งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง เขตบริการสุขภาพที่ 3 นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท

2 สถานการณ์ปัญหาโรคมะเร็ง (Health need) ข้อมูลปี 2559
สาเหตุการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง เพศชาย 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งช่องปาก และคอหอยและมะเร็งเม็ดเลือดขาว เพศหญิง 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่อุบัติการณ์ การเกิดโรคมะเร็งรายใหม่ในเขตสุขภาพ5อันดับแรกCabreast, Cacolon, CAcervix,Hepatoma, Calungจำนวนรวมทั้งหมด 6,829 ราย/ปี แหล่งอ้างอิง : เช่น ทะเบียนมะเร็ง , สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ฯ แสดงผลเป็น ตาราง หรือ กราฟ ดังตัวอย่าง slide ถัดไป

3 มะเร็งรายใหม่ 5 อันดับแรก ปี 2559
มะเร็งรายใหม่ 5 อันดับแรก ปี 2559 อันดับ โรค จำนวน /แสนประชากร 1 Breast 48.15 2 Colorectal 41.85 3 Liver and Bile duct 30.14 4 Bronchus and Lung 25.60 5 Cervix 19.21 จำนวนรวมทั้งหมด 6,829 ราย / ปี

4 อัตราตายโรคมะเร็ง 5 อันดับแรก ปี /2559
จำนวน /แสนประชากร 1 Liver and bile duct 19.35 2 Lung and bronchus 17.59 3 Breast 6.13 4 Colo- rectal 6.12 5 Cervix 2.87 จำนวนรวมทั้งหมด 2,922 ราย

5 อัตราป่วยและอัตราตายมะเร็งทุกชนิดต่อประชากรแสนคน เขต 3 ปีงบประมาณ 2554-2559

6 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 5 อันดับ เขต 3 ปีงบประมาณ 2554-2559

7 อัตราตายต่อประชากรแสนคน 5 อันดับ เขต 3 ปีงบประมาณ 2554-2559

8 ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มี.ค.60
ผลการดำเนินงาน ต.ค.59-มี.ค.60 ลำดับ KPI ร้อยละ  นครสวรรค์ พิจิตร กำแพงฯ ชัยนาท อุทัยฯ เขต 6 อัตราตายโรคมะเร็งตับ 4.3 4.9 1.2 4.5 3.9 3.8 7 อัตราตายโรคมะเร็งปอด 6.9 5.8 3.4 5.1 2.4 4.7

9 Cancer Health Needs ข้อมูลสถิติผู้ป่วยมะเร็ง เขต 3
Cancer cases >Health need> Supply Cancer Stage Standard Treatment CA Lung (NSCLC) Early Sx  +/- CCRT Locally Advanced CCRT  Sx or CCRT Breast Sx Systemic Rx & RT Rectum Sx  CCRT CCRT  Sx Head & Neck Sx  +/- CCRT NPC,Locally Advanced or Chemo +/-RT  Sx Cervix Sx  +/- CCRT CCRT New Cancer 6,829 cases/years Total health needs 2,696 cases/year Estimated treatment need Pathology (130% x total) Surgery (60% x total) Chemotherapy (80% x total) Diagnostic Radio NA (150% x total) Radiotherapy (45% x total) Nuclear medicine NA (30% x total) โรคมะเร็งต่างๆมีมาตรฐานการรักษาโรคต่างกัน ทั้งนี้สามารถสรุปโดยรวมเป็นการรักษา 3 ประเภท คือการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา ปัจจุบันการเข้าถึงการผ่าตัดภายในเวลาที่เหมาะสม คือ 4 สัปดาห์หลังการตัดชิ้นเนื้อ สามารถทำได้มากกว่า 80% การเข้าถึงบริการเคมีบำบัด ภายใน 6 สัปดาห์ ไตรมาส 2 สามารถดำเนินการได้มากกว่า 60% ส่วนการรักษาด้วยการฉายรังสีเป็นปัญหาสำคัญที่สุดในขณะนี้ เนื่องจากมีการลงทุนสุงมากจึงไม่สามารถขยายบริการได้ในเวลารวดเร็ว นอกจากปัญหาการเข้าถึงการรักษาแล้วนั้น ข้อมูลการรักษาในช่วงเวลาเดียวกันจากแต่ละแหล่งก็มีความแตกต่างกันทำให้มีความยากลำบากในการวางแผนการลงทุน

10 ทรัพยากรที่มีอยู่และแผนพัฒนา (2561-2565)
ตาม Service Plan สาขาโรคมะเร็ง เขตสุขภาพที่

11 โครงสร้างอัตรากำลังบุคลากรด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ
ทางการแพทย์ จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ เดือน ตุลาคม 2560 (คน) รวม แผนพัฒนาบุคลากรภาพรวมเขตจากความต้องการในปี 2559 ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. พจ. อท รพ. ชน ด้านการผ่าตัดโรคมะเร็ง 2561 2562 2563 2564 2565 General Surgeon 11 5 3 2 1 Anesthesiologist 4 Colorectal surgeon Hepatobilairy surgeon CVT surgeon Gynecologic Oncologist 1/1 ENT /ทันตแพทย์ผ่าตัดมะเร็งศีรษะและลำคอ 5/1 3/0 3/1 0/1 0/0 Pathologist

12 โครงสร้างอัตรากำลังบุคลากรด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ (ต่อ)
ทางการแพทย์ จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ เดือน ตุลาคม 2560 (คน) รวม แผนพัฒนาบุคลากรภาพรวมเขตจากความต้องการในปี 2559 ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. รพ. พจ. รพ. อท. รพ. ชน. ด้านเคมีบำบัด 2561 2562 2563 2564 2565 Medical Oncologist 2 1 Hematologist or Hemato - Oncologist Pediatric hemato - Oncologist Chemotherapy Compounding Pharmacist (ผสมยาเคมีบำบัด) 3 9 พยาบาลเคมีบำบัด (10 วัน) 21 12 5 49 พยาบาล Cancer nurse coordination (10วัน) Palliative care nurse พยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง (4 เดือน) 5+1 13

13 โครงสร้างอัตรากำลังบุคลากรด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ (ต่อ)
ทางการแพทย์ จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ณ เดือน ตุลาคม 2560 (คน) รวม แผนพัฒนาบุคลากรภาพรวมเขตจากความต้องการในปี 2559 ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. รพ. พจ. รพ. อท. รพ. ชน. ด้านรังสีวิทยา (รวม 3 สาขา) 2561 2562 2563 2564 2565 Diagnostic Radiologist (รังสีแพทย์) 3 5 2 12 1 Interventional Radiologist Nuclear Medicine Radiologist แพทย์เวชศาสตร์นิวเคลียร์ Radiology technologist (นักรังสีการแพทย์) 11 26 Radiation Oncologist (แพทย์รังสีรักษา) Medical Physicist (รังสีรักษา) Radiation Therapy Technologist (นักรังสีการแพทย์ด้านรังสีรักษา) ทันตแพทย์ ทันตแพทย์เตรียมช่องปากก่อนการฉายรังสี 13 14 31

14 ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ
ด้านรังสีวิทยา จำนวนที่มี ปีงบประมาณ 2560 (เครื่อง) รวม ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. รพ. พจ. รพ. อท. รพ. ชน. เครื่องตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Diagnostic Ultrasound) 4 1 14 เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography) 1เอกชน) เครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammography) เครื่องตรวจด้วยสนามแม่เหล็กแรงสูง (Magnetic Resonance Imaging - MRI) 2 ชุดเจาะชิ้นเนื้อเต้านมแบบท่านอนคว่ำ/ ท่านั่ง (Prone/Upright Stereotactic Breast Biopsy System) 3 เครื่องเอกซเรย์ระบบหลอดเลือด (Angiogram หรือ Digital Subtraction Angiography) เครื่อง Gamma camera (Thyroid uptake) เครื่องถ่ายภาพรังสีแกมมาหลายระนาบ (Single Photon Emission Computed Tomography-SPECT)

15 ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ (ต่อ)
ครุภัณฑ์ ด้านการผ่าตัด และเคมีบำบัด จำนวนที่มี ปีงบประมาณ 2560 (เครื่อง) รวม ระดับ A ระดับ S รพ. สปร. รพ. … รพ. กพ. รพ. พจ. รพ. อท. รพ. ชน. Upper GI scope (esophago-gastroscope) 2 3 4 1 12 Lower GI scope (colono-sigmoidoscopeX 9 Cystoscope Colposcope Fiberoptic laryngoscope 6 Bronchoscope Robotic Surgery ตู้ผสมยาเคมี - Isolator - Biosafety cabinet

16 ทรัพยากรด้านโรคมะเร็ง โรงพยาบาลระดับ M1
จำนวนที่มีอยู่จริง รวม แผนพัฒนาภาพรวมเขต จากความต้องการในปี 2559 รพ. … 2561 2562 2563 2564 2565 บุคลากร (ตน) General Surgeon Anesthesiologist Chemotherapy Compounding Pharmacist (ผสมยาเคมีบำบัด) พยาบาลเคมีบำบัด (10 วัน) ทันตแพทย์เตรียมช่องปากก่อนการฉายรังสี ครุภัณฑ์ (เครื่อง) เครื่องตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Diagnostic Ultrasound) ระบุใน slide ถัดไป ตู้ผสมยาเคมี - Isolator - Biosafety cabinet

17 แผนพัฒนาครุภัณฑ์ด้านโรคมะเร็ง ในเขตสุขภาพ
จำนวน ที่มีอยู่ (เครื่อง) จำนวนที่ต้องการเพิ่ม (เครื่อง) แผนพัฒนาครุภัณฑ์การแพทย์ งบประมาณ (บาท) 2561 2562 2563 2564 2565 เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography Machine) 2 1 - 20 ล้าน CT Sim 40 ล้าน Linac เครื่องฝังแร่(High dose)

18 ผลการดำเนินงานตาม Service Plan
สาขาโรคมะเร็ง เขต 3

19 ผลงานตามตัวชี้วัด ต.ค. 59- มี.ค.60
ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด จังหวัด นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตร อุทัยฯ ชัยนาท รวม สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะ ที่ 1 และ ระยะที่ 2 รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เป้าหมาย 77 26 24  12 28 167 ผลงาน 48 17 19  9 102 ร้อยละ 62.34 65.38 79.20  75.00 32.14 61.07 สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 23 16 11 56 14 6  1 7 38 60.87 66.67  100 63.63 67.86 ร้อยละของการจัดกิจกรรมตามแผนป้องกันและรณรงค์ เพื่อหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง ≥ 80 15 4  12 98 8 137 ผลงาน (ครั้ง)  3 94 120 100  25 95.91 87.59 2.1 ร้อยละของประชากรสตรีกลุ่มเป้าหมาย(อายุ ปี) ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านม 168,407 155,365 115,904 59,283 62,042 561,001 ผลงาน (ราย) 100,236 104,346 67,086 50,809 53,062 338,643 59.52 67.16 57.88 85.70 85.52 60.36 2.2 ร้อยละของประชากรสตรีกลุ่มเป้าหมาย(อายุ ปี) ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 160,730 126,054 90,426 60,544 64,704 499,982 67,582 32,383 26,470 20,712 15,620 163,369 42.05 25.69 29.27 34.20 24.14 32.67

20 ผลงานตามตัวชี้วัด ต.ค. 59- มี.ค.60
ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด จังหวัด นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตร อุทัยฯ ชัยนาท รวม 3.ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา ≤ 2 สัปดาห์ เป้าหมาย 1,161 267 59 319 224 2,030 ผลงาน (ราย) 879 240 311 1,713 ร้อยละ 75.71 89.89 100 97.49 84.38 4.ร้อยละของผู้ป่วยที่ Refer ออกนอกเขตสุขภาพ เพื่อทำการตรวจวินิจฉัย (Cancer Diagnosis) โรคมะเร็ง 1161 429 137 2,046 ผลงาน(ราย) 41 27 8 84 3.53 12.70 5.83 2.5 4.10 5.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ (PA สป.สธ.) 135 18 50 42 57 302 124 10 15 38 39 226 91.85 55.6 30 90.48 68.42 74.83 5.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (PA สป.สธ.) 20 69 307 116 16 13 40 55 84.67 80 48.71 95.24 79.71 78.17 5.3 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ (PA สป.สธ.) 114 260 96 19 23 169 84.21 81.3 43.9 46 65.00

21 ผลงานตามตัวชี้วัด ต.ค. 59- มี.ค.60
ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด จังหวัด นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตร อุทัยฯ ชัยนาท รวม 6.ร้อยละของผู้ป่วยที่ Refer ออกนอกเขตสุขภาพเพื่อทำการรักษา(Cancer Treatment) โรคมะเร็ง เป้าหมาย 1161 429 137 319 510 2,556 ผลงาน (ราย) 260 402 129 70 385 1,246 ร้อยละ 22.41 93.70 94.16 21.94 24.51 48.74 7.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) 113 89 178 63 57 500 171 58 33 464 100 96.06 92.06 57.89 92.80 8.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดการระบบสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 5 ผลงาน (ระดับ) 4 9.ระดับความสำเร็จของการทำทะเบียนมะเร็ง (Cancer Registry) 3 10.ระดับความสำเร็จของการจัดตั้ง Research Center และ ผลิตผลงานวิจัย

22 สรุป GAP analysis & Planning ตาม 6BB ด้านการผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา

23 Health workforce 6BB Gap Planning ระยะสั้น 1 ปี ระยะ2-3 ปี ระยะ4-5 ปี
ด้านผ่าตัด ขาดแพทย์ ศัลยแพทย์รพ.S ,M วิสัญญีแพทย์ ขาดแพทย์เชี่ยวชาญ Hepatobilairy surgeon งานหนัก คนน้อย - รับสมัคร - ส่งเรียนเพิ่ม.หาทุนและรับสมัคร -ส่งเรียนเพิ่ม.หาทุนและรับสมัคร ด้านเคมีบำบัด ขาดแพทย์อายุรศาสตร์โรคมะเร็ง *มี 2 คน ขาดเภสัชกร/พยาบาล -สนับสนุนให้แพทย์ในเครือข่ายให้ยาเคมีเพิ่มขึ้น - -จัดสรรตำแหน่ง1-2 คน (Onco med)

24 Health workforce 6BB Gap Planning ระยะสั้น 1 ปี ระยะ2-3 ปี ระยะ4-5 ปี
ด้านรังสีรักษา - แพทย์ยังขาด 2-3 ตำแหน่ง -ขาดนักฟิสิกส์ 1 คน จ้าง OT เพิ่มแก่เจ้าหน้าที่ ส่งเรียน/รับ free train กรมการแพทย์ช่วยดำเนินการปรับค่าตอบแทน อื่นๆ -ขาดพยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง มีนโยบายผลักดันผ่านสภาการพยาบาลสนับสนุนให้ วพบ.แต่ละเขตเปิดหลักสูตร

25 Informatics 6BB Gap Planning ระยะสั้น 1 ปี ระยะ2-3 ปี ระยะ4-5 ปี
ทะเบียนมะเร็ง -รพ.ที่ยังใช้โปรแกรม TCB ไม่ครบ -รพ.ที่ใช้ TCB แต่ไม่ส่งข้อมูลขึ้น Website -กรมการแพทย์สนับสนุนการเปิดใช้ระบบ TCB -นโยบายให้มีการจัดทำรายงาน การเชื่อมต่อข้อมูลทั้งเขต และ การนำข้อมูลทะเบียนมะเร็งมาใช้ในการวางแผนเชิงนโยบาย -นโยบายจัดทำ Hospital based ในทุก รพ. ระดับA, S, M รพ.ที่ใช้ TCB ส่งข้อมูลขึ้น Website ครบทุกรพ - -การประสานข้อมูลมะเร็ง รพ.ปฐมภูมิ-ทุติยภูมิ-ตติยภูมิ -นโยบายเขต บูรณาการ การดำเนินงานด้านสารสนเทศมะเร็ง IT/ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน

26 Leadership governance
6BB Gap Planning ระยะสั้น 1 ปี ระยะ2-3 ปี ระยะ4-5 ปี Leadership governance ด้านรังสีรักษา ไม่ปรับค่าตอบแทน OT ไม่จัดระบบส่งต่อ ปรับค่าตอบแทนเพื่อเปิดบริการนอกเวลาราชการ พัฒนาระบบส่งต่อ ด้านผ่าตัด -งานเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน -ส่งต่อออกนอกเขตบริการ ด้านเคมีบำบัด - ขาดอัตรากำลังแพทย์/พยาบาล/เภสัชกร -งบส่งอบรม -ค่าตอบแทนความเสี่ยง -สนับสนุนรพ.ระดับ M1 ให้บริการเคมีบำบัด รพ.ระดับ M 1 ให้บริการเคมีบำบัด

27 Leadership governance
6BB Gap Planning ระยะสั้น 1 ปี ระยะ2-3 ปี ระยะ4-5 ปี ทะเบียนมะเร็ง -การลงทะเบียน TCB ยังไม่ครบเนื่องจากขาดบุคลากร - ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยต่างๆใน รพ.เช่นการ refer -จัดประชุม อบรมภายในเขต อื่นๆ -ขาดพยาบาลเฉพาะทางโรคมะเร็ง -ความก้าวหน้าของพยาบาลประสานงานมะเร็ง (CNC) มีนโยบายผลักดันผ่านสภาการพยาบาลสนับสนุนให้ วพบ.แต่ละเขตเปิดหลักสูตร

28 Technology 6BB Gap Planning ระยะสั้น 1 ปี ระยะ2-3 ปี ระยะ4-5 ปี
ด้านรังสีรักษา -เครื่องฉายรังสีครบในภาวะงานปัจจุบัน กับเทคนิคที่ยังใช้แบบ 2 มิติ เป็นส่วนใหญ่ -ถ้าจะพัฒนา Excellent Center ให้ใกล้ รพ.มหาวิทยาลัย ต้องมีเครื่องฉายเทคนิค I M , RT เพื่อ Tomoto 1 ตัว ด้านเคมีบำบัด รพ.M1 ขาดพยาบาล เภสัชและตู้ผสมยาเคมีบำบัด รพ A รพ.สวรรค์ประชารักษ์ รับเตรียมยาเคมีบำบัดให้ -จัดซื้อตู้ผสมยาฯ ของบประมาณปี61

29 Thank you


ดาวน์โหลด ppt นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google