งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของสำนักบำรุงทาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของสำนักบำรุงทาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของสำนักบำรุงทาง
กรมทางหลวงชนบท สำนักบำรุงทาง

2 วาระการประชุม แนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินงานเอกลักษณ์ทาง ทช. ประจำปีงบประมาณ 2559 การติดตามผลการดำเนินงานบำรุงปกติ งบประมาณ 2559 หลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงข่ายทางสายหลัก แนวทางในการควบคุมงานก่อสร้างผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางพาราธรรมชาติ

3 การติดตามผลการดำเนินการบำรุงปกติ งปม.2559
กรมทางหลวงชนบท สำนักบำรุงทาง

4 การส่งรายงานบำรุงปกติ ประจำปี 2559
ประจำเดือน แบบฟอร์ม M1,M2,M3 และ Y6 ส่ง ภายใน วันที่ 25 ของทุกเดือน ประจำไตรมาส แบบฟอร์ม M1,M2,M3 และ Y6 แบบฟอร์ม Q1,Q2,Q3 ส่ง ภายใน วันที่ 25 ของเดือน ธ.ค., มี.ค., มิ.ย.,ก.ย.

5 ขั้นตอนการทำงานแบบฟอร์มต่างๆ
S1-S5 แบบฟอร์ม M1-M2 ส่งประจำเดือน แบบฟอร์ม D1-D2 แบบฟอร์ม Q1-Q2 ส่งประจำไตรมาส

6 สรุปการจัดสรรงบประมาณบำรุงปกติ ประจำปี 2559
ยังไม่เข้าแผนจัดสรร ไตรมาส 2, 3 และ 4 หน่วยที่แบบสำรวจและประมาณราคาไม่ถูกต้อง 1 หน่วย ได้แก่ ขทช.สระบุรี ยังไม่เข้าแผนจัดสรร ไตรมาส 4 หน่วยที่แบบสำรวจและประมาณราคาไม่ถูกต้อง 6 หน่วย ได้แก่ ขทช.อุตรดิตถ์ ขทช.พังงา ขทช.กาญจนบุรี ขทช.นครปฐม บทช.พิบูลย์รักษ์ บทช.น้ำโสม

7 หลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงข่ายทางสายหลัก
กรมทางหลวงชนบท สำนักบำรุงทาง

8 หลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงข่ายทางสายหลัก
1. เป็นสายทางที่มีปริมาณจราจรตั้งแต่ 2,000 PCU/วัน หรือเป็นสายทางที่มีรถบรรทุกหนักมากกว่า 500 คัน/วัน (6 ล้อขึ้นไป) 2. มีสถานที่ท่องเที่ยว, แหล่งชุมชน, สถานที่ ราชการ, โรงเรียน, วัด, โรงพยาบาล, โรงงาน อุตสาหกรรม จำนวนมากอยู่ในสายทาง

9 เกณฑ์แนะนำการออกแบบงานบำรุงทางสายหลัก
1. ปรับปรุงรูปทรงทางเรขาคณิตและบริเวณจุดเสี่ยงอันตราย ได้แก่ 1.1 ปรับปรุงทางแยกและจุดเชื่อมต่อ เช่น สามแยก สี่แยก คอขวด (ขยายไหล่ทาง) ปรับปรุงโค้งด้วยการขยาย/ยกโค้ง เพื่อให้ มีความปลอดภัย 1.2 ปรับปรุงบริเวณย่านชุมชนให้มีความสมบูรณ์ เช่น ขยายช่องจอดรถเพิ่มเติม ปรับปรุงให้มีทางเดินเท้า ระบบระบายน้ำข้างทาง ไฟฟ้าแสงสว่าง 1.3 ปรับปรุงบริเวณหน้าโรงเรียนหรือสถานที่สำคัญ เช่น ขยายพื้นที่เพื่อจอดรถ ทางเท้า ไฟกระพริบ ทางม้าลาย และติดตั้งเครื่องหมายจราจรพร้อมอุปกรณ์อำนวยความปลอดภัยต่างๆ

10 เกณฑ์แนะนำการออกแบบงานบำรุงทางสายหลัก (ต่อ)
2. ปรับปรุงโครงสร้างทาง โดยให้มีการสำรวจปริมาณจราจรและค่าการแอ่นตัว เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการคำนวณและออกแบบโครงสร้างทาง 3. ปรับปรุงระบบระบายน้ำ 3.1 ปรับปรุงระบบระบายน้ำตามขวางของทาง เพื่อรองรับปริมาณน้ำให้เพียงพอ เช่น เปลี่ยนจากท่อลอดกลมเป็นท่อลอดเหลี่ยม 3.2 ปรับปรุงระบบระบายน้ำข้างทางตามแนวลาดคันทาง โดยเฉพาะลาดไหล่เขา

11 เกณฑ์แนะนำการออกแบบงานบำรุงทางสายหลัก (ต่อ)
4. งานจราจรสงเคราะห์ ปรับปรุงเครื่องหมายจราจร อุปกรณ์อำนวยความปลอดภัย สัญญาณไฟจราจร ให้เพียงพอและสอดคล้องกับรูปแบบที่ปรับปรุงใหม่ 5. ปรับปรุงภูมิทัศน์ในพื้นที่เกาะกลาง/สองข้างทาง (ถ้า มี) ให้สวยงาม รวมทั้งการรื้อถอนป้าย สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์เดิม ที่ไม่ใช้ในการอำนวยการจราจรออกจาก เขตทาง ให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ขับขี่

12 เกณฑ์แนะนำการออกแบบงานบำรุงรักษาทางต่ำ 10 ล้านบาท
1. สำรวจสายทางเพื่อออกแบบและกำหนดกิจกรรมซ่อมบำรุงตามคุณสมบัติ ดังนี้ 1.1 กิจกรรมฉาบผิวทางสเลอรี่ซีล สายทางที่มีโครงสร้างทางอยู่ในสภาพที่แข็งแรง พื้นที่เสียหายหนักน้อยกว่า 5 % และมีอายุการใช้งานมากกว่า 4 ปี หรือมีค่า IRI น้อยกว่า 4 หรือค่าการแอ่นตัวน้อยกว่า 0.5 มม มีค่าความเสียดทานน้อยกว่า 0.35 มม. หรือสายทางที่มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุในลักษณะการลื่นไถลบ่อยครั้ง/ที่ลาดชัน

13 เกณฑ์แนะนำการออกแบบงานบำรุงรักษาทางต่ำ 10 ล้านบาท
1.2 เสริมผิวทางแอสฟัลติกคอนกรีต สายทางที่มีพื้นที่เสียหายหนักมากกว่า 5 % และไม่เกิน 10 % หรือมีค่า IRI น้อยกว่า 4 หรือค่าการแอ่นตัวมากกว่า 0.5 มม. และไม่เกิน 0.7 มม. 1.3 กิจกรรมซ่อมสร้างผิวทางเคพซีล ผิวทางเดิมเป็นแบบเคพซีลมีพื้นที่เสียหายหนักมากกว่า 10 % และมีปริมาณจราจร น้อยกว่า 1,000 PCU/วัน หรือมีค่า IRI มากกว่า 6.5 หรือค่าการแอ่นตัวมากกว่า 0.7 มม.

14 เกณฑ์แนะนำการออกแบบงานบำรุงรักษาทางต่ำ 10 ล้านบาท
1.4 กิจกรรมซ่อมสร้างผิวทางแอสฟัลติกคอนกรีต มีพื้นที่เสียหายหนักเกิน 10 % และมีปริมาณจราจรมากกว่า 1,000 PCU/วัน หรือมีค่า IRI มากกว่า 6.5 หรือค่าการแอ่นตัวมากกว่า 0.7 มม. 2. ปรับปรุงรูปทรงทางเรขาคณิตและบริเวณจุดเสี่ยงอันตราย ได้แก่ ปรับปรุงทางแยกและจุดเชื่อมต่อ เช่น สามแยก สี่ แยก คอขวด(ขยายไหล่ทาง) ปรับปรุงโค้งด้วยการขยาย/ ยกโค้ง เพื่อให้มีความปลอดภัย 3. ปรับปรุงโครงสร้างทาง โดยให้มีการสำรวจปริมาณ จราจรและค่าการแอ่นตัว เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการ คำนวณและออกแบบโครงสร้างทาง

15 เกณฑ์แนะนำการออกแบบงานบำรุงรักษาทางต่ำ 10 ล้านบาท
4. งานจราจรสงเคราะห์ ปรับปรุงเครื่องหมายจราจร อุปกรณ์อำนวยความปลอดภัย สัญญาณไฟจราจรให้เพียงพอและสอดคล้องกับรูปแบบที่ปรับปรุงใหม่ 5. ปรับปรุงภูมิทัศน์ในพื้นที่สองข้างทาง (ถ้ามี) ให้สวยงาม รวมทั้งการรื้อถอนป้ายสิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์เดิม ที่ไม่ใช้ใน การอำนวยการจราจรออกจากเขตทาง ให้เกิดความ ปลอดภัยต่อผู้ขับขี่

16 โครงการซ่อมสร้างผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต โดยวิธี Pavement In – Place Recycling ขุดกัดลึก 30 ซม.
ข้อแนะนำในการคัดเลือกโครงการ เป็นสายทางที่มีปริมาณจราจรมากกว่า 1,500 PCU ต่อวัน และมีรถบรรทุกหนักมากกว่า 500 คันต่อวัน ค่าการแอ่นตัวมากกว่า 0.7 มม. ผิวทางเดิมมีความเสียหายมากกว่า 10% การออกแบบ ให้มีการสำรวจปริมาณจราจรและค่าแอ่นตัว เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการคำนวณและออกแบบโครงสร้างทาง งานจราจรสงเคราะห์ปรับปรุงเครื่องหมายจราจร อุปกรณ์อำนวยความปลอดภัย สัญญาณไฟจราจร ให้เพียงพอและสอดคล้องกับรูปแบบที่ปรับปรุงใหม่

17 การร่างประกาศประกวดราคา (ร่าง TOR) ให้มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. ต้องมีผลงานในการดำเนินงานซ่อมสร้างผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต โดยวิธี Pavement In – Place Recycling ขุดกัดลึก 30 ซม. วงเงินไม่เกิน 50% ของโครงการที่จะประกวดราคา 2. ผู้เสนอราคาต้องเป็นเจ้าของผู้ถือกรรมสิทธิ์ หรือ ผู้ ครอบครองสิทธิ์เครื่องจักรสำหรับงานบูรณะทางแบบ Pavement In – Place Recycling ที่มีประสิทธิภาพในการ ขุดกัดชั้นโครงสร้างทางที่มีความลึกไม่น้อยกว่า 30 ซม.และ ต้องมีชุดเครื่องจักรบดอัด ประกอบด้วย - รถบดล้อเหล็กสั่นสะเทือน ขนาดไม่น้อยกว่า 25 ตัน จำนวน 1 คัน - รถบดล้อเหล็กสั่นสะเทือน ขนาดไม่น้อยกว่า ตัน จำนวน 1 คัน

18 การประมาณราคางาน Pavement In – Place Recycling ขุดกัดลึก 30 ซม.
ใช้ตารางค่าดำเนินการ และค่าเสื่อมราคา งาน Pavement In – Place Recycling โดยให้เปลี่ยนค่างานจากขุดลึกเฉลี่ย 20 ซม. เป็นขุดลึกเฉลี่ย 30 ซม. หมายเหตุ เก็บตัวอย่างออกแบบส่วนผสม เนื่องจากการขุดกัดลึกอาจมีส่วนผสมของลูกรังหรือผิวแอสฟัลติกคอนกรีตหนามากกว่า 5 ซม. ซึ่งจะทำให้ปูนซีเมนต์ที่จะใช้สูงขึ้น

19 แนวทางในการควบคุมงานก่อสร้าง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ
กรมทางหลวงชนบท สำนักบำรุงทาง

20 งานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุงผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ
การควบคุมคุณภาพ งานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุงผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ รัฐบาลมีนโยบายใช้ยางพาราเป็นส่วนผสมในงานก่อสร้างถนนเป็นที่รู้จักกันในชื่อ พาราแอสฟัลต์ ซึ่งกรมทางหลวงชนบทได้นำวัสดุดังกล่าวมาใช้ในงานก่อสร้างถนนมาระยะหนึ่งแล้ว และนับวันมีการใช้งานขึ้นเรื่อยๆ ได้แก่ ผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซิล (Para Slurry Seal) และพาราแอสฟัลต์คอนกรีต (Para AC) ดังนั้นเพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ ผู้ควบคุมงานรวมไปถึงผู้รับจ้างจะต้องเพิ่มความเอาใจใส่กับวิธีการก่อสร้างมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ได้งานที่ดี มีความแข็งแรง อายุการใช้งาน ที่ยาวนาน ผู้ใช้เส้นทางสัญจรบนทางหลวงชนบทอย่างสะดวกและปลอดภัยเป็นสำคัญ

21 งานพาราแอสฟัลต์คอนกรีต (Para AC)
การควบคุมคุณภาพงาน ผู้ควบคุมงานจะต้องให้ความสำคัญกระบวนการทำงาน โดยมีสาระสำคัญหลัก ๆ ดังนี้ ก่อนดำเนินการ 1. ตรวจสอบ ใบกำกับผลิตภัณฑ์ชนิดพาราแอสฟัลต์ที่ได้รับการตรวจสอบคุณภาพแล้ว 2. ตรวจสอบโรงผสมแอสฟัลต์ซึ่งจะต้องมีถังบรรจุยาง 2 ถัง โดยแยกเป็น - ถังบรรจุยางพาราแอสฟัลต์ 1 ถัง (เท่านั้น) - และบรรจุยาง AC 60/70 อีก 1 ถัง เพื่อป้องกันไม่ให้มีการใช้ยางทั้ง 2 ชนิดดังกล่าวข้างต้นปนกัน 3. อุณหภูมิที่ใช้ผสม ณ โรงผสมจะต้องไม่น้อยกว่า 170 ±5 0C (โดยมีการตรวจปริมาณคงเหลือเพื่อป้องกันการนำยาง AC ไปใช้ผสมด้วย)

22 ระหว่างดำเนินการ  เนื่องจากพาราแอสฟัลต์ที่ใช้ผสมวัสดุมวลรวมให้เข้ากันได้ดีจะต้องใช้อุณหภูมิที่สูงกว่าแอสฟัลต์ (AC 60/70 ) ปกติ ในทางกลับกันเมื่อดำเนินการก่อสร้างที่หน้างาน อุณหภูมิเมื่อปูผิวทางจะลดลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน ดังนั้นรถที่บรรทุกพาราแอสฟัลต์คอนกรีตมาหน้างานจะต้องคลุมผ้าใบ เพื่อควบคุมอุณหภูมิทุกคัน โดยอุณหภูมิขณะปูไม่ควรต่ำกว่า 156 0C ( C) อุณหภูมิขณะบดทับขั้นต้นต้องไม่ต่ำกว่า 140 0C เนื่องจากอุณหภูมิขณะปูยางจะลดลงอย่างรวดเร็ว จึงต้องบดทับอย่างต่อเนื่องทันที  ดังนั้นการบดอัดให้ได้คุณภาพงานจะต้องใช้จำนวนเครื่องจักรบดอัดมากขึ้นกว่าปกติ กล่าวคือ 1. จะต้องมีรถบดล้อเหล็กขนาดน้ำหนักไม่น้อยกว่า 8 ตัน และสามารถเพิ่มน้ำหนักได้ไม่น้อยกว่า 10 ตัน อย่างน้อย 2 คัน 2. จะต้องมีรถบดล้อยางน้ำหนักไม่น้อยกว่า 10 ตัน (ล้อยางไม่น้อยกว่า ล้อ) อย่างน้อย 4 คัน (มากกว่าการปูผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตปกติ) เพื่อให้ได้คุณภาพงานตามมาตรฐานที่กำหนดไว้  ขั้นตอนการดำเนินการให้เป็นไปตาม มทช มาตรฐานงานแอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ (Natural Rubber Modified Asphalt Concrete)

23 งานฉาบผิวพาราสเลอรี่ซีล ชนิดที่ 3 (Para Slurry Seal Type 3)
เป็นงานฉาบผิวทาง ที่ใช้แอสฟัลต์มัลชั่นปรับปรุงคุณภาพ Css – 1hP (EMA), มวลรวม (Aggregate), ปูนซีเมนต์ (Mineral Filler), สารผสมเพิ่ม (Additive) และ น้ำ (Water) เป็นส่วนผสม เพื่อเพิ่มแรงยึดเกาะ ต้านทานการลื่นไถล เพิ่มความปลอดภัย และยืดอายุการใช้งาน (มทช.243 – 2555 : งานฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล) ขนาดคละของมวลรวม ปริมาณแอสฟัลต์และอัตราการฉาบ ให้เป็นไปตามตาราง ผ่านตะแกรงขนาด Para Slurry Seal Type 3 % ผ่านตะแกรงโดยรวม 9.5 มม. (3/8 นิ้ว) 100 4.75 มม. (เบอร์ 4) 70 – 90 2.36 มม. (เบอร์ 8) 45 – 70 1.18 มม. (เบอร์ 16) 28 – 50 0.600 มม. (เบอร์ 30) 19 – 34 0.300 มม. (เบอร์ 50) 12 – 25 0.150 มม. (เบอร์ 100) 7 – 18 0.075 มม. (เบอร์ 200) 5 – 15 % Residue ของแอสฟัลต์โดยมวลรวม หยาบ 6.5 – 12.0 อัตราการฉาบ (กก./ม.2)

24 การนำส่งตัวอย่างวัสดุ
หนังสือนำส่ง (แนบผลการออกแบบจากบริษัทผู้ผลิตแอสฟัลต์) - มวลรวม (หินฝุ่น) > 50 กก. - มวลรวม (หิน 3/8”) > 50 กก. - ยาง Css – 1hP ลิตร - สารผสมเพิ่ม – 500 ซีซี - ปูนซีเมนต์ ถุง (50 กก.) *** ส่งวัสดุออกแบบที่สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา เท่านั้น ***

25 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1. ตรวจสอบสถานที่ และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ก่อนฉาบผิว 2. ตรวจสอบมวลรวมคละของวัสดุที่นำมาใช้จริง ให้เป็นไปตามเกณฑ์ ความคาดเคลื่อนที่ยองให้สำหรับสูตรส่วนผสมเฉพาะงาน ผ่านตะแกรงขนาด ร้อยละ 2.36 มม. (เบอร์ 8) และใหญ่กว่า ± 5 1.18 มม. (เบอร์ 16) ± 4 0.600 มม. (เบอร์ 30) 0.300 มม. (เบอร์ 50) 0.150 มม. (เบอร์ 100) ± 3 0.075 มม. (เบอร์ 200) ± 2 Residue ของแอสฟัลต์ โดยน้ำหนักของ มวลรวมแห้ง ± 0.5 - มวลรวม มีค่า Sand Equivalent > 60% - แอสฟัลต์ มีค่า DIN Bowl ไม่เกินร้อยละ ±𝟓 ของ Job Mix แต่ต้องอยู่ในช่วงระหว่าง 20 – 100 วินาที

26 3. เครื่องจักร/เครื่องมือ จะต้องเพียงพอ และพร้อมใช้งานอยู่เสมอ
- ตรวจสอบ และสอบเทียบมาตรวัดมวลรวม, แอสฟัลต์, ปูนซีเมนต์, สารเพิ่มผสม และ น้ำ 4. ทำความสะอาดด้วยเครื่องกวาดฝุ่น 5. Spray น้ำบางๆ (เป็นฝอย) สำหรับผิวทางเดิมที่เป็น Asphalt ส่วนผิวทางเดิมที่เป็น คอนกรีต จะต้อง Tack Coat ก่อน ด้วยยาง Css – 1 หรือ Css – 1h อัตรา 0.1 – 0.3 ลิตร/ม.2 6. ส่วนผสมจะต้องคงที่ ปริมาณถูกต้องตามอัตราส่วนผสมเฉพาะงาน โดยการกำหนดพื้นที่เก็บตัวอย่างขนาด 50 x 50 ซม. แล้วตักเก็บส่วนผสมไปชั่งน้ำหนักคำนวณหาอัตราการฉาบ (กก./ม.2) 7. ตรวจสอบคุณสมบัติของส่วนผสม ดังนี้ - ระยะเวลาในการผสม (Mixing time) > 120 วินาที (ถ้าไม่อยู่ในระยะเวลาที่กำหนดให้ ปรับลดสารผสมเพิ่ม) - ค่า Flow อยู่ระหว่าง 10 – 20 มม. (ถ้าไม่อยู่ในช่วงที่กำหนดให้ปรับลดน้ำ) - ค่า Initial set time < 30 นาที (หลังจากฉาบผิว 5 นาที ให้ตรวจสอบ Set Time โดยใช้กระดาษซับจนกว่าจะไม่มีแอสฟัลต์ติดที่กระดาษ หรือจนเห็นว่าแอสฟัลต์เปลี่ยนจาก (สีน้ำตาลเป็นสีดำ) - ค่าการบ่มตัว Curing time < 2 ชั่วโมง - ค่า Wet Track Abrasion loss < 500 กก./ม.2

27 8. หากเกิดรอยครูดของหิน หรือรอยต่อไม่เรียบร้อยต้องปรับแก้
9. ถ้ารอยต่อตามยาว ตามขวาง มีสันนูนไม่เรียบร้อยต้องรีบแก้ไข 10. ต้องจัดทำรอยต่อตามขวางทุกครั้งเมื่อสิ้นสุด / หยุด / ส่วนผสมหมด 11. หากส่วนผสมจับตัวกันเป็นก้อน หรือยางเกิดการแยกตัวกับมวลรวมควรตัดทิ้ง 12. หากจำเป็นต้องบดทับด้วยรถบดล้อยางขาด 5 ตัน ให้ขึ้นกับดุลพินิจของผู้ควบคุมงาน 13. ปิดการจราจรอย่างน้อย 1 ชั่วโมง สามารถเปิดการจราจรได้โดยไม่เกิดความเสียหาย ภายใน 2 ชั่วโมง ทั้งนี้ต้องไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง ในสภาพอากาศปกติ และไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงครึ่ง ในสภาพความชื้นสูง หมายเหตุ หากพบว่าค่า Mixing time, Setting time และ Curing time ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด แสดงว่ายางแอสฟัลต์ที่ใช้ไม่ถูกต้อง

28 แบบแกนมีใบพัด/ควบคุมอัตโนมัติ แบบลากไม่มีแกน/ใบพัด
ข้อแตกต่างระหว่าง Para Slurry Seal กับ Slurry seal รายการ Para Slurry Seal Type 3 Slurry Seal 1. เครื่องจักร, เครื่องมือ และอุปกรณ์ - เครื่องฉาบ (Spreader) แบบแกนมีใบพัด/ควบคุมอัตโนมัติ แบบลากไม่มีแกน/ใบพัด - ถังใส่สารผสมเพิ่ม (Additive Tank) ต้องมี ไม่มีก็ได้ 2. คุณสมบัติวัสดุ - ค่า Sand Equivalent > 60% > 50% 3. คุณสมบัติส่วนผสม - เวลาในการผสม (Mixing time) > 120 วินาที - - ค่า Flow 10 – 20 มม. 20 – 30 มม. - Initial set time < 30 นาที < 12 ชั่วโมง - เวลาในการบ่ม (Curing time) < 2 ชั่วโมง < 24 ชั่วโมง - ค่า Wet track Abrasion loss < 500 กรัม/ม.2 < 800 กรัม/ม.2 - ค่า Hubbard Field Stability > 11.8 กิโลนิวตัน

29 Para AC

30

31 Para Slurry Seal

32

33 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ
กรมทางหลวงชนบท สำนักบำรุงทาง

34 คณะวิทยากรในการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพ
งานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ ระหว่างวันที่ กุมภาพันธ์ 2559 คณะที่ 1 1.นายวิชัย พลอยกลม 2.นายกล้าหาญ ทารักษา 3.นายสุเมธ ชิ้นโภคทรัพย์ 4.นายกรวรงค์ สุริยา ผอ.กลุ่มมาตรฐานงานทาง ผอ.กลุ่มบำรุงทาง วิศวกรโยธาปฏิบัติการ สวว. สบร. *** ผู้ประสานงาน นายสุเมธ ชิ้นโภคทรัพย์ โทร. 086 – 781 – 3144 คณะที่ 2 1.นายจักรพงษ์ วงค์คำจันทร์ 2.นายวีระศักดิ์ จันทรา 3.นายธนิต วิทยเมธ 4.นายชาญศักดิ์ แรงสาริกรรม ผอ.กลุ่มยุทธศาสตร์ วิศวกรโยธาชำนาญการ นายช่างโยธาชำนาญงาน สวว. สบร. ***ผู้ประสานงาน นายธนิต วิทยเมธ โทร. 095 – 928 – 2639

35 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพ
งานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ ระหว่างวันที่ กุมภาพันธ์ 2559 คณะที่ 1 + 2 วันที่ สถานที่ ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 17 กุมภาพันธ์ 2559 18 กุมภาพันธ์ 2559 ห้องคุณากูลสวัสดิ์ ห้องประชุม สทช.ที่ 3 สทช.ที่ 1, 2, 4 และ 18 สทช.ที่ 3 และ 13 คณะที่ 1 วันที่ สถานที่ ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 19 กุมภาพันธ์ 2559 24 กุมภาพันธ์ 2559 ห้องประชุม ขทช.ขอนแก่น ห้องประชุม สทช.ที่ 7 สทช.ที่ 6, 15 และ 16 สทช.ที่ 5 และ 7 คณะที่ 2 วันที่ สถานที่ ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 19 กุมภาพันธ์ 2559 24 กุมภาพันธ์ 2559 ห้องประชุม สทช.ที่ 10 ห้องประชุม สทช.ที่ 11 สทช.ที่ 8, 9, 10 และ 17 สทช.ที่ 11, 12 และ 14

36 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมคุณากูลสวัสดิ์ ชั้น 9 อาคาร 4 กรมทางหลวงชนบท เวลา – น. วัน / เวลา หัวข้อเรื่อง วิทยากร ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 08.30 – น. 08.45 – น. 09.00 – น. 11.30 – น. 12.00 น. ลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม พิธีเปิดการฝึกอบรม แนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ งานพาราแอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ (Natural Rubber Modified Asphalt Concrete) งานฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล (Para Slurry Seal) ตอบข้อซักถาม ปิดการอบรม เจ้าหน้าที่สำนักบำรุงทาง วศญ. (นายวิศว์ รัตนโชติ) วิทยากรจากสำนักบำรุงทางและสำนักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา (คณะที่ 1 และ 2) สทช.ที่ 1 และ สทช.ที่ 2

37 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมคุณากูลสวัสดิ์ ชั้น 9 อาคาร 4 กรมทางหลวงชนบท เวลา – น. วัน / เวลา หัวข้อเรื่อง วิทยากร ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 12.45 – น. 13.00 – น. 16.00 – น. 16.30 น. ลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม แนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ งานพาราแอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ (Natural Rubber Modified Asphalt Concrete) งานฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล (Para Slurry Seal) ตอบข้อซักถาม ปิดการอบรม เจ้าหน้าที่สำนักบำรุงทาง วิทยากรจากสำนักบำรุงทางและสำนักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา (คณะที่ 1 และ 2) สทช.ที่ 4 และ สทช.ที่ 18

38 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมสำนักงานทางหลวงชนบทที่ 3 (ชลบุรี) เวลา – น. วัน / เวลา หัวข้อเรื่อง วิทยากร ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 08.30 – น. 08.45 – น. 09.00 – น. 11.30 – น. 12.00 น. ลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม พิธีเปิดการฝึกอบรม แนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ งานพาราแอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ (Natural Rubber Modified Asphalt Concrete) งานฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล (Para Slurry Seal) ตอบข้อซักถาม ปิดการอบรม เจ้าหน้าที่ สทช.ที่ 3 (ชลบุรี) ผส.ทช.ที่ 3 หรือผู้แทน วิทยากรจากสำนักบำรุงทางและสำนักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา (คณะที่ 1 และ 2) สทช.ที่ 3 และ สทช.ที่ 13

39 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมสำนักงานทางหลวงชนบทที่ 6 (ขอนแก่น) เวลา – น. วัน / เวลา หัวข้อเรื่อง วิทยากร ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 08.30 – น. 08.45 – น. 09.00 – น. 11.30 – น. 12.00 น. ลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม พิธีเปิดการฝึกอบรม แนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ งานพาราแอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ (Natural Rubber Modified Asphalt Concrete) งานฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล (Para Slurry Seal) ตอบข้อซักถาม ปิดการอบรม เจ้าหน้าที่ สทช.ที่ 6 (ขอนแก่น) ผส.ทช.ที่ 6 หรือผู้แทน วิทยากรจากสำนักบำรุงทางและสำนักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา (คณะที่ 1) สทช.ที่ 6 และ สทช.ที่ 15 – 16

40 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมสำนักงานทางหลวงชนบทที่ 7 (อุบลราชธานี) เวลา – น. วัน / เวลา หัวข้อเรื่อง วิทยากร ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 08.30 – น. 08.45 – น. 09.00 – น. 11.30 – น. 12.00 น. ลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม พิธีเปิดการฝึกอบรม แนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ งานพาราแอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ (Natural Rubber Modified Asphalt Concrete) งานฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล (Para Slurry Seal) ตอบข้อซักถาม ปิดการอบรม เจ้าหน้าที่ สทช.ที่ 7 (อุบลราชธานี) ผส.ทช.ที่ 7 หรือผู้แทน วิทยากรจากสำนักบำรุงทางและสำนักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา (คณะที่ 1) สทช.ที่ 5 และ สทช.ที่ 7

41 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมสำนักงานทางหลวงชนบทที่ 10 (เชียงใหม่) เวลา – น. วัน / เวลา หัวข้อเรื่อง วิทยากร ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 10.00 – น. 10.15 – น. 10.30 – น. 12.00 – น. 13.00 – น. 14.30 – น. 15.00 น. ลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม พิธีเปิดการฝึกอบรม แนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ งานพาราแอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ (Natural Rubber Modified Asphalt Concrete) พักรับประทานอาหารกลางวัน งานฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล (Para Slurry Seal) ตอบข้อซักถาม ปิดการอบรม เจ้าหน้าที่ สทช.ที่ 10 (เชียงใหม่) ผส.ทช.ที่ 10 หรือผู้แทน วิทยากรจากสำนักบำรุงทางและสำนักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา (คณะที่ 2) สทช.ที่ 8 – 9, 10 และ สทช.ที่ 17

42 กำหนดการฝึกอบรมแนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมสำนักงานทางหลวงชนบทที่ 11 (สุราษฎร์ธานี) เวลา – น. วัน / เวลา หัวข้อเรื่อง วิทยากร ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 08.30 – น. 08.45 – น. 09.00 – น. 11.30 – น. 12.00 น. ลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม พิธีเปิดการฝึกอบรม แนวทางการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง / ซ่อมบำรุง ผิวทางปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ งานพาราแอสฟัลต์คอนกรีตปรับปรุงคุณภาพด้วยยางธรรมชาติ (Natural Rubber Modified Asphalt Concrete) งานฉาบผิวทางแบบพาราสเลอรี่ซีล (Para Slurry Seal) ตอบข้อซักถาม ปิดการอบรม เจ้าหน้าที่ สทช.ที่ 11 (สุราษฎร์ธานี) ผส.ทช.ที่ 11 หรือผู้แทน วิทยากรจากสำนักบำรุงทางและสำนักวิเคราะห์วิจัยและพัฒนา (คณะที่ 2) สทช.ที่ และ สทช.ที่ 14

43 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงานตามภารกิจของสำนักบำรุงทาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google