ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยLeander Siegel ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการยศาสตร์
เรื่อง ผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สนับสนุนโดย สำนักงานประกันสังคม
2
วัตถุประสงค์ ระบุโรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจากการทำงานผิดหลัก การยศาสตร์ได้ บอกปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจาก การทำงานผิดหลักการยศาสตร์ได้ บอกอาการแสดงเบื้องต้นของโรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจาก การทำงานผิดหลักการยศาสตร์ได้ อธิบายแนวทางป้องกันโรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจาก การทำงานผิดหลักการยศาสตร์ได้
3
การทดสอบความรู้ก่อนเรียน
4
ภาพออกแบบงานไม่ดี
5
โรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์ ที่สำคัญ
1) การบาดเจ็บสะสมของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก โครงร่าง เช่น อาการปวดหลัง ปวดคอปวดไหล่
6
ปวดหลัง (LOW BACK PAIN)
7
อาการ ปวดตรงกลางหลังส่วนล่าง (ตรงบริเวณกระเบนเหน็บ) ซึ่งอาจ เกิดขึ้นเฉียบพลันหรือค่อยเป็นทีละน้อย อาการปวดอาจเป็นอยู่ตลอดเวลา หรือปวดเฉพาะในท่าบางท่า การไอ จาม หรือบิดตัว เอี้ยวตัวอาจทำให้รู้สึกปวดมากขึ้น โดยทั่วไปผู้ป่วยจะแข็งแรงดี และไม่มีอาการผิดปกติอื่น ๆ ร่วมด้วย
8
อาการปวดหลัง อาการปวดหลัง กล้ามเนื้อหลัง แผ่นกลม เส้นประสาท
แนวกระดูก สันหลัง แผ่นกลม เส้นประสาท กระดูกสันหลัง กระดูก กระแบนเหน็บ อาการปวดหลัง อาการปวดหลัง
9
ท่าที่ผิด ท่าที่ถูกต้อง
10
ปวดคอ ลำคอเป็นอวัยวะที่มีการเคลื่อนไหวก้มเงยเอี้ยวหมุนอยู่ตลอดเวลา จึงเป็นจุดอ่อนที่จะเกิดอันตรายได้ง่าย อาการปวดคอมักเกิดจาก การใช้อิริยาบถท่าทางที่ไม่เหมาะสม ทำให้กล้ามเนื้อคออักเสบหรือกล้ามเนื้อเคล็ด การเกิดอุบัติเหตุที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวคอทันที ความเครียด ทำให้กล้ามเนื้อหดเกร็งมากและนาน จึงเกิดอาการปวดต้นคอ
11
อาการปวดคอจากการบาดเจ็บสะสมของกล้ามเนื้อคอ
กล้ามเนื้อคอส่วนที่มักมีอาการปวด อาการปวดคอจากการบาดเจ็บสะสมของกล้ามเนื้อคอ กล้ามเนื้อคอส่วนที่มักมี อาการปวด ด้านหน้า ด้านหลัง
12
ปวดคอ ถ้าเป็นอาการปวดคอที่เกิดจากสาเหตุไม่ร้ายแรง อาการมักจะดีขึ้น ภายใน วัน แต่หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรงคือปวดคอร่วมกับอาการต่อไปนี้ ควรปรึกษาแพทย์ ปวดร้าวไปที่ไหล่ แขน โดยอาจมีอาการชาหรือกล้ามเนื้อมืออ่อนแรงร่วมด้วย มีอาการอ่อนแรงของขา รู้สึกขาสั่นหรือกระตุก เดินแล้วจะล้ม กลั้นอุจจาระหรือปัสสาวะไม่ได้ อาการไม่ดีขึ้นหรือปวดคอเพิ่มมากขึ้น
13
ปวดคอ การป้องกัน - ระวังรักษาอิริยาบถให้ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการก้มเงยคอนานเกินไป หรือบ่อยเกินไป - ควรหยุดพักเป็นช่วง ๆ เพื่อบริหารกล้ามเนื้อคอ หรือขยับเคลื่อนไหวคอ จัดสภาพการทำงานให้เหมาะสม มีการเปลี่ยนอิริยาบถเป็นระยะ ลดความเครียด
14
ปวดไหล่ อาการปวดไหล่เกิดได้จากหลายสาเหตุ ในวัยทำงาน อาการปวดไหล่มักมีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อไหล่ทำงานอย่างมาก ทำให้มีการเสียดสีและอักเสบของเอ็นและกล้ามเนื้อบริเวณรอบ ๆ ข้อไหล่ โดยเฉพาะลักษณะงานที่ต้องมีการกางแขน ยกแขนสูงบ่อย ๆ
15
Thoracic Outlet Syndrome, Bursitis and Rotator cuff syndrome
16
ข้อไหล่ที่อักเสบและ มีการหนาตัวของ เยื่อหุ้มข้อ
ผู้ป่วยข้อไหล่ติดจะปวดไหล่มากเมื่อยกมือเอื้อมไปด้านหลัง ข้อไหล่ที่อักเสบและ มีการหนาตัวของ เยื่อหุ้มข้อ การอักเสบและใยพังผืดที่มาเกาะบริเวณข้อไหล่ ทำให้ข้อไหล่ติดและเคลื่อนไหวได้ลำบาก
17
โรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์ ที่สำคัญ (ต่อ)
การบาดเจ็บสะสมของเส้นเอ็นและปลอกหุ้มเส้นเอ็น เช่น เส้นเอ็นข้อศอกอักเสบ ปลอกหุ้มเอ็นนิ้วหัวแม่มืออักเสบ โรคนิ้วไกปืนและถุงน้ำแกงเกลียน
18
เส้นเอ็นข้อศอกอักเสบ (Tennis Elbow ,lateral epicondylitis)
18
19
Tennis Elbow (lateral epicondylitis)
การอักเสบของเนื้อเยื่อข้อศอกด้านนิ้วหัวแม่มือ เกิดจาก งานที่ต้องหมุน ฝ่ามือปลายแขน เพื่อต้านกับแรงต้านทาน หรือการออกแรงอย่างรุนแรงซ้ำ ๆ เช่น การใช้ไขควง
20
การตรวจวินิจฉัยอาการเส้นเอ็นข้อศอกด้านนอกอักเสบ
21
การรักษา หากสงสัย ควรส่งโรงพยาบาล อาจต้องวินิจฉัยด้วยการตรวจ การทำงานของกล้ามเนื้อด้วยเครื่องไฟฟ้า (Electromyography) - ถ้าเป็นเพียงเล็กน้อย อาจให้กินยาแก้ปวด ยาต้านอักเสบ และ ใส่เฝือกชั่วคราวเวลาเข้านอน บางรายอาจต้องฉีด สเตอรอยด์ เข้าที่ข้อมือข้างที่ปวด - ถ้าเป็นมาก อาจต้องผ่าตัด (โดยตัดแผ่นพังผืดที่บีบรัด เส้นประสาท)
22
ปลอกเอ็นอักเสบ (Tenosynovitis)
ปลอกเอ็นที่ข้อมือและนิ้วจะปวด อักเสบ บวม มีเสียงแตก สูญเสียการทำหน้าที่ เกิดจากการเคลื่อนไหวซ้ำซาก ข้อมืออยู่ในตำแหน่งที่ไม่ถนัด การออกแบบเครื่องมือหรือหน่วยที่ทำงานไม่ดี
23
ปลอกเอ็นที่นิ้วหัวแม่มืออักเสบ (De Quervain Tendinitis)
แผลเป็นของปลอกเอ็นที่นิ้วหัวแม่มือจะจำกัดการเคลื่อนไหวของนิ้วหัวแม่มือ
24
การระคายเคืองของเส้นเอ็น 2 เส้น จากการทำงานซ้ำซาก ทำให้เกิดโรค ปลอกหุ้มเส้นเอ็นนิ้วหัวแม่มืออักเสบ
25
เส้นเอ็นอักเสบแบบนิ้วไกปืน
(Trigger Finger Syndrome) - เป็นรูปแบบหนึ่งของเอ็นอักเสบ - เกิดจากการเกร็งนิ้วมือซ้ำ ๆ ต้านกับแรงสั่นสะเทือน เอ็นที่นิ้วมือจะเกิดการอักเสบ เจ็บปวด บวม เคลื่อนไหวสะดุด
26
เส้นเอ็นที่บวม หนาตัวขึ้น นิ้วมือจะงอ ไม่สามารถ เหยียดออกเองได้
เส้นเอ็นอักเสบแบบนิ้วไกปืน มักจะเกิดกับผู้ที่ใช้มือทำงานในลักษณะกำบีบอย่างแรงหรือเกร็งนิ้วจับเครื่องมือบ่อย ๆ
27
Ganglions (cysts) of the Wrist
ก้อนถุงน้ำที่ข้อมือ Ganglions (cysts) of the Wrist เนื้องอกของปลอกเอ็นหรือข้อต่อ เป็นก้อนนูนบนข้อมือ เกิดจากการบาดเจ็บสะสม การเคลื่อนไหวซ้ำซาก
28
โรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์ ที่สำคัญ (ต่อ)
การบาดเจ็บเกี่ยวเนื่องกับเส้นประสาท เช่น กลุ่ม อาการเส้นประสาทถูกกดทับที่ข้อมือ และกลุ่มอาการของเส้นประสาทอัลน่าร์ถูกกดทับบริเวณที่ข้อศอก
29
เส้นประสาทมือถูกพังผืดรัดแน่น (Carpal Tunnel Syndrome, CTS)
ลักษณะทั่วไป เนื้อเยื่อภายในช่องคาร์พัลทูนเนล (ช่องใต้กระดูกข้อมือ) เกิด การบวม ทำให้เส้นประสาทมีเดียน ถูกบีบรัด มีอาการปวด ชาที่ปลายมือ เรียกว่า “โรคคาร์พัลทูนเนล” โรคนี้พบได้ ค่อนข้างบ่อย พบมากในผู้หญิงอายุ ปี หญิง ตั้งครรภ์ คนอ้วน
30
เส้นประสาท มีเดียน กลุ่มอาการเส้นประสาทถูกกดทับที่ข้อมือ เส้นประสาทมีเดียนที่ถูกบีบรัดทำให้ชาบริเวณฝ่ามือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง และครึ่งหนึ่งของนิ้วนาง
31
สาเหตุ 1. การใช้งานของมือและตำแหน่งของข้อมือ ใช้มือท่าเดียว นาน ๆ ข้อมืออยู่ในตำแหน่งที่กระดกขึ้นหรืองอลงมาก ๆ เช่น การพิมพ์ดีด ใช้มือเย็บผ้า เล่นเครื่องดนตรี กวาดบ้าน การจับแฮนของรถจักรยานยนต์ ฯลฯ 2. อาจพบร่วมกับโรคอื่น ๆ เช่น เบาหวาน พิษสุราเรื้อรัง รูมาตอยด์ เกาต์ กระดูกข้อมือหักหรือกระดูกข้อมือที่ติดผิดรูป เส้นเอ็นอักเสบ การติดเชื้อ 3. สภาพของร่างกายที่เปลี่ยนแปลง เช่น อ้วน ตั้งครรภ์ หลังคลอดบุตรหรือได้รับยาคุมกำเนิด
32
อาการ - ปวดแสบปวดร้อนหรือรู้สึกชาเป็นพัก ๆ ที่มือ (โดยเฉพาะที่นิ้วโป้ง นิ้วชี้ และนิ้วกลาง) บางครั้งอาจปวดร้าวขึ้นไปที่แขนหรือหัวไหล่ - อาการปวดมักจะเป็นมากตอนกลางคืนหรือตอนเช้ามืด บางคนเมื่อได้ห้อยข้อมือตรงขอบเตียง และสะบัดมือ จะรู้สึกทุเลาได้ ถ้าเป็นมาก อาจทำให้นิ้วหัวแม่โป้งและนิ้วอื่น ๆ ชาและอ่อนแรงได้ อาการอาจเกิดที่มือข้างเดียว หรือ 2 ข้างก็ได้ หากปล่อยทิ้งไว้นาน ๆ อาจทำให้กล้ามเนื้อมือฝ่อ ฝ่ามือแบนราบลงกว่าปกติ
33
โรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์ ที่สำคัญ (ต่อ)
การบาดเจ็บเกี่ยวเนื่องกับการไหลเวียนโลหิต เช่น กลุ่มอาการผิดปกติจากความสั่นสะเทือนเฉพาะมือและแขน และกลุ่มอาการผิดปกติจากการใช้กล้ามเนื้อมือแทนค้อน
34
hand arm vibration syndrome
นิ้วมือซีดขาว ชา เจ็บปวด กล้ามเนื้อนิ้วมืออ่อนแรง เกิดจากการใช้เครื่องมือที่ก่อให้เกิดความสั่นสะเทือนที่มือและนิ้ว ( Hz)
35
ผู้ป่วยนิ้วมือซีดขาวขั้นรุนแรง มีภาวะเนื้อตาย (Gangrene)
hand arm vibration syndrome
36
ภาวะเส้นเลือดอัลน่าร์อุดตันในผู้ป่วยกลุ่มอาการผิดปกติจากการใช้กล้ามเนื้อมือแทนค้อน
37
สภาพมือของผู้ป่วยกลุ่มอาการผิดปกติจากการใช้กล้ามเนื้อมือแทนค้อนหลังการผ่าตัด
38
โรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์ ที่สำคัญ (ต่อ)
ผลกระทบอื่น ๆ เช่น ความเครียด เมื่อยล้าสายตา
39
ดีวีดี โรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์
40
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์ :
1) การทำงานซ้ำซาก มีการเคลื่อนไหวซ้ำ ๆ บ่อย ๆ 2) กิจกรรมที่ต้องใช้แรงมาก 3) กิจกรรมที่ยาวนาน 4) ท่าทางที่ไม่เหมาะสม 5) การทำงานแบบสถิต เช่น การยกของค้างไว้นานๆ 6) การกดเฉพาะที่ เช่น เครื่องมือที่มีสันคม 7) สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ไม่เหมาะสม เช่น อุณหภูมิที่ร้อนหรือเย็นเกินไป ความสั่นสะเทือน
41
อาการแสดงเบื้องต้นของโรคหรือกลุ่มอาการ ผิดปกติจากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์ :
รู้สึกแปลบ ๆ หรือชาเป็นพัก ๆ ที่นิ้วมือและมือ ปวดที่นิ้วมือ มือ และข้อมือบางครั้งอาจปวดร้าวขึ้นไปที่แขนหรือหัวไหล่ กล้ามเนื้อมืออ่อนแรงลง หรือมีปัญหาในการทำงานประสานสัมพันธ์ของมือ อาการปวดหรือชามักจะเป็นมากตอนกลางคืนหรือตอนเช้ามืด
42
แนวทางป้องกันโรคหรือกลุ่มอาการผิดปกติ จากการทำงานผิดหลักการยศาสตร์:
1) การใช้ท่าทางให้ถูกวิธี 2) ลดปริมาณแรงที่ต้องใช้ 3) ใช้วิธีการหยิบจับที่เหมาะสม 4) มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนงาน 5) ลดการเคลื่อนไหวซ้ำซาก 6) ปรับปรุงสภาพการทำงานและ สภาพแวดล้อม
43
การใช้อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support) ขณะทำงานเป็นสิ่งที่ถูกต้องหรือไม่
44
ปัญหาความเครียดจากการทำงาน
สภาวะจิตใจและร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นผลจากการที่บุคคลต้องปรับตัวต่อสิ่งกระตุ้นหรือสิ่งเร้าต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมที่กดดันหรือคุกคามให้เกิดความทุกข์ ความไม่สบายใจ
45
ดีวีดี แนวทางป้องกันและผ่อนคลายความเครียดจากการทำงาน
46
การทดสอบความรู้หลังเรียน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.