งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 14 พัลส์เทคนิค 31052002.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 14 พัลส์เทคนิค 31052002."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 14 พัลส์เทคนิค

2 1. โครงสร้างและส่วนประกอบของ ไอซี เบอร์ 555
2. วงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ โดยใช้ไอซี เบอร์ 555 3. วงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ โดยใช้ไอซี เบอร์ 555 4. ตัวอย่างวงจรใช้งานไอซี เบอร์ 555

3 1. อธิบายโครงสร้างและส่วนประกอบของ ไอซี เบอร์ 555
2. อธิบายหลักการทำงานของวงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ โดยใช้ไอซี เบอร์ 555 ได้ 3. อธิบายหลักการทำงานของวงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ โดยใช้ไอซี เบอร์ 555 ได้ 4. ยกตัวอย่างวงจรใช้งานโดยใช้ไอซีเบอร์ 555 ได้

4 ส่วนประกอบวงจร (Schematic Diagram ) ของไอซี เบอร์ 555
ส่วนประกอบภายใน (Internal) ของตัวไอซีเบอร์ 555

5 รูปร่างและตำแหน่งขาของ ไอซี เบอร์ 555

6 ขา 1 กราวด์ ( Ground ) ขา 2 ทริกเกอร์ ( Trigger ) ขา 3 เอาต์พุต (Output) ขา 4 รีเซต (Reset) ขา 5 ขาควบคุมแรงดัน (Control Voltage) ขา 6 เทรสโฮส (Threshold) ขา 7 ดิสชาร์จ (discharge) ขา 8 ไฟเลี้ยง ( )

7 1. โมโนสเตเบิล (Monostable)
2. อะสเตเบิล (Astable) 3. ไบสเตเบิล (Bistable)

8 โมโนสเตเบิล (Monostable) ในโหมดนี้ การทำงานของ 555 จะเป็นแบบซิงเกิ้ลช็อต หรือวันช็อต
(one-shot) โดยการสร้างสัญญาณครั้งเดียว ประยุกต์การใช้งานสำหรับการนับเวลา การตรวจสอบพัลส์ สวิตช์สัมผัส ฯลฯ

9 อะสเตเบิล (Astable) ในโหมดนี้ การทำงานจะเป็นออสซิลเลเตอร์ การใช้งาน ได้แก่ ทำไฟกระพริบกำเนิดพัลส์, กำเนิดเสียง, เตือนภัย ฯลฯ

10 ไบสเตเบิล (Bistable) ในโหมดนี้ ไอซี สามารถทำงานเป็นฟลิปฟลอป (flip-flop) ถ้าไม่ต่อขา DIS และไม่ใช้คาปาซิเตอร์ ใช้เป็นสวิตช์ bouncefree latched switches เป็นต้น

11 ไอซี เบอร์ 555 นิยมใช้งานเป็นวงจรกำเนิดสัญญาณสี่เหลี่ยม และใช้เป็นไอซีตั้งเวลา การนำไอซี เบอร์ ไปใช้งานจะใช้งาน 2 รูปแบบคือ โมโนสเตเบิล (monostable) อะสเตเบิล (Astable)

12 วงจรโมโนสเตเบิล เป็นวงจรมัลติไวเบรเตอร์ แบบหนึ่งซึ่งมีสถานการณ์ทำงาน 1 ครั้ง หรือบางครั้งเรียกว่า One Short Circuits หมายถึงทุกครั้งที่มีการกระตุ้นจากสัญญาณภายนอก สถานะการทำงานของวงจรจะเปลี่ยนไป แต่เพียงช่วงเวลาหนึ่งสถานะการทำงานจะกลับสู่สภาวะเดิม ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับค่า R C

13

14

15

16

17

18

19 การคำนวณหาค่าความถี่ และสัดส่วนความกว้างของรูปสัญญาณในส่วนที่มีพัลส์ (High) และส่วนที่ไม่มีพัลส์ (Low ) ของสัญญาณเอาต์พุต (Duty Cycle) ของวงจรอะสเตเบิล สามารถหาได้ดังนี้

20

21

22

23

24 วงจรเครื่องดนตรีเสียงออร์แกน

25 วงจรกริ่งประตู 2 เสียง

26 วงจรเสียงไซเรนยุโรป

27 IC เบอร์ 555 เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ เช่น สัญญาณ Square Wave, สัญญาณพัลส์ สัญญาณ ramp และวงจรตั้งเวลา ไอซีเบอร์ 555 เป็นอุปกรณ์วงจรรวมที่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ อยู่ภายใน และมีส่วนที่ต้อง ต่อภายนอกเพื่อควบคุมการทำงาน และใช้งานเป็นลักษณะต่างๆ ซึ่งง่ายต่อการออกแบบ และง่ายในการสร้างสัญญาณพัลส์ความถี่ต่าง ๆ อีกทั้งสามารถเข้าใจการทำงานได้ง่าย


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 14 พัลส์เทคนิค 31052002.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google