ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การตรวจวัดคลื่น
2
Swell
3
Swell Swell คือคลื่นที่เคลื่อนที่ออกนอกบริเวณที่มีลมเป็นแหล่งกำเนิดคลื่น เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิด เราจะพบว่าความชันของคลื่นหรือ wave steepness มีค่าลดลง นั่นจึงอาจกล่าวได้ว่า swell จะมีความชันน้อยกว่าคลื่นลมปกติ ชาวประมงเรียก “เดิ่ง” หรืออาจเรียกว่า “คลื่นใต้น้ำ”
4
กราฟแสดงค่าความชันของคลื่นเมื่อเวลาผ่านไป
8
การตรวจวัดคลื่น วิธีทั่วไปที่ใช้ในการตรวจวัดคลื่น การตรวจวัดโดยคน
การตรวจวัดโดยทุ่นลอย Buay การตรวจวัดโดยเรดาร์ตรวจคลื่นหรือ HF Radar นอกจากนี้ยังสามารถตรวจวัดคลื่นโดยการใช้ดาวเทียมได้ด้วย แต่ยังไม่เป็นที่นิยมนัก
9
การตรวจวัดโดยคน เจ้าหน้าที่อุตุนิยมวิทยาทะเล
สำนักงานอุตุนิยมวิทยาทะเลนำร่องปากน้ำเจ้าพระยา สำนักงานอุตุนิยมวิทยา ท่าเรือคลองเตย สำนักงานอุตุนิยมวิทยา แหลมฉบัง
10
การตรวจวัดโดยทุ่นลอย Buay
Weather buoys are instruments which collect weather and ocean data within the world's oceans, as well as aid during emergency response to chemical spills, legal proceedings, and engineering design. Moored buoys have been in use since 1951, Moored buoys are connected with the ocean bottom using either chains, nylon, or buoyant polypropylene. Moored weather buoys range from 1.5 metres (4.9 ft) to 12 metres (39 ft) in diameter, Wind data from buoys has smaller error than that from ships. There are differences in the values of sea surface temperature measurements between the two platforms as well, relating to the depth of the measurement and whether or not the water is heated by the ship which measures the quantity.
11
Moored Buay
14
Drifted Buay
15
Drifting buoys have been used since 1979.
Drifting buoys are smaller than Moored Buay, with diameters of 30 centimetres (12 in) to 40 centimetres (16 in). Drifting buoys are the dominant form of weather buoy in sheer number, with 1250 located worldwide.
18
การตรวจวัดโดยเรดาร์ตรวจคลื่น
HF Radar นั้นเป็นเครื่องมือสำคัญชนิดหนึ่งในการตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำในมหาสมุทร CODAR เป็น HF Radar ชนิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพสูงในการตรวจวัด หลักการตรวจวัดกระแสน้ำของ CODAR หรือที่เรียกว่าการทำแผนที่ความเร็วของกระแสน้ำที่ผิวหน้ามหาสมุทร หรือ Surface current mapping นั้น ทำได้โดยอาศัยเรดาร์อย่างน้อยสองตัวขึ้นไป ตั้งอยู่บนสถานที่ที่ห่างกันระยะหนึ่ง โดยให้เรดาร์ทั้งสองตัวนี้ยิงคลื่นความถี่ลงไปกระทบกับผิวหน้าน้ำทะเล และคลื่นเรดาร์ ที่สะท้อนกลับมานั้นจะสามารถระบุความเร็วของคลื่นมหาสมุทรในทิศทางที่สะท้อนกับคลื่นเรดาร์ที่ยิงออกไปได้
19
สถานีเรดาร์ตรวจคลื่นและกระแสน้ำอัตโนมัติของกรมอุตุนิยมวิทยามีทั้งหมด 6 ต้น (3 แห่ง)
สถานีเรดาร์ตรวจคลื่นและกระแสน้ำอัตโนมัติของ GISTDA มีทั้งหมด 13 ต้น
20
✔ Receiver at Phang-nga site Transmitter at Phang-nga site
21
Receiver at Phuket site Transmitter at Phuket site
22
สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar)
การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar) การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา
23
ผลการตรวจวัดคลื่นจาก HF Radar ระยะห่างฝั่ง 6 กม
24
สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar)
การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar) การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา
25
สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar)
การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar) การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา
26
สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar)
การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar) การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา
27
สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar)
การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar) การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา
28
สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar)
การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา สถานีตรวจวัดคลื่นและกระแสน้ำ (HF Radar) การบรรยายการทำงานและหน้าที่ของศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล ณ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาทะเล อาคาร 50ปี ชั้น 15 กรมอุตุนิยมวิทยา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.