ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยφώλος Γούσιος ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง เขตบริการสุขภาพที่ จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
2
Situation Analysis สถานการณ์ ภาพรวมโครงสร้าง
บุคลากรที่มีอยู่ภายในเขต เคมีบำบัดแยกจังหวัด และรังสีรักษาแยกศูนย์(รวมมหาวิทยาลัยภายในเขตที่มีการทำ MOU ระดับกระทรวงและทบวง) ครุภัณฑ์ เครื่องมือ อุปกรณ์ในการวินิจฉัย รักษาแต่ละสาขา
3
สถานการณ์ปัญหาโรคมะเร็ง (Health need) ข้อมูลปี 2559
อุบัติการณ์ การเกิดโรคมะเร็งรายใหม่ในเขตสุขภาพ5อันดับแรกCabreast, Cacolon, CAcervix,Hepatoma, Calungจำนวนรวมทั้งหมด 6,829 ราย/ปี อัตราตาย โรคมะเร็งในเขตสุขภาพ 5 อันดับแรก Ca liver,Calung,Cabreast,Cacolon,CAcervix จำนวนรวมทั้งหมด 2,922 ราย/ปี แหล่งอ้างอิง : เช่น ทะเบียนมะเร็ง , สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ฯ แสดงผลเป็น ตาราง หรือ กราฟ ดังตัวอย่าง slide ถัดไป
4
อัตราป่วยและอัตราตายมะเร็งทุกชนิดต่อประชากรแสนคน เขต 3 ปีงบประมาณ 2554-2559
5
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 5 อันดับ เขต 3 ปีงบประมาณ 2554-2559
6
อัตราตายต่อประชากรแสนคน 5 อันดับ เขต 3 ปีงบประมาณ 2554-2559
7
Burdens of Cancer (Incidence,Mortality)
Liver ,900 รายใหม่/ปี Lung ,400 รายใหม่/ปี Breast ,800 รายใหม่/ปี Colorectal ,400 รายใหม่/ปี Head & neck 7,700 รายใหม่/ปี Cervix ,400 รายใหม่/ปี 76.1% of cancer incidence ~ 69,500 new cases/year Cancer Motality Liver ,515 ราย/ปี Lung ,055 ราย/ปี Breast , ราย/ปี Colorectal ,538 ราย/ปี Head & neck ราย/ปี Cervix ,803 ราย/ปี จากรายงาน Cancer in Thailand (population-based cancer registry ฉบับล่าสุด) พบอุบัติการณ์โรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์ในประเทศไทย …..ต่อ แสนประชากร หรือ ประมาณ 100,000 รายใหม่ต่อปี มะเร็งที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ มะเร็งตับ มะเร็งปอดและหลอดลม มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งศีรษะและลำคอ เพศชาย คือ มะเร็งตับ มะเร็งปอดและหลอดลม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งต่อมลูกหมาก เพศหญิง คือ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับ มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งปอดและหลอดลม ผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งปีละ 100,000 ราย ซึ่งนับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประเทศนั้นจำเป็นต้องเร่งดำเนินการตามมาตรการป้องกันและรักษา 59.1% of cancer death ~ 60,800 cases/year
8
ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มี.ค.60
ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มี.ค.60 ลำดับ KPI ร้อยละ นครสวรรค์ พิจิตร กำแพงฯ ชัยนาท อุทัยฯ เขต 6 อัตราตายโรคมะเร็งตับ 4.3 4.9 1.2 4.5 3.9 3.8 7 อัตราตายโรคมะเร็งปอด 6.9 5.8 3.4 5.1 2.4 4.7
9
ผลงานตามตัวชี้วัด ต.ค. 59- มี.ค.60
10
ผลงานตามตัวชี้วัด ต.ค. 59- มี.ค.60
11
ผลงานตามตัวชี้วัด ต.ค. 59- มี.ค.60
12
Cancer Health Needs Estimated treatment need
Cancer cases >Health need> Supply Cancer Stage Standard Treatment CA Lung (NSCLC) Early Sx +/- CCRT Locally Advanced CCRT Sx or CCRT Breast Sx Systemic Rx & RT Rectum Sx CCRT CCRT Sx Head & Neck Sx +/- CCRT NPC,Locally Advanced or Chemo +/-RT Sx Cervix Sx +/- CCRT CCRT New Cancer … cases/years Recurr. & metas. … cases/year (15% of new cases) Total health needs … cases/year Estimated treatment need Pathology … (130% x total) Surgery … (60% x total) Chemotherapy … (80% x total) Diagnostic Radio … (150% x total) Radiotherapy … (45% x total) Nuclear medicine … (30% x total) โรคมะเร็งต่างๆมีมาตรฐานการรักษาโรคต่างกัน ทั้งนี้สามารถสรุปโดยรวมเป็นการรักษา 3 ประเภท คือการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา ปัจจุบันการเข้าถึงการผ่าตัดภายในเวลาที่เหมาะสม คือ 4 สัปดาห์หลังการตัดชิ้นเนื้อ สามารถทำได้มากกว่า 80% การเข้าถึงบริการเคมีบำบัด ภายใน 6 สัปดาห์ ไตรมาส 2 สามารถดำเนินการได้มากกว่า 60% ส่วนการรักษาด้วยการฉายรังสีเป็นปัญหาสำคัญที่สุดในขณะนี้ เนื่องจากมีการลงทุนสุงมากจึงไม่สามารถขยายบริการได้ในเวลารวดเร็ว นอกจากปัญหาการเข้าถึงการรักษาแล้วนั้น ข้อมูลการรักษาในช่วงเวลาเดียวกันจากแต่ละแหล่งก็มีความแตกต่างกันทำให้มีความยากลำบากในการวางแผนการลงทุน
13
ทรัพยากรที่มีอยู่และแผนพัฒนา (2561-2565)
ตาม Service Plan สาขาโรคมะเร็ง เขตสุขภาพที่
14
โครงสร้างอัตรากำลังบุคลากรด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ
ทางการแพทย์ จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ เดือน ตุลาคม 2560 (คน) รวม แผนพัฒนาบุคลากรภาพรวมเขตจากความต้องการในปี 2559 ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. พจ. อท รพ. ชน ด้านการผ่าตัดโรคมะเร็ง 2561 2562 2563 2564 2565 General Surgeon 11 5 3 2 1 Anesthesiologist 4 Colorectal surgeon Hepatobilairy surgeon CVT surgeon Gynecologic Oncologist 1/1 ENT /ทันตแพทย์ผ่าตัดมะเร็งศีรษะและลำคอ 5/1 3/0 3/1 0/1 0/0 Pathologist
15
โครงสร้างอัตรากำลังบุคลากรด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ (ต่อ)
ทางการแพทย์ จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ เดือน ตุลาคม 2560 (คน) รวม แผนพัฒนาบุคลากรภาพรวมเขตจากความต้องการในปี 2559 ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. รพ. พจ. รพ. อท. รพ. ชน. ด้านเคมีบำบัด 2561 2562 2563 2564 2565 Medical Oncologist 2 1 Hematologist or Hemato - Oncologist Pediatric hemato - Oncologist Chemotherapy Compounding Pharmacist (ผสมยาเคมีบำบัด) 3 9 พยาบาลเคมีบำบัด (10 วัน) 21 12 5 49 พยาบาล Cancer nurse coordination (10วัน) Palliative care nurse พยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง (4 เดือน) 5+1 13
16
โครงสร้างอัตรากำลังบุคลากรด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ (ต่อ)
ทางการแพทย์ จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ เดือน ตุลาคม 2560 (คน) รวม แผนพัฒนาบุคลากรภาพรวมเขตจากความต้องการในปี 2559 ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. รพ. พจ. รพ. อท. รพ. ชน. ด้านรังสีวิทยา (รวม 3 สาขา) 2561 2562 2563 2564 2565 Diagnostic Radiologist (รังสีแพทย์) 3 5 2 12 1 Interventional Radiologist Nuclear Medicine Radiologist แพทย์เวชศาสตร์นิวเคลียร์ Radiology technologist (นักรังสีการแพทย์) 11 26 Radiation Oncologist (แพทย์รังสีรักษา) Medical Physicist (รังสีรักษา) Radiation Therapy Technologist (นักรังสีการแพทย์ด้านรังสีรักษา) ทันตแพทย์ ทันตแพทย์เตรียมช่องปากก่อนการฉายรังสี 13 31
17
ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ
ด้านรังสีวิทยา จำนวนที่มี ปีงบประมาณ 2560 (เครื่อง) รวม ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. รพ. พจ. รพ. อท. รพ. ชน. เครื่องตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Diagnostic Ultrasound) 4 1 13 เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography) (เอกชน) 3 เครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammography) เครื่องตรวจด้วยสนามแม่เหล็กแรงสูง (Magnetic Resonance Imaging - MRI) 2 ชุดเจาะชิ้นเนื้อเต้านมแบบท่านอนคว่ำ/ ท่านั่ง (Prone/Upright Stereotactic Breast Biopsy System) เครื่องเอกซเรย์ระบบหลอดเลือด (Angiogram หรือ Digital Subtraction Angiography) เครื่อง Gamma camera (Thyroid uptake) เครื่องถ่ายภาพรังสีแกมมาหลายระนาบ (Single Photon Emission Computed Tomography-SPECT)
18
ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ (ต่อ)
ครุภัณฑ์ ด้านการผ่าตัด และเคมีบำบัด จำนวนที่มี ปีงบประมาณ 2560 (เครื่อง) รวม ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. รพ. พจ. รพ. อท. รพ. ชน. Upper GI scope (esophago-gastroscope) 2 3 1 8 Lower GI scope (colono-sigmoidoscopeX 7 Cystoscope Colposcope Fiberoptic laryngoscope 4 6 Bronchoscope Robotic Surgery ตู้ผสมยาเคมี - Isolator - Biosafety cabinet
19
ทรัพยากรด้านโรคมะเร็ง โรงพยาบาลระดับ M1
จำนวนที่มีอยู่จริง รวม แผนพัฒนาภาพรวมเขต จากความต้องการในปี 2559 รพ. … 2561 2562 2563 2564 2565 บุคลากร (ตน) General Surgeon Anesthesiologist Chemotherapy Compounding Pharmacist (ผสมยาเคมีบำบัด) พยาบาลเคมีบำบัด (10 วัน) ทันตแพทย์เตรียมช่องปากก่อนการฉายรังสี ครุภัณฑ์ (เครื่อง) เครื่องตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Diagnostic Ultrasound) ระบุใน slide ถัดไป ตู้ผสมยาเคมี - Isolator - Biosafety cabinet
20
แผนพัฒนาครุภัณฑ์ด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ
จำนวน ที่มีอยู่ (เครื่อง) จำนวนที่ต้องการเพิ่ม (เครื่อง) แผนพัฒนาครุภัณฑ์การแพทย์ งบประมาณ (บาท) 2561 2562 2563 2564 2565 เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography Machine) 2 1 - 20 ล้าน CT Sim 40 ล้าน Linac เครื่องฝังแร่(High dose)
21
Health need – Resources = Gap
ขอให้เสนอแผนการจัดระบบบริการที่เหมาะสม/ ระบบที่ควรจะเป็นสำหรับเขตพื้นที่ (Desired scenario) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความครอบคลุม การจัดการให้มีการเข้าถึงบริการ และเกิดความเหลื่อมล้ำให้น้อยที่สุด สร้าง self containing service ในภายเขตสุขภาพ ทั้งนี้มีการบริการจัดการร่วมกับพื้นที่ข้างเคียงสำหรับประชากรชายขอบ บางสาขาอาจมี minimal standard requirement of unit ช่วยในการวางแผน เช่น รังสีรักษา (หน้าถัดไป) ทั้งนี้สามารถปรับตามบริบทและแลกเปลี่ยนแนวทางการบริหารทรัพยากร
22
Expanding global access to RT Identifying a series of actions to scale up coverage of RT
Step 1: Estimated of the volume of RT needed by cancer burden (2 approaches) Step 2: Estimeted of RT resources required form treatment volume Transalate RT need into resources need Benchmark of pts /machine/year pts /oncologist/year pts /physicist/year pts /RTT/year สอดคล้องกับแนวทางการจัดระดับศูนย์ความเป็นเลิศด้านรังสีรักษา Criterion based (empirical approach) = measures the used of RT services in population. Epidemiological (evidence-based estimation approach) cancer types, disease stage, for estimation of RT need (by calculation on number of course and fractions)
23
GAP analysis & Planning ตาม 6BB ด้านการผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา CNC, ทะเบียนมะเร็ง
Service delivery Health workforce Health Informatics (Thai cancer based, referal system) Technology (equipment) Financing Leadership & governance ตัวอย่างหน้าถัดไป
24
ตัวอย่าง Service delivery เข้าถึงรังสีรักษาภายใน 6 สัปดาห์ 55 %
6BB Gap Planning ระยะสั้น 1 ปี ระยะ2-3 ปี ระยะ4-5 ปี Health workforce ขาดแพทย์ 1 ฟิสิกส์ 2 นักรังสี 2 รับ free train กรมการแพทย์ช่วยดำเนินการปรับค่าตอบแทน ให้ทุนระหว่างเรียน -ขอเปิดทุนกรณีพิเศษ สาขาขาดแคลน Informatics …ไม่ลงข้อมูลรังสีรักษาใน TCB กรมการแพทย์สนับสนุนการเปิดใช้ระบบ TCB - Technology ขาดเครื่องฉายรังสี 1 เครื่อง ลดการฉายรังสีสามมิติและ IMRT ของบประมาณปี 2561 Leadership governance ไม่ปรับค่าตอบแทน OT ไม่จัดระบบส่งต่อ ปรับค่าตอบแทนเพื่อเปิดบริการนอกเวลาราชการ พัฒนาระบบส่งต่อ
25
ผลการดำเนินงานตาม Service Plan สาขาโรคมะเร็ง
ปีงบประมาณ 2560 ไตรมาสที่
26
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.