งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
CLT กุมารเวชกรรม

2 สถิติบริการผู้ป่วยนอก 5 อันดับ
กุมารเวชกรรม ปี 2559 Neonatal jaundice ปี 2560 Pneumonia ปี 2561 URI URI URI Acute bronchitis Neonatal jaundice Iron deficiency anemia Iron deficiency anemia Acute gastroenteritis Acute gastroenteritis Iron deficiency anemia Acute gastroenteritis Allergic dermatitis

3 สถิติบริการผู้ป่วยใน 5 อันดับ
กุมารเวชกรรม ปี 2559 NB, low birth weight Acute gastroenteritis ปี 2560 Neonatal jaundice ปี 2561 Newborn Newborn Newborn Neonatal jaundice Neonatal jaundice Acute gastroenteritis NB, low birth weight Pneumonia Acute bronchitis Pneumonia

4 ความเสี่ยงสำคัญของ CLT กุมารเวชกรรม
Hypoglycemia Birth Asphyxia Neonatal jaundice Febrile convulsion Hypothermia

5 การจัดการภาวะทารกแรกเกิดอุณหภูมิกายต่ำ
การจัดการความเสี่ยง การจัดการภาวะทารกแรกเกิดอุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia)

6 การจัดการความเสี่ยง Hypothermia Transfer

7 ผลลัพธ์การดำเนินการ BEST PRACTICE : Hypothermia ถุงอุ่นใจคลายหนาว Goal

8 ผลลัพธ์การดำเนินการ เปรียบเทียบภาวะอุณหภูมิกายต่ำในทารกแรกเกิดปกติระหว่างการใช้ผ้าห่อตัวทารกกับถุงอุ่นใจคลายหนาว พ.ศ และ พ.ศ. 2560 วิธีการใช้ ทารกแรกเกิด อุณหภูมิกายต่ำ/คน จำนวน/คน ร้อยละ -ผ้าห่อตัวทารก 59 554 10.7 -ถุงอุ่นใจคลายหนาว 8 553 1.5 ระดับความพึงพอใจ จำนวน (n=44) ร้อยละ - ระดับมาก 36 81.8 - ระดับมากที่สุด 8 18.2

9 ผลลัพธ์การดำเนินการ ผลการพัฒนา : Hypothermia ตัวชี้วัด เป้าหมาย
ปีงบประมาณ 2559 2560 2561 อัตราการเกิด Hypothermia < 2% 1.9 3.7 1.4

10 ผลลัพธ์การดำเนินการ แผนการพัฒนา : Hypothermia
ใช้ CPG Hypothermia ในหอผู้ป่วยหลังคลอด 100 % นำส่งทารกจากหอผู้ป่วยหญิงหลังคลอดไปหน่วยงานอื่น ด้วยถุงอุ่นใจ ตรวจวัดอุณหภูมิก่อนส่งและรับทารกทุกครั้ง ทารกอุณหภูมิน้อยกว่า 36.5 องศาเซลเซียส อบอุ่นร่างกายเด็กด้วยเครื่อง Radiant Warmer ก่อนเคลื่อนย้ายทารก

11 การจัดการภาวะทารกแรกเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
การจัดการความเสี่ยง การจัดการภาวะทารกแรกเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)

12 ทบทวนเหตุการณ์สำคัญ Dead Case Newborn : Hypothermia and Hypoglycemia
มารดาได้รับ Pethidine ก่อนคลอดไม่เกิน 4 ชั่วโมง เพิ่มทารกกลุ่มที่มารดาได้รับ Pethidine ใน CPG Hypoglycemia Check list : Early warning signs ตรวจวัดอุณหภูมิกายก่อนส่งและรับทารกทุกครั้ง Transfer ทารกด้วยถุงอุ่นใจคลายหนาว แพทย์ตรวจร่างกายทารกก่อนกลับบ้านทุกเคส

13 ทบทวนเหตุการณ์สำคัญ Dead Case : แนวทางการพัฒนา ทารกกลุ่มเสี่ยง
Transfer Ward ตรวจวัด BT ก่อนส่งและรับผู้ป่วยทุกครั้ง Transfer ทารกด้วยถุงอุ่นใจคลายหนาว ติด Thermometer ทุกหน่วยงานที่ดูแลทารก Check list early warning sign CPG Hypoglycemia รายงานแพทย์

14 ผลลัพธ์การดำเนินการ ผลการพัฒนา : Hypoglycemia ตัวชี้วัด เป้าหมาย
ปีงบประมาณ 2559 2560 2561 อัตราการเกิด Hypoglycemia < 10% 0.45 0.39 0.87 ทารกที่มารดาได้รับ Pethidine ก่อนคลอดไม่เกิน 4 ชั่วโมง ไม่พบมีภาวะ Hypoglycemia

15 “ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย”
Best Practice “ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย” Child development in preterm infants

16 การดำเนินการ BEST PRACTICE : Preterm in Sick newborn
ทารกมีชีวิตรอด ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน ทารกได้รับนมแม่ต่อเนื่องตลอดการรักษา ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย Purpose Process Performance

17 ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาสมวัย
การดำเนินการ BEST PRACTICE : Preterm in Sick newborn Purpose Process Performance ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาสมวัย - ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - จัดสภาพแวดล้อมในตู้อบเด็กให้เสมือนนอนอยู่ในครรภ์มารดา(Nest) - การอุ้ม Kangaroo,การนวดสัมผัส - ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ROP, BPD - ไม่พบอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน BPD, ROP stage 1-2

18 การดำเนินการ BEST PRACTICE : Preterm in Sick newborn

19 การดำเนินการ BEST PRACTICE : ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก Process Purpose
Performance -ลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยง -ประเมินพัฒนาการ, การเจริญเติบโตให้คำแนะนำ ก่อนกลับบ้าน -นัด เข้า รร.พ่อแม่ที่ 1 เดือน -นัดเข้าคลินิกกลุ่มเสี่ยง -ให้การดูแลพัฒนาการและ การเจริญเติบโตจนอายุ 2 ปี *ทารกมีพัฒนาการสมวัยเกินเป้าหมาย -2559 สมวัย 90.8% -2560 สมวัย 93.5% -2561 สมวัย 91.1% ทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย > 85%

20 การดำเนินการ BEST PRACTICE : ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก Protective Factor
Breast feeding ผู้เลี้ยงดูเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้ Protective Factor Screening Anemia Social media Risk Factor

21 การดำเนินการ BEST PRACTICE : ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

22 ผลลัพธ์การดำเนินการ BEST PRACTICE : Preterm ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2559
2560 2561 ( ตค.- มีค.) อัตราทารกคลอดก่อนกำหนดเสียชีวิตจาก RDS < 5% 0.4 1.6 อัตราเกิด Sepsis ในทารกคลอดก่อนกำหนด < 3% อัตราเกิด ROP > stage 3-5 < 3 % 0.8 1.0 อัตราทารกคลอดก่อนกำหนดวิกฤตได้รับ colostrum ภายใน 12 ชั่วโมง 50 % 66 47 60.6 อัตราทารกคลอดก่อนกำหนดได้รับนมแม่ขณะรักษา จนกระทั่งกลับบ้าน 95% 98.1 97 94.0 อัตราของทารกคลอดก่อนกำหนดมีพัฒนาการสมวัย 85% 90.8 93.5 91.1 ได้รับการสอนใช้คู่มือ DSPM / DAIM ก่อนกลับบ้าน 100% NA 96

23 ผลลัพธ์การดำเนินการ BEST PRACTICE : ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
กลุ่มเด็กที่ได้รับการตรวจพัฒนาการที่อายุ 18 เดือน ร้อยละของพัฒนาการสมวัย 2559 2560 2561 เด็กคลอดก่อนกำหนด 90.8 93.5 91.1 เด็กปกติ (คลอดครบกำหนด) 96.3 94.5 87.6

24 ตอบข้อซักถาม


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google