ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทำบัญชี
3
ความหมาย การบัญชี (Accounting) เป็นศิลปะของการจดบันทึกรายการ หรือเหตุการณ์และรายการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องไว้ในรู้ของเงินตรา จัด หมวดหมู่รายการเหล่านั้น ทำการสรุปผลรวมทั้งตีความหมายขอผล นั้น
4
วัตถุประสงค์ของการบัญชี
1. เพื่อจดบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเรียง ตามลำดับก่อนหลัง และจำแนกประเภทของ รายการค้าไว้อย่างสมบูรณ์ 2. เพื่อให้จดบันทึกรายการค้าถูกต้องตามหลักการ บัญชีและตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี
5
ช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถควบคุมงานอย่างใกล้ชิด
ประโยชน์ของการบัญชี ช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถควบคุมงานอย่างใกล้ชิด ช่วยให้ทราบผลการดำเนินงานของกิจการ ในระยะเวลาใด เวลาหนึ่ง ช่วยให้ทราบฐานะการเงินของกิจการ ในระยะเวลาใดเวลา หนึ่ง
6
ประโยชน์ของการบัญชี 5 . ช่วยในการตรวจสอบหาข้อผิดพลาด
4. ช่วยในการบริหารงาน และให้ข้อมูลอันเป็น ประโยชน์ในการวางแผนการดำเนินงาน 5 . ช่วยในการตรวจสอบหาข้อผิดพลาด 6. ช่วยในการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจต่างๆ ของธุรกิจ 7. ผู้ลงทุนซื้อหุ้นจะอาศัยข้อมูลทางการบัญชีตัดสินใจใน การลงทุน
7
หลักการเขียนตัวเลข ตัวอย่าง นิยมเขียนเป็นตัว อารบิค
เขียนตัวเลข3 หลักขึ้นไป ให้ใส่เครื่องหมาย , (จุลภาค) การเขียนตัวเลขลงในช่องจำนวนเงิน ให้เขียนหลักหน่วย ของจำนวนบาทชิดเส้นแบ่งช่องบาทและสตางค์เสมอ จำนวนสตางค์ให้เขียนลงในช่องสตางค์ ถ้าไม่มีเศษสตางค์ ให้ใช้เครื่องแบบ " - " หรือเขียน 00 ก็ได้ ตัวอย่าง จำนวนเงิน บ า ท ส ต 1 2, 3 - 5
8
หลักการเขียนวันเดือนปี
ถ้าอยู่ในหน้าเดียวกันเขียน พ.ศ. ครั้งเดียวในช่องพ.ศ. ของทุกหน้า เดือน นิยมเขียนย่อ ของแต่ละเดือน วัน ให้เขียนวันที่เรียงตามลำดับเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นก่อนหลัง ตัวอย่าง พ.ศ. 2540 เดือน วัน ก.พ. 1 3 5
9
สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ (ทุน)
สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ (ทุน)
10
สินทรัพย์ (Assets) ความหมาย ป็นต้น
สิ่งที่มีตัวตนและไม่มีตัวตนมีมูลค่าเป็นตัวเงินมี บุคคลหรือกิจการค้าเป็นเจ้าของ เช่น เงินสด ลูกหนี้ ค่าความ นิยม ลิขสิทธิ์ รถยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์ บ้าน และที่ดิน ป็นต้น
11
ประเภทของสินทรัพย์ (Assets)
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) 2. ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ (Property Plant and Equipment) 3. สินทรัพย์อื่น (Other Assets Sundry Assets)
12
หนี้สิน (Liability) ความหมาย หมายถึง จำนวนเงินที่กิจการเป็นหนี้บุคคล อื่นหรือพันธะอันเกิดจากรายการค้า การกู้ยืมหรือเกิดจาก การอื่น ซึ่งจะต้องชำระคืนในภายหน้าด้วยสินทรัพย์ หรือ บริการ
13
ประเภทของหนี้สิน (Liability)
แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) 2. หนี้สินระยะยาว หรือหนี้สินอื่นๆ (Long term or other Liabilities)
14
ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity )
ความหมาย ส่วนของเจ้าของ(Owner’s Equity) ตามคำนิยาม หมายถึง ส่วยได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจาก หักหนี้สินออกแล้ว เป็นสินทรัพย์สุทธิ (Net Assets) ของ กิจการ
15
สมการบัญชี (Accounting Equation)
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ Assets = Liability + Owner’s Equity A = L OE
16
การวิเคราะห์รายการค้า Transaction Analysis
17
ความหมายของการวิเคราะห์รายการค้า
การพิจารณาว่ารายการค้าที่เกิดขึ้น มีผลทำให้ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงเป็น จำนวนเท่าใด บันทึกลงในสมุดบัญชีต่าง ๆ
18
หลักในการวิเคราะห์รายการค้า
หมวดหมู่บัญชี เพิ่ม (+) ลด (-) สินทรัพย์ เดบิต เครดิต 2. หนี้สิน 3. ทุน 4. รายได้ 5. ค่าใช้จ่าย
19
หลักการบันทึกบัญชีคู่ (Double Entry System)
เดบิต (Dr.) = เครดิต (Cr.) เสมอ
20
สมุดรายวันทั่วไป (General Journal)
21
ความหมายและประเภทของสมุดรายวันขั้นต้น
คือ สมุดบัญชีเล่มแรกที่ใช้บันทึกรายการ ค้าที่เกิดขึ้นตามลำดับก่อน – หลัง ผ่านรายการ(Post) สมุดบัญชีแยกประเภท
22
สมุดรายวันขั้นต้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) 2.สมุดรายวันทั่วไป
23
สมุดรายวันทั่วไป การบันทึกรายการค้า เมื่อมีรายการค้าเกิดขึ้น จะต้องทำการวิเคราะห์ รายการค้าและนำไปบันทึกลงในสมุดรายวันทั่วไป ประกอบด้วย รายการเปิดบัญชี รายการที่เกิดขึ้นในระหว่างเดือน
24
สมุดรายวันทั่วไป รายการเปิดบัญชี มีการลงทุนครั้งแรก มี 3 กรณี
มีการลงทุนครั้งแรก มี 3 กรณี กรณี 1 นำเงินสดมาลงทุน กรณี 2 นำเงินสดและสินทรัพย์อื่นมาลงทุน กรณี 3 นำเงินสด สินทรัพย์อื่น และหนี้สินมาลงทุน 2. เริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ (งวดบัญชีใหม่)
25
บัญชีแยกประเภท (general Lecger)
26
สมุดบัญชีแยกประเภท แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1. สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) 2. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger)
27
แบบบัญชีแยกประเภททั่วไป แบบบัญชีแยกประเภทย่อย
สมุดบัญชีแยกประเภท รูปแบบของบัญชีแยกประเภท แบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (แบบมาตรฐาน) แบบบัญชีแยกประเภทย่อย (แบบแสดงยอดดุล)
28
หลักการบันทึกบัญชีแยกประเภท
1. ให้นำชื่อบัญชีที่เดบิตในสมุดรายวันทั่วไป มาตั้งเป็นชื่อ บัญชีแยกประเภท และบันทึกรายการทางด้านเดบิตโดย 1.1 เขียนช่อง วัน เดือน ปี ตามที่ปรากฏในสมุด รายวันทั่วไป 1.2 เขียนชื่อบัญชีที่เครดิตลงในช่องรายการ 1.3 เขียนจำนวนเงินลงในช่องเดบิต
29
การจัดหมวดหมู่ และการกำหนดเลขที่บัญชี
การจัดหมวดหมู่ และการกำหนดเลขที่บัญชี การจัดหมวดหมู่ของบัญชี แบ่งเป็น 5 หมวด ได้แก่ 1. หมวดสินทรัพย์ 2. หมวดหนี้สิน 3. หมวดส่วนของเจ้าของ (ทุน) 4. หมวดรายได้ 5. หมวดค่าใช้จ่าย
30
หลักการบันทึกบัญชีแยกประเภท
2. ให้นำบัญชีที่เครดิตในสมุดรายวันทั่วไป มาตั้งเป็นเป็น ชื่อบัญชีแยกประเภท และบันทึกไว้ทางด้านเครดิตโดย 2.1 เขียนช่อง วัน เดือน ปี ตามที่ปรากฏใน สมุดรายวันทั่วไป 2.2 เขียนชื่อบัญชีที่เดบิตลงในช่องรายการ 2.3 เขียนจำนวยเงินลงในช่องจำนวนเงินเครดิต
31
ผังบัญชี (Chart of Accounts)
32
งบทดลอง (trial Balance)
33
ความหมายของงบทดลอง หมายถึง งบที่จัดทำขึ้นด้วยการนำยอด ดุลในบัญชีแยกประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะอยู่ด้านเดบิต หรือ เครดิตก็ตาม มาคำนวณหายอดคงเหลือทั้งสองด้าน เพื่อ พิสูจน์ความถูกต้องในการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ ในวันใดวันหนึ่ง เช่น ทุกสิ้นเดือน ทุก 3 เดือน หรือเมื่อ สิ้นงวดบัญชี
34
ประโยชน์ของงบทดลอง ช่วยพิสูจน์ความถูกต้องของการบันทึกทั้งทางด้าน
เดบิตและเครดิต จะต้องเท่ากันตามหลักบัญชีคู่ ช่วยในการตรวจสอบข้อผิดพลาดในการบันทึก บัญชีได้ง่าย 3. ช่วยในการทำงบการเงินของกิจการ เช่น งบกำไร ขาดทุนและงบดุลได้สะดวกและถูกต้อง
35
การหาข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในงบทดลอง
1. ตรวจสอบการบวกเลขของจำนวนเงินในช่องเดบิตและเครดิตใน งบทดลองใหม่อีกครั้ง 2. ตรวจสอบการเก็บยอดคงเหลือจากบัญชีแยกประเภทมาลงในงบ ทดลองนั้นถูกต้องหรือไม่ 3. ตรวจสอบการหายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทต่างๆ ใหม่ 4. ตรวจสอบการผ่านรายการจากสมุดรายวันขั้นต้นมาลงในบัญชีแยก ประเภท 5. ตรวจสอบการบันทึกรายการในสมุดรายวันถูกต้องตามหลักบัญชีคู่ หรือไม่ 6. ตรวจสอบเอกสารการนำมาบันทึกบัญชีว่าได้นำตัวเลขมาบันทึกบัญชี ถูกต้องหรือไม่
36
ขอจบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ คุณครูอรวรรณ สุดกล้า
ขอจบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ คุณครูอรวรรณ สุดกล้า
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.