ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJohan Pranoto ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
งบประมาณของโรงเรียน 1. ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รายหัว) 2. อปท. สนับสนุนเพิ่มให้ 3. โรงเรียนได้มาด้วยตนเอง
2
รายหัว 1. ระดับอนุบาล 1,700 บาท/คน/ปี 2. ป.1 – ป.6 1,900 บาท/คน/ปี 3. ม.1 – ม.3 3,500 บาท/คน/ปี 4. ม.4 – ม.6 3,800 บาท/คน/ปี
3
รายหัว 5. ระดับอาชีวศึกษา - สาขา ช่าง 6,500 บาท/คน/ปี - สาขา คหกรรม 5,500 บาท/คน/ปี - สาขา พาณิชยกรรม 4,900 บาท/คน/ปี
4
รายหัว - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน 2551 - มท /ว ลว. 11 มกราคม 2551 - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม 2551
5
รายหัว - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน 2551 - หลักเกณฑ์การจัดทำงบประมาณเงินรายหัวแต่ละระดับ - แนะนำให้ตั้งหมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ
6
รายหัว - มท /ว ลว. 11 มกราคม 2551 - เงินรายหัว จัดสรรให้เป็น “เงินอุดหนุนทั่วไป” - ให้ ผอ.สถานศึกษาคำนวณวงเงินรายหัว แล้วกำหนดรายการค่าใช้จ่าย (โดยอิสระ “ฯลฯ”) ภายในวงเงินที่คำนวณได้ โดยแบ่งวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างเป็น 4 ไตรมาส แล้วเสนอให้ “นายก” อนุมัติ - “นายก” อาจพิจารณามอบอำนาจการจัดซื้อจัดจ้าง
7
รายหัว - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม 2551 - โรงเรียนเสนอรายการค่าใช้จ่ายภายในวงเงินที่คำนวณได้ หากเป็นครุภัณฑ์ ต้องปรากฏในแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ผอ.สำนัก/กองการศึกษา พิจารณาแยกหมวดรายจ่ายตามที่โรงเรียนเสนอ หากเป็นวัสดุ ให้ตั้งในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หากเป็นครุภัณฑ์ ก็ให้ตั้งในหมวดค่าครุภัณฑ์
8
ตัวอย่างการคำนวณเงินรายหัว
จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2551 1. ระดับอนุบาล จำนวน 80 คน ๆ ละ 1,700 บาท 2. ป.1 – ป.6 จำนวน 480 คน ๆ ละ 1,900 บาท 3. ม.1 – ม.3 จำนวน 240 คน ๆ ละ 3,500 บาท 4. ม.4 – ม.6 จำนวน 250 คน ๆ ละ 3,800 บาท รวมเป็นเงิน 2,838,000 บาท
9
อาหารเสริม (นม) - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน 2551 - มท /ว ลว. 25 สิงหาคม 2551 - มท /ว ลว. 29 ตุลาคม 2551 - มท /ว ลว. 13 พฤศจิกายน 2551 - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม 2551
10
อาหารเสริม (นม) - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน 2551 - หลักเกณฑ์การจัดทำงบประมาณค่าอาหารเสริม (นม) ของสถานศึกษาแต่ละสังกัด - แนะนำให้ตั้งหมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ
11
อาหารเสริม (นม) - มท /ว ลว. 25 สิงหาคม 2551 - มติ ครม. ปรับเพิ่มราคากลาง (มีผลนับแต่วันที่ ครม. มีมติเห็นชอบ) - ปรับแผนการจัดหาอาหารเสริม (นม) โดยเด็กต้องได้ ดื่มนมไม่น้อยกว่า 230 วันต่อปี (เป้าหมาย)
12
อาหารเสริม (นม) - มท /ว ลว. 29 ตุลาคม 2551 - ผู้มีสิทธิจำหน่าย จำนวน 68 ราย - นมพาสเจอร์ไรส์ แบ่งโซน จำนวน 3 โซน - นม ยูเอชที ไม่แบ่งโซน - ขอหนังสือรับรองสิทธิการจำหน่ายจากผู้ประกอบการ - ส่งสำเนาสัญญาให้ ท้องถิ่นจังหวัด
13
อาหารเสริม (นม) - มท /ว ลว. 29 ตุลาคม ต่อ - - กรณีจัดซื้อนมโรงเรียนจากผู้ประกอบการไม่ได้ หรือสงสัยว่านมไม่มีคุณภาพ ให้แจ้งต่อประธานอนุกรรมการบริหารโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน (ที่อยู่ ,โทร ) - อปท. จัดซื้อตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การพัสดุ ตามราคากลางที่กำหนด
14
อาหารเสริม (นม) - มท /ว ลว. 13 พฤศจิกายน 2551 - แจ้งตัวอย่างหนังสือรับรองสิทธิการจำหน่ายนม ในโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ภาคเรียนที่ 2/2551
15
อาหารเสริม (นม) - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม 2551 - อปท. สามารถนำเงินรายได้มาสมทบในส่วนที่เพิ่มตามมติคณะรัฐมนตรีได้ หากไม่มีงบประมาณสมทบก็ให้ปรับลดจำนวนวันในช่วงปิดภาคเรียน แต่ต้องไม่น้อยกว่า 230 วัน - การสมทบดังกล่าว ให้โอนจากรายการอื่นที่ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ หรือรายการที่ใช้แล้วมีเงินเหลือ
16
อาหารเสริม (นม) - เป้าหมายโครงการอาหารเสริม (นม) - เด็กเล็ก เด็กอนุบาล เด็กป.1 – ป.4 - จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน - จำนวนวัน ตามหนังสือซักซ้อม
17
อาหารเสริม (นม) ร.ร. สพฐ. /ร.ร. อปท. (จำนวน 264 วัน) * กรมสามัญศึกษา (ร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ /ศึกษาพิเศษ) * กรมการศึกษานอกโรงเรียน (ร.ร.พื้นที่ราบสูง) * กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (ศูนย์รับเลี้ยงเด็กของกรมประชาสงเคราะห์ เดิม) * ศูนย์เด็กเล็ก (พช. /เด็ก 3 ขวบสปช. /ศาสนา)
18
อาหารเสริม (นม) ร.ร. สพฐ. /ร.ร. อปท. (จำนวน 264 วัน) - เปิดเรียน 200 วัน (ภาคเรียนละ 100 วัน) - ปิดเทอม 64 วัน - ภาคเรียนตุลาคม 20 วัน - ภาคเรียนมีนาคม 64 วัน
19
อาหารกลางวัน - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน 2551 - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม 2551
20
อาหารกลางวัน - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน 2551 - หลักเกณฑ์การจัดทำงบประมาณค่าอาหารกลางวัน ของสถานศึกษาแต่ละสังกัด - สถานศึกษาในสังกัดอปท. แนะนำให้ตั้งในหมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ - สถานศึกษาของหน่วยงานอื่น แนะนำให้ตั้งในหมวด เงินอุดหนุน
21
อาหารกลางวัน - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน ต่อ - - อัตราคนละ 10 บาท ไม่ใช่ราคากลางในการจัดซื้อจัดจ้าง แต่เป็นราคาจัดสรร - จัดสรรอัตรา 60 % สำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ เด็กที่มีฐานะยากจน หรือเด็กด้อยโอกาสที่โรงเรียนเห็นสมควร - ค่าอาหารกลางวันสำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของกรมการศาสนา ให้จัดตั้งในหมวดเงินอุดหนุน
22
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1. กรมการศาสนา ถ่ายโอนเฉพาะงบประมาณ 2. เด็ก 3 ขวบ สปช. (สพฐ.) ถ่ายโอนภารกิจ /เงิน /ผดด. 3. กรมการพัฒนาชุมชน ถ่ายโอนภารกิจ /เงิน /ผดด. /ทรัพย์สิน
23
อาหารกลางวัน - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม 2551 - ครม. เห็นชอบในหลักการปรับเพิ่มค่าอาหารกลางวันเด็กนักเรียน จากอัตราคนละ 10 บาทต่อวัน เป็นอัตราคนละ 13 บาทต่อวัน - อปท. สามารถนำเงินรายได้มาสมทบในส่วนที่เพิ่มตามมติคณะรัฐมนตรีได้ สำหรับสถานศึกษาในสังกัด
24
อาหารกลางวัน - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม ต่อ - - สถานศึกษาของหน่วยงานอื่น ต้องให้สถานศึกษานั้น ๆ เสนอโครงการขอรับการสนับสนุนในส่วนที่เพิ่มตามมติ ครม. โดยให้ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท /ว ลงวันที่ 4 สิงหาคม 2547 - อปท. สามารถนำเงินรายได้มาสมทบในส่วนที่เพิ่มตามมติคณะรัฐมนตรีได้ โดยให้โอนจากรายการอื่นที่ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ หรือรายการที่ใช้แล้วมีเงินเหลือ
25
อาหารกลางวัน - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม ต่อ - - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของกรมการศาสนา เป็นการถ่ายโอนเฉพาะงบประมาณ จึงไม่ใช้สถานศึกษาในสังกัดของ อปท.
26
อาหารกลางวัน - เป้าหมายโครงการอาหารกลางวัน - เด็กเล็ก เด็กอนุบาล เด็กป.1 – ป.6 - จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน - อัตราเด็กคนละ 10 บาท - จำนวนวัน ตามหนังสือซักซ้อม
27
หลักเกณฑ์เงินอุดหนุน
อาหารกลางวัน สพฐ. อปท. สังกัดอื่น ๆ หลักเกณฑ์ - คนละ 10 บาท 200 วัน - โรงเรียนที่มีเด็กตั้งแต่ คนขึ้นไป ได้รับ 60 % - โรงเรียนที่มีเด็กตั้งแต่ 120 คนลงมา ได้รับ 100 % - โรงเรียนที่อยู่ในโครงการพระราชดำริ ได้รับ 100 % - โรงเรียนในพื้นที่ 3 จว. ภาคใต้ และ 4 อำเภอ ของ จ.สงขลา ได้รับ 100 % หลักเกณฑ์ - คนละ 10 บาท 200 วัน - โรงเรียนที่มีเด็กตั้งแต่ คนขึ้นไป ได้รับ 60 % - โรงเรียนที่มีเด็กตั้งแต่ 120 คนลงมา ได้รับ 100 % - โรงเรียนในพื้นที่ 3 จว. ภาคใต้ และ 4 อำเภอ ของ จ.สงขลา ได้รับ 100 % หลักเกณฑ์ - คนละ 10 บาท - ได้รับ 100 % ทุกสังกัด - ร.ร. ตชด วัน - ศูนย์เด็กเล็ก 200 วัน - ศูนย์รับเลี้ยงเด็กของกรมประชาสงเคราะห์ 264 วัน - ร.ร. กศน.(ศึกษาพิเศษ , ศึกษาสงเคราะห์) 264 วัน
28
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน 2551 - มท /ว ลว. 8 กรกฎาคม 2551 - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม 2551
29
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - มท /ว ลว. 23 มิถุนายน 2551 - หลักเกณฑ์การจัดทำงบประมาณสำหรับศูนย์เด็กเล็ก (1) ค่าจ้างและเงินเพิ่มค่าครองชีพ (2) เงินประกันสังคม (3) ค่าวัสดุการศึกษา (4) ค่าพาหนะนำเด็กส่งสถานพยาบาล (5) ทุนการศึกษาสำหรับผู้ดูแลเด็ก
30
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - มท /ว ลว. 8 กรกฎาคม 2551 - พิจารณา ผดด. คนเดิม เป็นลำดับแรก (ประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดี ก็ให้ต่อสัญญาจ้างได้) - ตรวจสอบคุณสมบัติ ผดด. ทั่วไป เป็น ผดด. ภารกิจ เสนอให้ ก.จังหวัดพิจารณาเห็นชอบ - เร่งรัดแต่งตั้งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - คัดเลือก ผดด. เรียนต่อปริญญาตรี - หากมีการร้องเรียน เรื่องข้างต้น ให้จังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงและพิจารณาดำเนินการตามอำนาจหน้าที่
31
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม 2551 - ค่าจ้างและเงินเพิ่มค่าครองชีพ (1) หัวหน้าศูนย์ วุฒิปริญญาตรี ได้รับเดือนละ 9,440 บาท (7, ,500) (2) ผดด. จ้างภารกิจ (ทุกอัตราตามบัญชีรายชื่อของสถ. ยกเว้นอัตราหัวหน้าศูนย์) ได้รับเดือนละ 8,200 บาท (5, ,440)
32
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม ต่อ - - เงินประกันสังคม (5 % ของค่าจ้างรวมเงินเพิ่มค่าครองชีพ) (1) สถ. โอนเงินอุดหนุนทั่วไป 5 % ในส่วนของลูกจ้าง (2) ในส่วนของนายจ้าง (อปท.) ให้จ่ายจากเงินรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
33
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - มท /ว ลว. 11 ธันวาคม ต่อ - - วัสดุการศึกษา (เด็กคนละ 600 บาท/ปี) - ค่าพาหนะนำเด็กส่งสถานพยาบาล (เด็กคนละ 10 บาท/ปี) - ทุนการศึกษา (ศูนย์ละ 1 ทุน ๆ ละ 40,000 บาท)
34
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
- มท /ว ลว. 7 กรกฎาคม 2551 - อบจ. หรือ อบต. ที่มีโรงเรียนในสังกัด สามารถแต่งตั้ง ผู้อำนวยการกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เฉพาะในส่วนที่เป็นเงินอุดหนุนจากรัฐให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการพัสดุในกองการศึกษา เป็นเจ้าหน้าที่พัสดุ เฉพาะในส่วนที่เป็นเงินอุดหนุนจากรัฐให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
35
ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ
ข้อ 8 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระที่จะนำเงินอุดหนุนทั่วไปที่ได้รับการจัดสรรไปใช้จ่ายตามอำนาจหน้าที่ ได้ตามที่เห็นสมควร โดยไม่จำเป็นต้องดำเนินการภายในวงเงิน ที่ได้รับการจัดสรรแต่ละข้อ ทั้งนี้ เนื่องจากเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปที่จัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการบริหารการใช้จ่าย
36
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ปี 2552 (ด้านการศึกษา)
1. เงินเดือนครูถ่ายโอน (สมัครใจ) + วิทยฐานะ 2. ค่ารักษาพยาบาล 3. ค่าเช่าบ้าน 4. เงินบำเหน็จ บำนาญ ฯ 5. ค่าก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบ 6. ค่าครุภัณฑ์การศึกษา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.