ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
ทางเลือกโครงการ โดย...ว่าที่ ร.ต.นรินทร์ แขมพิมาย ผู้อำนวยส่วนพัฒนางานศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี ๑
2
บทบาท/ หน้าที่การพัฒนาการเกษตรของท้องถิ่น
กรมส่งเสริมการเกษตร กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ของ 1. ตาม พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่ อปท. พ.ศ.2542 2. ประกาศ กกถ. พ.ศ.2543 เพิ่มเติม 2550 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 3. อปท. ตาม พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมปี 42,46 และ พ.ร.บ.เทศบาล ปี 46 4. อปท.จัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น * ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ของ อปท. พ.ศ.2548 ประกาศราชกิจจา 17 ก.ค. 2548 ๒
3
1. พ. ร. บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (พ. ศ. 2537, และแก้ไข พ. ศ
1. พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (พ.ศ.2537, และแก้ไข พ.ศ.2542) อำนาจหน้าที่ อบต. มาตรา 67 มีหน้าที่ต้องทำ 1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก 2) รักษาความสะอาดของถนน ฯลฯ และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดขยะมูลฝอย *3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ 4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5) ส่งเสริมการศึกษาและวัฒนธรรม 6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กเยาวชน ฯลฯ *7) คุ้มครอง ดูแล บำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม *8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรม 9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย ๓
4
อำนาจหน้าที่ อบต. มาตรา 68 อาจจัดทำ
อำนาจหน้าที่ อบต. มาตรา 68 อาจจัดทำ * 1) ให้น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร 2) ให้มีและบำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่าง 3) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ 4) ให้มีและบำรุงรักษาสถานที่ประชุม การกีฬา ฯ * 5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจกรรมสหกรณ์ 6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหการในครอบครัว * 7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร 8) การคุ้มครองและรักษาทรัพย์สินของราษฎร 9) หาประโยชน์จากทรัพย์สิน อบต. 10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม 11) กิจกกรมเกี่ยวกับการพาณิชย์ 12) การท่องเที่ยว 13) การผังเมือง ๔
5
2. พ.ร.บ.เทศบาลตำบล อำนาจหน้าที่ มาตรา 50 มีหน้าที่ต้องทำ
1. รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน 2. ให้มีและบำรุงทางบกและทางน้ำ 3. รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งแวดล้อม *4. มีการป้องกันและกำจัดโรคติดต่อ 5. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง 6. ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม 7. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุ *8. บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 9. หน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของเทศบาล ๕
6
อำนาจหน้าที่ มาตรา 51 อาจจัดทำ
อำนาจหน้าที่ มาตรา 51 อาจจัดทำ 1. ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา 2. ให้มีโรงฆ่าสัตว์ 3. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม 4. ให้มีสุสานและฌาปนสถาน * 5. บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร * 6. ให้มีและบำรุงสถานที่ทำมาหากินของราษฎร 7. ให้มีและบำรุงรักษาการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น 8. ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ 9. เทศพาณิชย์ ๖
7
บันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนา การเกษตรของท้องถิ่น ระหว่าง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กับ กรมส่งเสริมการเกษตร (วันที่ 17 เมษายน 2551) ๗
8
ประเด็น 1. การพัฒนาบุคลากรของ อปท. สถ. และ กสก.: จัดทำหลักสูตร/ วิทยากร 2. การจัดทำฐานข้อมูลการเกษตรของ อปท. 3. สนับสนุน อปท. ในการพัฒนาการเกษตรและการให้บริการด้านการเกษตร 4. การบูรณาการแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลกับแผนพัฒนาท้องถิ่น 5. การศึกษาวิจัยและติดตามประเมินผล 6. แต่งตั้งคณะทำงานร่วมกัน หมายเหตุ : กรมส่งเสริมการเกษตรมีการแต่งตั้งคำสั่งคณะกรรมการ โดยมีนายกสมาคมทั้ง 3 เป็นกรรมการ ๘
9
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.)
ขั้นตอนการทำ 6 กลไกภารกิจถ่ายโอน 10 ภารกิจ E-commerce 5 การให้บริการ 4 การจดทะเบียนสมาชิก 3 การปฏิบัติตามแผน 2 การจัดทำแผน 1 การเตรียมความพร้อม ๙
10
ศบกต. ภารกิจ - การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
1. ด้านการถ่ายเทคโนโลยี 2. ด้านการลงทุนเชิงธุรกิจ/วิสาหกิจชุมชน 3. ด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม * บูรณาการเข้ากับแผนพัฒนาท้องถิ่นของ อปท. ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาของ อปท. พ.ศ. 2548 ๑๐
11
ระหว่างกระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แผนภูมิ: การบูรณาการจัดทำแผนชุมชน แผนพัฒนาด้านการเกษตร และแผนพัฒนาสามปีของ อปท. ปี ระหว่างกระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่วนกลาง นโยบย แผนงาน/โครงการ ส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนภูมิภาค งบพัฒนาจังหวัด (สำนักงบประมาณ) ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (ต.ค.51) (ธ.ค.51) กรอบนโยบายและ ยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด (อ.ก.จ.) แผนพัฒนาท้องถิ่น(แผนสามปี) อบจ. แผนพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด ก.บ.จ. (มิ.ย.52) (ต.ค.51) เกินศักยภาพ (พ.ย.51) กรอบนโยบายและ ยุทธศาสตร์ระดับอำเภอ (อ.ก.อ.) แผนพัฒนาท้องถิ่น(แผนสามปี) อบต./เทศบาล แผนพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับอำเภอ เกินศักยภาพ (เม.ย.- พ.ค.52) แผนพัฒนาอำเภอ ก.บ.อ. (ต.ค.- พ.ย.51) เวทีชุมชนระดับหมู่บ้าน/ชุมชน (กรรมการหมู่บ้าน/ผู้นำชุมชน/ศบกต.) แผนชุมชน ข้อมูลทางเลือก/ แนวทาง การพัฒนา การเกษตร (ระดับตำบล) (ม.ค.- มี.ค.52) แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล (ศบกต.) ก.บ.จ. = คณะกรรมการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ ก.บ.อ. = คณะกรรมการบริหารอำเภอแบบบูรณาการ อ.ก.จ. = คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด อ.ก.อ. = คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับอำเภอ อบจ. = องค์การบริหารส่วนจังหวัด อบต. = องค์การบริหารส่วนตำบล ศบกต. = ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ความต้องการ/ ปัญหาของชุมชน ๑๑ หมายเหตุ : ช่วงระยะเวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมของพื้นที่
12
การเสนอทางเลือกโครงการ
อปท. กสก. ภูมิภาค/จังหวัด เสนอโครงการ อบจ. (แผนพัฒนาท้องถิ่น) เสนอโครงการ สำนักงาน เกษตรจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด (แผนพัฒนาจังหวัด) 4 5 ทางเลือกโครงการ เสนอแผน/ของบ 1 4 คณะกรรมการประสาน งานแผนระดับอำเภอ สำนักงาน เกษตรอำเภอ นายอำเภอ (เกินศักยภาพ) ทางเลือกโครงการ เสนอแผน/ ของบ 1 4 เทศบาล/เทศบาลตำบล อบต. (แผนพัฒนาท้องถิ่น) ศบกต. แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล เสนอโครงการ 3 ข้อมูล/ทางเลือกโครงการ เสนอปัญหาและความต้องการ 1 2 หมู่บ้าน/ ชุมชน กลุ่มอาชีพ/ วิสาหกิจ ๑๒
13
ประเด็นการจัดทำทางเลือกโครงการ (Project Idea)
ประกอบด้วย ชื่อโครงการ/ กิจกรรม (what) เหตุผล/ ปัญหา (why) ทำไมต้องทำโครงการนี้ วิธีการดำเนินงาน/ ประเด็นส่งเสริม (how) ต้องทำอย่างไร มีกิจรรมอะไรบ้าง โดยคิดเป็นโครงการย่อยระดับชุมชน งบประมาณ (ตามรายละเอียดกิจกรรม/ ประเด็นส่งเสริม) unit cost เป็นเอกสารแนบ เงื่อนไขการดำเนินงาน (ถ้ามี) อาจเป็นข้อจำกัดของพืช/ กิจกรรมที่จะดำเนินการ /สังคม ผู้รับผิดชอบ เช่น ชื่อ หรือ เบอร์โทรศัพท์/ ๑๓
14
ทาง เลือก โครง การ ตัวอย่าง ๑๔
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการผลิตเชื้อเห็ดฟางชุมชน เหตุผลในการทำโครงการ 1. เห็ดฟางเป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่ผลิตได้เร็ว ต้นทุนต่ำ และผลิตได้ในทุกพื้นที่ 2. ปัญหาการผลิตเห็ดฟางที่พบส่วนใหญ่ คือ เชื้อเห็ดเจริญเติบโตไม่สม่ำเสมอ ดอกเห็ดมีคุณภาพต่ำ ซึ่งแก้ไขได้โดยใช้เชื้อเห็ดฟางที่มี คุณภาพ คือไม่แก่หรืออ่อนเกินไป 3. เกษตรกรผู้เพาะเห็ดฟางที่อยู่ไกลจากแหล่งผลิตเชื้อเห็ด มักจะได้เชื้อเห็ดที่ไม่มีคุณภาพ 4. การผลิตเชื้อเห็ดฟางใช้เทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน เกษตรกรสามารถทำได้ชุมชนของตนเอง วิธีการดำเนินงาน 1. รวมกลุ่มเกษตรกร 2. จัดอบรมให้ความรู้และนำเกษตรกรดูงานฟาร์มตัวอย่าง (โดยใช้หลักสูตรและเลือกแหล่งดูงานตามที่แนบ) 3. จัดทำโรงเรือนสาธิตการผลิตเชื้อเห็ดฟาง ขนาด 8 x 10 ตารางเมตร ซึ่งสามารถผลิตเชื้อเห็ดได้ 8,000 – 9,000 ถุง (ถุงละ 200 กรัม) ใช้ระยะเวลาผลิต 10 วัน และสามารถนำไปผลิตเห็ดได้ 2,000 – 2,400 กิโลกรัม โดยใช้งบประมาณค่าโรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์รวม 100,000 บาท (รายละเอียดตามที่แนบ) เงื่อนไขในการดำเนินงาน 1. ส่งเสริมในพื้นที่ที่เกษตรกรมีการผลิตเห็ดฟางอยู่แล้ว 2. หากไม่มีการผลิตเห็ดฟางมาก่อน ต้องดำเนินงานควบคู่กับโครงการส่งเสริมการผลิตเห็ดฟาง 3. ต้องมีการวางแผนการผลิต เพื่อให้ได้เชื้อเห็ดฟางในปริมาณและระยะเวลาที่สอดคล้องกับความต้องการใช้ เนื่องจากเชื้อเห็ดมีอายุสั้น 4. ควรดำเนินการเพียง 1 กลุ่ม ต่อชุมชน เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม นายสมภูมิ พรรณอภัยพงศ์ ตำแหน่งนักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัติการ กลุ่มส่งเสริมการผลิตผัก สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โทร , ต่อ ทาง เลือก โครง การ ๑๔
15
แผนบริหารจัดการทางเลือกโครงการ สำนัก/ กองด้านวิชาการ
ความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะ 7 สำรวจการใช้ประโยชน์ ทางเลือกโครงการ 6 ระบบอินทราเน็ต กรมส่งเสริมการเกษตร (ssnet) โปรแกรมประมวลผล 5.2 จังหวัด 5.3 ศูนย์สารสนเทศ งบพัฒนา จังหวัด/ อบจ. เสนอ แผน ทางเลือกโครงการ 3 Shop อำเภอ แบบสำรวจการใช้ ประโยชน์ทางเลือกโครงการ 4.2 Website ศบกต. ( 5.1 เสนอทางเลือก (Sharing) อปท. (เทศบาลตำบล) เสนอ แผน ตำบล/ ศบกต. 2 ส่วนพัฒนางานศูนย์บริการฯ สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี 1 4.1 ปรึกษาโครงการ สำนัก/ กองด้านวิชาการ = การดำเนินงานทางเลือกโครงการ = การติดตามผลการนำทางเลือกโครงการ ไปใช้ประโยชน์ สำนัก/ กองด้านวิชาการ = สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร ๑๖
16
โดย :- การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนโดย ศบกต. + อปท. + กสก. การรวมกลุ่ม
การถ่ายทอดความรู้ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ดูงาน การจดทะเบียนกลุ่ม การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม/โครงการ - การจัดทำกิจกรรม/วิเคราะห์กิจกรรม - การสร้างเครือข่ายการพัฒนา/ดำเนินการตามกิจกรรม - การจัดทำแผนลงทุนเชิงธุรกิจ/วิเคราะห์แผนลงทุน การขอรับการสนับสนุนจากแหล่งเงินลงทุน (ขอรับเงินอุดหนุนจาก อปท.) ๑๖
17
การลงทุนทางธุรกิจเกษตร/วิสาหกิจชุมชน
(กลไก ศบกต. ตามภารกิจถ่ายโอน) ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ 1. รัฐ และ อปท. จัดทำแผนการลงทุนร่วมกัน - ทบทวนความต้องการของกลุ่มอาชีพจากแผนพัฒนาการเกษตร ที่กำหนดไว้เดิมหรือกิจกรรมใหม่เพิ่มเติม - จัดลำดับความสำคัญ (ศบกต./ กสก.) ๑๗
18
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ (ต่อ)
2. รัฐ และ อปท.ร่วมหาแหล่งเงินทุน/ สนับสนุน - วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการลงทุน/ ผลตอบแทน (อปท./กสก.) - จัดทำแผนลงทุน - พิจารณาแหล่งเงินทุนและสนับสนุนกลุ่มอาชีพตามแผน การลงทุน (อปท.) ๑๘
19
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ (ต่อ)
3. อปท.และกลุ่มในชุมชนดำเนินการตามแผนการลงทุน ทางธุรกิจ - กลุ่มดำเนินกิจกรรมตามแผนการลงทุน ที่ได้รับการสนับสนุนจากแหล่งเงินทุน (ศบกต.) - ติดตามและสรุปผล (ศบกต./กสก.) ๑๙
20
ขั้นตอน การเสนอ โครงการ
การขอรับเงินอุดหนุนจาก อปท. ของ ศกบต.(กลุ่มวิสาหกิจชุมชน) ขั้นตอน การเสนอ โครงการ เสนอในช่วงเวลาการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น(แผน 3 ปี) เวทีประชาคม (มค.-มีค.) ศบกต.(กลุ่มวิสาหกิจ) เสนอเข้าแผนพัฒนาการเกษตร (เมย.-พค.) อบต./ เทศบาลบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น (มิย.) อบต./ เทศบาลพิจารณาอนุมัติ(ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี) (กค. – สค.) อบต./ เทศบาลแจ้ง ศบกต. ดำเนินงาน ๒๐
21
การเบิกจ่ายเงินอุดหนุนกลุ่มอาชีพจาก อปท.ของ ศบกต.
(ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ที่ มท /ว 2611 ลว 4 ส.ค. 47 ว่าด้วยการตั้งงบประมาณ รายจ่ายงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของ อปท.) - อปท. แจ้ง ศบกต. รับเช็คกิจกรรมโครงการ - ศบกต.ทำบันทึกข้อตกลง 3 คน รับเช็คเงินสดเข้าบัญชีกองทุน พัฒนาการเกษตรของ ศบกต. แล้วออกใบเสร็จรับเงินให้ อปท. - ศบกต. จ่ายให้กลุ่มอาชีพไปจัดหาปัจจัยนำใบเสร็จมอบ ศบกต. - ศบกต. รายงานผลการใช้เงิน อปท. และรายงานผลการดำเนินงาน (ถ้าเงินเหลือค่อยคืน อปท.) ๒๑
22
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง...
สวัสดี เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง... การเพิ่มทักษะการปฏิบัติงานนายทะเบียนวิสาหกิจชุมชน วันที มี.ค. Bangkok palace Hotel ๒๒
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.