งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

2 รางรถไฟสายตรงที่ยาวที่สุดในโลก

3 รางรถไฟสายตรงที่ยาวที่สุดในโลกยาวเป็นระยะทาง 478 กิโลเมตร เส้นทางที่ข้ามที่ราบนัลลาบอร์ (Nullarbor plain) ตั้งอยู่ในรัฐของออสเตรเลียใต้(South Australia)

4 รางรถไฟสายตรงที่ยาวที่สุดในโลกยาวเป็นระยะทาง 478 กิโลเมตร เส้นทางที่ข้ามที่ราบนัลลาบอร์ (Nullarbor plain) ตั้งอยู่ในรัฐของออสเตรเลียใต้(South Australia)

5 บูมเมอแรง (Boomerang)

6 บูมเมอแรง (Boomerang) เป็นอาวุธประจำตัวของชาวอะบอริจิน(ชนพื้นเมืองของออสเตรเลีย) ที่ใช้ล่าสัตว์

7 ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ Sydney Opera House

8 ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ หรือ โรงอุปรากรซิดนีย์ (Sydney Opera House) ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ที่รู้จักกันดีทั่วโลก ออกแบบโดยสถาปนิกชาวเดนมาร์ก ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของ นครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย โดยซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวซิดนีย์ นครซิดนีย์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย องค์การยูเนสโก(UNESCO)ได้ขึ้นทะเบียนให้โรงอุปรากรซิดนีย์เป็นมรดกโลก ใน ปี ค.ศ. 2007

9 ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ หรือ โรงอุปรากรซิดนีย์ (Sydney Opera House) ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ที่รู้จักกันดีทั่วโลก ออกแบบโดยสถาปนิกชาวเดนมาร์ก ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของ นครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย โดยซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวซิดนีย์ นครซิดนีย์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย องค์การยูเนสโก(UNESCO)ได้ขึ้นทะเบียนให้โรงอุปรากรซิดนีย์เป็นมรดกโลก ใน ปี ค.ศ. 2007

10 ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ หรือ โรงอุปรากรซิดนีย์ (Sydney Opera House) เป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ที่รู้จักกันดีทั่วโลก ออกแบบโดยสถาปนิกชาวเดนมาร์ก ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของ นครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย ซิดนีย์โอเปร่าเฮาส์ ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวซิดนีย์ นครซิดนีย์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย องค์การยูเนสโก(UNESCO)ได้ขึ้นทะเบียนให้โรงอุปรากรซิดนีย์เป็นมรดกโลก ใน ปี ค.ศ. 2007

11 สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์ Sydney Harbour Bridge

12 สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์(Sydney Harbour Bridge) สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์เป็นสะพานระนาบเดี่ยว ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึ้นในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำในทศวรรษ 1930 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวัง เปิดใช้ในปีค.ศ และ ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของนครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลียเคียงคู่กับซิดนีย์ (Sydney Opera House)

13 สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์(Sydney Harbour Bridge) สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์เป็นสะพานระนาบเดี่ยว ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึ้นในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำในทศวรรษ 1930 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวัง เปิดใช้ในปีค.ศ และ ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของนครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลียเคียงคู่กับซิดนีย์ (Sydney Opera House)

14 สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์(Sydney Harbour Bridge) สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์เป็นสะพานระนาบเดี่ยว ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึ้นในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำในทศวรรษ 1930 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความหวัง เปิดใช้ในปี ค.ศ และถือเป็น Landmark ที่สำคัญของนครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลียเคียงคู่กับซิดนีย์(Sydney Opera House)

15 สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์(Sydney Harbour Bridge) สะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์ถือเป็น Landmark ที่สำคัญของนครซิดนีย์และถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของประเทศออสเตรเลียเคียงคู่กับซิดนีย์ (Sydney Opera House) ตั้งอยู่ปากอ่าวซิดนีย์

16 Aborigines

17 ชาวอบอริจินส์(Aborigines) ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของออสเตรเลีย

18 ชาวอบอริจินส์(Aborigines) ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของออสเตรเลีย เป็นชาติพันธุ์กลุ่มออสเตรเลยด์(Australoid) ปัจจุบันอาศัยอยู่แถบตอนกลาง ตอนเหนือ และตะวันตกของประเทศ และปัจจุบันทางการออสเตรเลียได้จัดพื้นที่ที่เป็นเขตอาศัยของ กลุ่มชนพื้นเมืองนี้ คือเขตนอร์ทเทิร์นแทริทอรี่ (Northern Territories)

19 WHITE AUSTRALIAN POLICY

20 นโยบายไวต์ออสเตรเลีย (White Australia policy) เป็นนโยบายของรัฐบาลออสเตรเลียในอดีตระหว่าง ค.ศ ค.ศ ที่ปิดกั้นไม่ให้คนสีผิวอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย บรรยากาศการแข่งขันในยุคตื่นทอง ปัญหาแรงงาน และความเป็นชาตินิยมของออสเตรเลีย สร้างบรรยากาศของการกีดกันทางสีผิวในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งนำมาสู่การออก Immigration Restriction Act 1901 (พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจำกัดการเข้าเมือง )อันเป็นกฎหมายฉบับแรกๆ ของรัฐสภาออสเตรเลีย ภายหลังการรวมรัฐต่างๆ ขึ้นเป็นประเทศออสเตรเลีย กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายไวต์ออสเตรเลียโดยรัฐบาลกลาง จนถึงสงครามโลกครั้งที่สองได้มีกฎหมายฉบับอื่นที่รัฐสภาออกมาเพิ่มเติมอีกเพื่อสนับสนุนนโยบายนี้

21 นโยบายไวต์ออสเตรเลีย(White Australia policy) เป็นนโยบายของรัฐบาลออสเตรเลียในอดีตระหว่าง ค.ศ ค.ศ ที่ปิดกั้นไม่ให้คนสีผิวอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย ปัจจัยที่ทำให้เกิดนโยบายนี้ คือ - ยุคการตื่นทอง - ปัญหาแรงงาน - ความเป็นชาตินิยมของออสเตรเลีย สร้างบรรยากาศของการกีดกันทางสีผิวในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งนำมาสู่การออก Immigration Restriction Act 1901 (พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจำกัดการเข้าเมือง) กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายไวต์ออสเตรเลียโดยรัฐบาลกลาง นโยบายไวต์ออสเตรเลียค่อยเสื่อมคลายลงไปเป็นลำดับหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง การค้นพบทองในดินแดนออสเตรเลียเมื่อ ค.ศ ทำให้มีผู้คนจำนวนจากทั่วโลกหลั่งไหลกันเข้ามาในประเทศ ในช่วงเวลา 20 ปีหลังการค้นพบทอง ชายชาวจีนราว 40,000 คน และหญิงกว่า 9,000 คน (ส่วนใหญ่เป็นขาวกวางตุ้ง) ได้อพยพเข้ามาในออสเตรเลียเพื่อแสวงโชค การแข่งขันเข้าพื้นที่ขุดทองทำให้เกิดความตึงเครียด เกิดการประท้วง และการจลาจลในที่สุด ในหลายที่ จนกระทั้งนำไปสู่ข้อจำกัดในการเข้าเมืองของคนจีนและมีการเรียกเก็บภาษีการอยู่อาศัยจากชาวจีนในรัฐวิคตอเรีย เมื่อ ค.ศ ซึ่งรัฐนิวเซาท์เวลส์ก็ทำตามใน ค.ศ ระบบนี้มีผลบังคับใช้จนถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1870

22 นโยบายไวต์ออสเตรเลีย(White Australia policy) เป็นนโยบายของรัฐบาลออสเตรเลียในอดีตระหว่าง ค.ศ ค.ศ ที่ปิดกั้นไม่ให้คนสีผิว อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย ปัจจัยที่ทำให้เกิดนโยบายนี้ คือ - ยุคการตื่นทอง - ปัญหาแรงงาน - ความเป็นชาตินิยมของออสเตรเลีย สร้างบรรยากาศของการกีดกันทางสีผิวในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งนำมาสู่การออก Immigration Restriction Act 1901 (พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจำกัดการเข้าเมือง) กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายไวต์ออสเตรเลียโดยรัฐบาลกลาง นโยบายไวต์ออสเตรเลียค่อยเสื่อมคลายลงไปเป็นลำดับหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง การเติบโตของอุตสาหกรรมน้ำตาลในรัฐควีนส์แลนด์ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 นำไปสู่ความต้องการแรงงานที่สามารถทำงานในสภาพอากาศเขตร้อนชื้นได้ ในช่วงเวลานี้ "Kanakas" (ชาวพื้นเมืองในหมู่เกาะแปซิฟิก) จำนวนมากถูกนำเข้ามาในออสเตรเลีย โดยเฉพาะในการปลูกอ้อยเพื่อทำน้ำตาลในควีนส์แลนด์และฟิจิ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 กลุ่มสหภาพแรงงานได้ประท้วงต่อต้านแรงงานต่างชาติ โดยกล่าวว่าชาวเอเชียและชาวจีนแย่งงานคนผิวขาว ผู้ถือครองที่ดินที่ร่ำรวยในชนบทปฏิเสธข้อกล่าวอ้างนี้กลุ่มเจ้าของที่ดินเชื่อว่าหากปราศจากชาวเอเชียเหล่านี้มาทำงานในเขตร้อนชื้นของเขตนอร์เทิร์นเทร์ริทอรีและรัฐควีนส์แลนด์จะไม่มีใครเข้ามาอยู่ในเขตดังกล่าวได้ แม้จะมีข้อโต้แย้งจากผู้ถือครองที่ดินเหล่านี้ ระหว่าง ค.ศ กลุ่มรัฐและดินแดนที่ยังไม่รวมกันเป็นประเทศออสเตรเลีย ได้ออกกฎหมายห้ามการเข้าเมืองของคนจีน ส่วนชาวเอเชียที่ได้ตั้งรกรากในดินแดนออสเตรเลียก่อนกฎหมายออกมานั้นยังคงได้รับสิทธิ์เท่าเทียมกับพลเมืองผิวขาวอื่นๆ และต่อมาได้มีความพยายามในการเพิ่มข้อจำกัดคนเข้าเมืองนี้ไปสู่คนสีผิวทั้งหมดผ่านการออกกฎหมาย

23 1880 กลุ่มสหภาพแรงงานได้ประท้วงต่อต้านแรงงานต่างชาติ โดยกล่าวว่าชาวเอเชียและชาวจีนแย่งงานคนผิวขาว
ภาพล้อการต่อต้านชาวจีนที่อพยพเข้ามายังออสเตรเลียและเข้ามาแย่งงานชาวผิวขาว

24 นโยบายไวต์ออสเตรเลีย(White Australia policy) เป็นนโยบายของรัฐบาลออสเตรเลียในอดีตระหว่าง ค.ศ ค.ศ ที่ปิดกั้นไม่ให้คนสีผิวอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย ปัจจัยที่ทำให้เกิดนโยบายนี้ คือ - ยุคการตื่นทอง - ปัญหาแรงงาน - ความเป็นชาตินิยมของออสเตรเลีย สร้างบรรยากาศของการกีดกันทางสีผิวในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งนำมาสู่การออก Immigration Restriction Act 1901 (พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจำกัดการเข้าเมือง) กฎหมายฉบับนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายไวต์ออสเตรเลียโดยรัฐบาลกลาง นโยบายไวต์ออสเตรเลียค่อยเสื่อมคลายลงไปเป็นลำดับหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง ในช่วงหลังทศวรรษ 1850 เป็นต้นมาออสเตรเลียก็มีการพัฒนามากขึ้นๆในทุกๆด้าน ทั้งด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ คมนาคม ความเป็นอยู่ทั้งด้านการทำมาหากิน ที่อยู่อาศัยและการศึกษาของประชาชน รวมทั้งด้านความมั่นคงของประเทศ ฯลฯ จนในภายหลังได้สร้างชาตินิยมและความรักชาติที่เพิ่มมากขึ้นในชาวออสเตรเลีย ซึ่งในไปสู่ความเป็นออสเตรเลีย (Australianism) เกิดศิลปะ วรรณกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์และการสร้างบุคลิกภาพของชาวออสเตรเลีย ในขณะที่การพัฒนาด้านการเมืองก็เป็นไปอย่างต่อเนื่องแม้ว่าออสเตรเลียจะได้รับผลกระทบจากสงครามโลกที่ทำให้ต้องส่งคนเป็นจำนวนมาก แต่ก็ได้ทำให้ออสเตรเลียเป็นที่รู้จักของโลก ความเป็นชาตินิยมที่เพิ่มพูนในชาวออสเตรเลียได้ทำให้เกิดความต้องการในการรวมชาติจนทำให้ท้ายที่สุดก็ได้สถาปนาเครือรัฐออสเตรเลียที่เป็นสหพันธรัฐที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญเป็นประมุข            การจัดตั้งรัฐเครือรัฐออสเตรเลียขึ้นในปี 1901นี่เองที่เป็นก้าวสำคัญที่ทำให้ออสเตรเลียเป็นประเทศในทุกวันนี้

25 นโยบายไวต์ออสเตรเลียค่อยเสื่อมคลายลงไปเป็นลำดับหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง เริ่มต้นจากการสนับสนุนการอพยพให้ชาวยุโรปผิวขาวที่มิใช่ชาวอังกฤษมาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลีย และตามด้วยคนที่มิได้มีผิวขาวในที่สุด ตั้งแต่ ค.ศ นโยบายนโยบายไวต์ออสเตรเลียได้หมดสภาพในทางปฏิบัติไปโดยสมบูรณ์ และใน ค.ศ รัฐบาลได้ออกกฎหมาย Racial Discrimination Act 1975 (พ.ร.บ.การแบ่งแยกทางเชื้อชาติ)อันทำให้การกีดกันคนโดยอาศัยเกณฑ์ทางเชื้อชาติเป็นสิ่งผิดกฎหมาย

26 ปัจจุบันออสเตรเลีย ได้ใช้ “นโยบายพหุวัฒนธรรม (Multiculturalism policy)” ที่เปิดกว้างมากขึ้น สำหรับการเข้าเมืองของชาวต่างชาติ โดยหลายคนใช้คำแทนสังคมออสเตรเลียว่า "melting pot" เพราะเป็นที่ ๆ คนกว่า 200 เชื้อชาติ อาศัยอยู่ในออสเตรเลีย

27 WHAT ?

28

29 ประเทศใดต่อไปนี้เป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ ???

30

31 ประเทศใดต่อไปนี้เป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ ???

32 ประเทศใดต่อไปนี้เป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ ???

33 ประเทศใดต่อไปนี้เป็นประเทศเอกราชโดยสมบูรณ์ ???


ดาวน์โหลด ppt AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google