งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

2 เราเป็นใคร มาจากไหน

3 คนไทยมาจากไหน ๑. เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยอยู่ในบริเวณมณฑลเสฉวน ถูกจีนรุกราน แล้วอพยพลงสู่ยูนานและแหลมอินโดจีน นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ เตเรียน เดอร์ ลาคูเปอรี ๒. เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยอยู่ในบริเวณเทือกเขาอัลไต สรุปได้ว่าไทยเป็นเชื้อสายมองโกล เรียกว่าลาวหรือต้ามุง เนื่องจากถูกชนเผ่าอื่นรุกรานจึงอพยพมาจากตอนกลางมาสู่ตอนใต้ของจีน และเข้าสู่อินโดจีน นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ วิลเลี่ยม คลิฟตันด๊อด

4

5 ๓. เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยกระจัดกระจายทั่วไปในบริเวณตอนใต้ของจีน และทางตอนเหนือของภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนบริเวณ รัฐอัสสัมของอินเดีย นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ วูลแฟรม อีเบอร์ฮาด , เฟรเดอริก โมต , วิลเลียม เก๊ดนีย์ ๔. เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยอยู่ในบริเวณเนื้อที่ประเทศไทยปัจจุบัน เนื่องจากมีการตรวจวิเคราะห์โครงกระดูกในยุคหินใหม่ ที่ขุดค้นพบในประเทศไทย นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ นายแพทย์สุด แสงวิเชียร , ศาสตราจารย์ ชิน อยู่ดี

6 ๕.     เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไทยอาจอยู่ในบริเวณคาบสมุทรมลายู  หรือบริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศไทย  และค่อย ๆ แพร่กระจายไปทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตอนใต้ของจีน  เนื่องจากมีการเปรียบเทียบหมู่เลือด และความถี่ของยีน  นักวิชาการที่เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้คือ  นายแพทย์สมศักดิ์  พันธุ์สมบูรณ์ , นายแพทย์ประเวศ วะสี

7

8 สังคมทุกแห่งแม้มีความแตกต่างกันในเกือบทุกด้าน (การเมือง เศรษฐกิจ ศาสนา ค่านิยม) แต่ สังคมทั่วโลกมีลักษณะพื้นฐานที่เหมือนกันคือ “สังคมเป็นการรวมตัวกันเพื่อความอยู่รอดของสมาชิก” “วัฒนธรรม” Culture เริ่มขึ้นประมาณปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนักมานุษยวิทยาคนแรกที่ใช้คือ Sir Edward B.Tylor

9 Tylor นิยาม Culture ไว้ใน Primitive Culture
หมายถึง ผลรวมของระบบความรู้ ความเชื่อ ศิลปะ จริยธรรม กฎหมาย ประเพณี ตลอดจนความสามารถ และอุปนิสัยต่างๆ ซึ่งเป็นผลมาจากการเป็นสมาชิกของสังคม Belief System Social Values

10 นักมานุษยวิทยาเน้นศึกษาวัฒนธรรม 3 สาขาย่อย
Archeology Linguistics Ethnology

11 วัฒนธรรม มิใช่พฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้ แต่เป็นระบบความเชื่อและค่านิยมทางสังคม ที่อยู่ข้างหลังพฤติกรรมมนุษย์ วัฒนธรรม คือ กฎระเบียบหรือมาตรฐานของพฤติกรรมที่คนในสังคมยอมรับ วัฒนธรรม คือ วิถีชีวิต (way of life) ของคนในสังคม

12 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
Intercultural Communication Lustig และ Koester “กระบวนการแลกเปลี่ยนและตีความสัญลักษณ์และบริบทหนึ่งๆโดยบุคคลในกระบวนการสื่อสารนั้น มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมมากในระดับที่มีการตีความและมีความคาดหวังเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เหมาะสมแตกต่างกัน นำไปสู่ความหมายที่ไม่เหมือนกัน” มักเน้น การสื่อสารระหว่างบุคคล ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง แบบไม่ผ่านสื่อ เน้นการสื่อสารแบบเห็นหน้า (face-to-face) และปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน (Interactive)

13 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
Cross-Cultural Communication เน้นศึกษาเปรียบเทียบว่าคนในแต่ละวัฒนธรรมสื่อสารต่างกันอย่างไร โดยที่คู่สื่อสารไม่จำเป็นต้องมาจากต่างวัฒนธรรมกัน เช่น เปรียบเทียบวิธีการทักทายของคนไทยและวิธีการทักทายของคนอเมริกัน

14 ความแตกต่างวัฒนธรรมจากกว้างไปแคบ
ซีกโลกตะวันออก-ตะวันตก ทวีป ประเทศ ภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ กลุ่มสังคมวัฒนธรรมต่างๆ ฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ เพศ ความแตกต่างวัฒนธรรมจากกว้างไปแคบ

15 การสื่อสารระหว่างกลุ่มเชื้อชาติ
Interracial Communication หมายถึง กลุ่มที่มีลักษณะทางกายภาพคล้ายคลึงกัน เช่นสีผิว รูปร่าง ตก จมูก สีผม เส้นผม Negroid คนผิวดำ ในอเมริกา แอฟริกา Mongoloid เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตะวันออกไกล Caucasoid คนยุโรป ชาวตะวันตกอื่นๆ แม้ว่าเชื้อชาติเป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่เนื่องจากมีการเดินทางอพยพ การแต่งงาน จึงยากต่อการแบ่งแยก

16

17 การสื่อสารระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์
Interethnic Communication เป็นกลุ่มที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษกลุ่มเดียวกัน ใช้ภาษาพูดเดียวกัน ยึดขนบธรรมเนียมประเพณีและพิธีกรรมต่างๆเหมือนกันหรือคล้ายกัน กลุ่มเร่ร่อน เช่น ผีตองเหลือง ซามังซาไก กลุ่มตั้งถิ่นฐานกึ่งถาวร เผ่ากาโร ชิน นากะในพม่าและอินเดีย ลาวโซ่งในไทย ฮ่อ แม้ว เย้า ลีซอ มูเซอ อีก้อ กลุ่มรัฐประเทศ ถาวร จัดตั้งเป็นประเทศ

18 We all are in one global village
Our World is Shrinking We all are in one global village เมื่อบุคคลเข้ามาสู่วัฒนธรรมใหม่ ช่องว่างระหว่างความคุ้นเคย และความสะดวกสบายของถิ่นเดิม กับความไม่คุ้นเคยในถิ่นใหม่ ย่อมจำกัดความสามารถในการทำงานและการดำรงชีพอย่างมีประสิทธิภาพ

19 ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญของวัฒนธรรม
1.วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (shared ideas) และค่านิยมทางสังคม 2.วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (symbol) 3.วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (culture is learned)

20 (Insight)

21

22

23

24

25

26

27

28 4. วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา 5
4.วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา 5.วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์กำหนดนิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว 6.วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง

29 แก่นแท้อยู่ที่การบูชาพระพุทธเจ้าอย่างใกล้ชิด โดยใช้องค์พระบรมธาตุเจดีย์เป็นตัวแทน

30 Diffusion Culture หมายถึงการกระจายตัวของแบบแผนทางวัฒนธรรมจากพื้นที่หนึ่งไปยังพื้นที่อื่น เช่น ภาษา การแต่งกาย ศาสนา เทคโนโลยี วัตถุสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช้ หรือความคิดความเชื่อ

31


ดาวน์โหลด ppt การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google