเดือน ระดับจังหวัด ทุกไตรมาส ระดับเขต ปีละ 2 ครั้ง  ระดับ ประเทศ 2. ส่งเสริมให้ทารกแรกเกิดจากมารดา ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ได้รับ HBIG 2. ร้อยละของทารกแรกเกิดที่มารดาติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ที่ได้รับ HBIG ร้อยละ 90 3. ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อและ มีปริมาณไวรัสตับอักเสบบี สูงได้รับยาต้านไวรัส  3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีปริมาณไวรัสตับอักเสบ บี สูง และ/หรือ HBeAg เป็นบวก ที่ได้รับยาต้านไวรัส TDF ร้อยละ 95 4. คงระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี 4. ร้อยละของทารกแรกเกิดที่ได้รับวัคซีน HB ร้อยละ 90

25 การควบคุม กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
1. เร่งรัดการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบ บี ในหญิงตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจ HBsAg วิธีคำนวณ จำนวนหญิงตั้งครรภ์คลอดรายใหม่ที่เคยได้รับการตรวจ HBsAg x 100 จำนวนหญิงตั้งครรภ์คลอดรายใหม่ เป้าหมาย ร้อยละ 100

26 การควบคุม กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
2. ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อและมีปริมาณไวรัสตับอักเสบ บี สูง ได้รับยาต้านไวรัส ตัวชี้วัด ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ HBeAg เป็นบวก และหรือ ปริมาณไวรัสตับอักเสบ บี สูง* ที่ได้รับยาต้านไวรัส TDF วิธีคำนวณ หญิงตั้งครรภ์คลอดรายใหม่ที่ HBeAg เป็นบวก และ/หรือ HBV VL สูง ได้รับ TDF x 100 หญิงตั้งครรภ์คลอดรายใหม่ที่ HBeAg เป็นบวก และ/หรือ HBV VL สูง เป้าหมาย > ร้อยละ 95 *HBV VL สูง หมายถึง HBV VL > 200,000 IU/ml

27 การควบคุม กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
3. ส่งเสริมให้ทารกแรกเกิดจากมารดาติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ได้รับ HBIG ตัวชี้วัด ร้อยละของทารกแรกเกิดจากมารดาติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ที่ได้รับ HBIG วิธีคำนวณ จำนวนเด็กแรกเกิดรายใหม่จากมารดาติดเชื้อ HBV ที่ได้รับ HBIG x 100 จำนวนเด็กแรกเกิดรายใหม่จากมารดาติดเชื้อ HBV เป้าหมาย > ร้อยละ 90

28 การควบคุม กำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
4. คงระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี ตัวชี้วัด: ร้อยละของทารกแรกเกิดที่ได้รับวัคซีน HB วิธีคำนวณ เด็กทารกแรกเกิดที่ได้รับวัคซีนป้องกันตับอักเสบบีเมื่อแรกคลอด x 100 จำนวนเด็กแรกเกิดรายใหม่ เป้าหมาย > ร้อยละ 90 เป้าหมาย > ร้อยละ 90

29 การสนับสนุนการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบ

30 สิ่งสนับสนุนจากกรมควบคุมโรค
สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ คู่มือแนวทางการดำเนินงาน โปสเตอร์สรุปแนวทางการดำเนินงาน แบบบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์และทารกฯ ยาต้านไวรัส Tenofovir Disoproxil Fumarate งบประมาณ

31 งบประมาณสนับสนุน **สามารถถัวเฉลี่ยกันได้ กรมควบคุมโรค
จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน จำนวน 170,000 บาท ให้แก่สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สนับสนุนการดำเนินงานของ รพ.จำนวน 140,000 บาท ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ (HBeAg, ALT, Cr) และทารก (HBsAg และ Anti-HBs) ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนการดำเนินงานระดับเขต จำนวน 30,000 บาท การประชาสัมพันธ์ การจัดประชุมวางแผนการดำเนินงานในพื้นที่รับผิดชอบ **สามารถถัวเฉลี่ยกันได้

32 การเรียกเก็บตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเรียกเก็บตรวจทางห้องปฏิบัติการ  คุณสมบัติของผู้ที่สามารถเรียกเก็บค่าตรวจวิเคราะห์การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี  หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่สถานบริการที่มีผลการตรวจคัดกรองว่าติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี  ทารกที่เกิดจากมารดาที่มีผลการตรวจคัดกรองว่าติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี  ทั้งนี้ ค่าบริการตรวจทางห้องปฏิบัติการขอให้อ้างอิงจาก อัตราค่าบริการของหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 

33 ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเภทการเบิกจ่าย  รายละเอียดงบประมาณที่ได้รับ  จำนวน  ราคา  กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลการตรวจคัดกรองว่าติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี  ค่าตรวจ HBe-Ag – Elisa,MEIA,ECLIA   ค่าตรวจ HBs-Ag (Hepatitis B surface antigen) – Elisa,MEIA,ECLIA   ค่าตรวจ SGPT (ALT)   1 ครั้ง  2 ครั้ง  300 บาท  160 บาท  110 บาท  รวม  570 บาท  กรณีทารกที่เกิดจากมารดาที่มีผลการตรวจคัดกรองว่าติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี  ค่าตรวจ HBs-Ab (Hepatitis B surface Ab) – Elisa,MEIA,ECLIA  180 บาท  รวม   340 บาท 

34 แนวทางการเบิกจ่ายงบประมาณ
โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป นำร่อง จัดทำหลักฐานการเบิกจ่าย ส่งให้ สสจ. กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไวรัสตับอักเสบ ในพื้นที่ โอนงบประมาณภายในไตรมาส 3 สำนักงานป้องกัน ควบคุมโรค 1. จัดทำโครงการรองรับงบประมาณจากกองวัคซีน 2. รวบรวมแบบบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์และทารก จาก สสจ. ส่งให้ กองวัคซีน เริ่มเบิกจ่ายได้ในไตรมาส 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมหลักฐานการเบิกจ่ายจาก โรงพยาบาล ส่งให้ สคร. หลักฐานการเบิกจ่าย ได้แก่ 1. แบบบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์และทารก (รายบุคคล) 2. ใบแจ้งหนี้เรียกเก็บค่าตรวจ Lab 3. เอกสารสรุปคำขอเบิกจ่ายงบประมาณ

35 การนิเทศ และประเมินผล
โรงพยาบาลศูนย์ 12 แห่ง ใน พื้นที่นำร่อง พื้นที่เป้าหมาย กรกฎาคม – สิงหาคม 2561 (เยี่ยมนิเทศ) พฤศจิกายน – ธันวาคม 2561 (ประเมินผล) ระยะเวลา การดำเนินงานตามแนวทางฯ รับฟังและช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น ประเด็นการเยี่ยมนิเทศ

36 กรอบเวลาการดำเนินงาน
2561 2562 มีค 61 เม.ย 61 พค 61 มิย 61 กค 61 สค 61 กย 61 ตค 61 พย 61 ธค 61 มค 61 กพ 61 ประชุม สคร./สสจ./รพ./รพ.สต. วางแผนร่วมกัน ดำเนินงานตามแนวทาง ส่งยา TDF เบิกยา tenofovir (เปิดระบบให้เบิก มิ.ย.) เบิกงบประมาณสนับสนุน คร. เยี่ยม รพศ 12 แห่ง ประเมินผล

37 THANK YOU

38 Back up

39 โปรแกรม HB-MTCT (Hepatitis B Mother to child transmission Program)
เป็นโปรแกรมบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ แบบรายเคส เพื่อติดตามผลการรักษา ด้วยยา Tenofovir รวมถึงทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี โดยโปรแกรมจะเป็นแบบออนไลน์ สามารถเข้าถึงได้ผ่านทางเว็บไซต์ ซึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนา ให้สามารถใช้งานได้จริง ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2561 การบันทึกข้อมูลแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. บันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ 2. บันทึกข้อมูลการเบิกจ่ายยา 3. บันทึกข้อมูลทารก

40 โปรแกรม HB-MTCT (Hepatitis B Mother to child transmission Program)
พยาบาลผู้รับผิดชอบ เป็นผู้บันทึกข้อมูล ส่วนที่ 1 การบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ชื่อ-สกุล, เลขที่บัตรประชาชน, วันเกิด, ครรภ์ที่, LMP, EDC, โรคประจำตัว, การส่งต่อ ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และการตรวจการทำงานของตับ การวินิจฉัยโรค (ICD-10-TM) การเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา Tenofovir

41 เภสัชกรผู้รับผิดชอบ เป็นผู้บันทึกข้อมูลการเบิกยา
โปรแกรม HB-MTCT เภสัชกรผู้รับผิดชอบ เป็นผู้บันทึกข้อมูลการเบิกยา ส่วนที่ 2 การบันทึกข้อมูลการเบิกจ่ายยา Tenofovir Disoproxil Fumarate ชื่อโรงพยาบาล : สำหรับโรงพยาบาล สำหรับส่วนกลาง วันที่เบิกยา ยอดคงคลัง (เม็ด) จำนวนผู้ป่วย (คน) จำนวนยาที่ขอเบิก จำนวนที่จ่ายจริง จำนวนที่ค้างส่ง วันที่อนุมัติ ในการเบิกยาครั้งแรก กำหนดให้โรงพยาบาล มีการสำรองยา Tenofovir Disoproxil Fumarate จำนวน 360 เม็ด ซึ่งสามารถใช้รักษาหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ที่จำเป็นต้องได้รับยารักษา จำนวน 3 ราย โดยฝ่ายเภสัชกรรม ยืนยันการขอสำรองยา ภายในวันที่ 30 เมษายน 2561 ให้ฝ่ายเภสัชกรรมของโรงพยาบาลเบิกยา Tenofovir Disoproxil Fumarate ภายในวันที่ 30 ของทุกเดือน กรมควบคุมโรคจะจัดส่งยา ทุกวันที่ 15 ของเดือน

42 พยาบาลผู้รับผิดชอบ เป็นผู้บันทึกข้อมูล
โปรแกรม HB-MTCT พยาบาลผู้รับผิดชอบ เป็นผู้บันทึกข้อมูล ส่วนที่ 3 การบันทึกข้อมูลทารก ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ชื่อ-สกุล, เลขที่บัตรประชาชน, วันเกิด ประวัติการได้รับวัคซีน HB และ HBIG การตรวจหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี การวินิจฉัยโรค


ดาวน์โหลด ppt โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google