งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก ภายใน รายละเอียดของการคำนวณความแข็งแรง วัสดุและอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ เป็นต้น

2 โมเดลของกระบวนการทำงาน (Process Modeling)
สัญลักษณ์แทนกระบวนการทำงาน การบริหารและจัดการข้อมูล การส่งผ่านข้อมูลระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อมภายนอกระบบ (External Entities)สร้างขึ้นมาจากสารสนเทศที่ได้จากการวิเคราะห์ความต้องการเป็นการสร้างโมเดลของกระบวนการทำงาน และ โครงสร้างข้อมูลที่ใช้ภายในระบบ

3 องค์ประกอบโมเดลของกระบวนการทำงาน
แผนภาพบริบท (Context Data Flow Diagram)แสดงขอบเขตการทำงานของระบบ (Scope of system)DFDs ต้องแสดงกายภาพ และตรรกะของระบบได้ คือช่วยให้นักวิเคราะห์สามารถเข้าใจการทำงานของระบบได้เป็นโมเดลไม่ขึ้นกับเทคโนโลยีที่ใช้แสดงทิศทางการไหลของข้อมูล, โครงสร้างข้อมูล และฟังก์ชันการทำงานของระบบงานใหม่ได้

4 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD)
คือแผนภาพที่ แสดงทิศทางการไหลข้อมูลระหว่างหน่วยงานนอกระบบ (External Entities เช่น ลูกค้า, พนักงานขาย เป็นต้น) กับกระบวนการทำงาน (Process) และพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของระบบ (Data Store)DFDs แตกต่างจาก Flowchart คือ DFDs เป็นการแสดงรายละเอียดทางกายภาพ(Physical) และ ตรรกะ(Logical) ของทิศทางการไหลข้อมูล โดยไม่ขึ้นกับ เทคโนโลยี Flowchart เป็นการแสดงรายละเอียดทางกายภาพ(Physical) ของระบบมากกว่าทางตรรกะ

5 การตั้งชื่อสัญลักษณ์ของแผนภาพกระแสข้อมูล
กระบวนการ กระแสข้อมูล แหล่งจัดเก็บ ต้นทาง/ลายทาง

6 สัญลักษณ์ของแผนภาพกระแสข้อมูล (DFD Symbols)
กระบวนการ (Process) หมายถึง การทำงาน หรือกิจกรรมที่ กระทำกับข้อมูลภายในระบบ ทิศทางกระแสข้อมูล (Data Flow) แสดงทิศทางข้อมูลด้วยลูกศร โดยมีกระบวนการ เป็นตัวกลางในการรับและส่งข้อมูลไปยังส่วน ต่าง ๆ ของระบบ แหล่งจัดเก็บข้อมูล (Data Store) หมายถึง ข้อมูลที่จัดเก็บภายใน ระบบทั้งหมด ต้นทาง / ปลายทาง (Source / Sink) หมายถึง หน่วยงานต้นทาง หรือ ปลายทางที่อยู่ภายนอกระบบ (External Entity)

7 ไม่มีกระบวนการที่มีแต่ ข้อมูลเข้า หรือ มีแต่ ข้อมูลออกอย่างเดียว
กฎของกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram Rules) กระบวนการ (Process) กระบวนการต้องมี ข้อมูลเข้า และออก ไม่มีกระบวนการที่มีแต่ ข้อมูลเข้า หรือ มีแต่ ข้อมูลออกอย่างเดียว ชื่อของกระบวนการต้องเป็นคำกริยา

8 ทิศทางของข้อมูลเข้า หรือ ออกจากแหล่ง
กฎของกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram Rules) แหล่งจัดเก็บข้อมูล (Data Store) ทิศทางของข้อมูลเข้า หรือ ออกจากแหล่ง จัดเก็บข้อมูลต้องกระทำผ่านกระบวนการ เท่านั้น ชื่อของแหล่งจัดเก็บข้อมูลต้องเป็นคำนาม

9 กฎของกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram Rules)
ต้นทาง / ปลายทาง (Source / Sink) ข้อมูลไม่สามารถส่งผ่านไปยังหน่วยงานภายนอก ได้โดยตรง ต้องกระทำผ่านกระบวนการเท่านั้น ชื่อของต้นทาง / ปลายทางต้องเป็นคำนาม

10 กฎของกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram Rules)
ทิศทางกระแสข้อมูลระหว่าง กระบวนการ กับแหล่งจัดเก็บ ข้อมูล กรณีมีข้อมูลเข้า/ออก ให้แสดงเป็นลูกศรแยกคนละเส้น กรณีที่แตกกระแสข้อมูลเส้น เดียวกัน จะต้องเป็นข้อมูล ตัวเดียวกัน

11 กฎของกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram Rules)
เราต้องการรวมการไหลของ ข้อมูลได้ แต่ข้อมูลจะต้อง เป็นข้อมูลเดียวกันเท่านั้น ก า ร ไ ห ล ข อ ง ข้อ มูล ไ ม่สามารถเรียกซ้ำ ตัวเองได้แ ต่ส า ม า ร ถ วิ่ง ผ่า นกระบวนการอื่น ก่อนแล้วค่อยย้อนกลับมาได้

12 กฎของกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram Rules)
ทิศทางของกระแสข้อมูลจากกระบวนการ ไปแหล่งจัดเก็บข้อมูลหมายถึงการปรับปรุงข้อมูล เช่น เพิ่ม ลบ หรือ แก้ไขข้อมูลทิศทางของกระแสข้อมูลจากแหล่งจัดเก็บข้อมูล ไปยังกระบวนการหมายถึง การอ่านข้อมูล หรือ นำข้อมูลไปใช้ชื่อของทิศทางกระแสข้อมูลควรใช้คำนาม

13 ระดับของแผนภาพกระแสข้อมูล (DFD Levels)
แผนภาพบริบท (Context DFD) แสดงภาพรวมการทำงานของระบบ แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 0 (Level-0 DFD) แสดงกระบวนการทำงานหลัก สามารถเอา Use Case มาช่วย พิจารณากระบวนการทำงานได้ แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (Level-1 DFD) การจำแนกระบบงานย่อยของ แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 0 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ n (Level-n DFD) การจำแนกระบบงานย่อยของ แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ n-1

14 การแจกแจงฟังก์ชันการทำงานย่อย (Functional Decomposition)
เป็นการที่ใช้แจกแจงระบบงานใหญ่(ภาพรวม) ให้เป็นระบบงานย่อยที่มีความละเอียดมากขึ้นกระบวนการระดับสูง ใช้อธิบายรายละเอียดของกระบวนการระดับล่างแผนภาพกระแสข้อมูลจะแสดงรายละเอียดของกระบวนการในแต่ละระดับ

15 ปกติในระบบงานทั่วไป แผนภาพกระแสข้อมูลจะไม่เกินระดับที่ 3
แผนภาพกระแสข้อมูลต้องละเอียดจนถึงระดับใด ปกติในระบบงานทั่วไป แผนภาพกระแสข้อมูลจะไม่เกินระดับที่ 3 เมื่อไหร่เราถึงจะแจกแจง ฟังก์ชันการทำงานย่อย เมื่อกระบวนการถูกลดรูปจนกระทั่งเหลือการกระทำเพียงอย่างเดียว เช่น การคำนวณ การเพิ่ม ลบ แก้ไข อย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อนิสิตเชื่อว่าได้แสดงผล รายงานกระบวนการทางธุรกิจ หรือ Transaction ได้ครบถ้วนสมบูรณ์ภายใต้เส้นกระแสข้อมูล เมื่อผู้ใช้พอใจเส้นกระแสข้อมูลไม่จำเป็นต้องแยกย่อยอีกต่อไปแล้ว เมื่อนิสิตเชื่อว่าได้แจกแจง ฟังก์ชันการทำงานย่อยมาจนถึงระดับต่ำที่สุด แล้ว

16 แผนภาพบริบท (Context Diagram)
แสดงเพียง 1 กระบวนการเท่านั้น และจะไม่มีการแสดง แหล่งจัดเก็บข้อมูล

17 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 0 (Level-0 DFD)

18 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 (Level-1 DFD)

19 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ n (Level-n DFD)

20 ความสมดุลของแผนภาพกระแสข้อมูล
(DFD Balancing) ข้อมูลต้องไม่สูญหาย แต่สามารถเปลี่ยนสภาพไปได้ เมื่อกระบวนการทำงาน ประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์อย่างใด อย่างหนึ่งออกมาจากระบบ โดยอาจสามารถเปลี่ยนรูปไปจากเดิมหรือไม่เปลี่ยนก็ได้ความสมดุล หมายถึงจำนวนของข้อมูลเข้า และออก ในระดับแจกแจง (n) ต้องเท่ากับข้อมูลเข้า และออก ในระดับที่สูงกว่า (n-1)

21 ความไม่สมดุลของแผนภาพกระแสข้อมูล (Unbalanced DFD)

22 ตัวอย่าง: ความสมดุลของแผนภาพกระแสข้อมูล (DFD Balancing)

23 ตัวอย่าง: ความสมดุลของแผนภาพกระแสข้อมูล (DFD Balancing) (ต่อ)

24 การแยกเส้นกระแสข้อมูล (Data Flow Splitting)

25 แนวทางการวาดแผนภาพกระแสข้อมูล (Guidelines)
ความสมบูรณ์ (Completeness) DFD ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบที่จำเป็นต่อระบบทั้งหมดแต่ละองค์ประกอบต้องมีการเขียนคำอธิบายความหมาย และรายละเอียดไว้ในพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)ความสอดคล้อง (Consistency) การแจกแจงส่วนขยายของสารสนเทศที่อยู่ในระดับหนึ่ง จะต้องประกอบด้วย DFD ย่อยที่มีความสอดคล้องสัมพันธ์กับข้อมูลในระดับอื่นๆ ด้วย

26 แนวทางการวาดแผนภาพกระแสข้อมูล (Guidelines) ต่อ
เวลา(Timing) DFD จะไม่มีการแสดงในเรื่องของเวลาการเขียน DFD ที่ดี คือ การออกแบบระบบที่ไม่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด (หมายถึง ระบบต้องมีการไหลข้อมูลอย่างต่อเนื่องจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ถ่ายเทไปโดยไม่สิ้นสุด)การออกแบบซ้ำๆ (Iterative Development)นักวิเคราะห์ควรต้องมีการวาดแผนภาพ หลายๆ ครั้ง ก่อนจึงจะได้แผนภาพที่ใกล้เคียงกับระบบงานจริง

27 การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis)
Using DFDs as Analysis Tools การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) คือกระบวนการค้นหาความขัดแย้งระหว่าง 2 หรือหลายๆแผนภาพกระแสข้อมูล หรือแม้แต่ความขัดแย้งของแผนภาพกระแสข้อมูลเดี่ยวๆ ระบบที่ด้อยประสิทธิภาพ สามารถระบุได้ผ่านทาง DFD

28 การใช้แผนภาพกระแสข้อมูลกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์

29 Context, Level-0 and Level-1, Level-2 DFDs
Context diagram Level 0 diagram Level 1 diagram Level 2 diagram

30 ตัวอย่าง: ผังบริบทของระบบขายซีดี ผ่านอินเทอร์เน็ต

31 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 0

32 แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1 กระบวนการที่ 1

33 ตัวอย่าง: แผนภาพกระแสข้อมูลระดับที่ 1
กระบวนการที่ 1 (ระบบนัดหมาย)

34 The END


ดาวน์โหลด ppt บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google