ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยLucas Harper ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
2
หมวด ง. งานดิน งานดิน ขุดดิน ถมดิน บดอัดดิน
3
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน กฏหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับการขุดดินและถมดิน พระราชบัญญัติ การขุดดินและถมดิน พ.ศ.2543 กฎกระทรวง กําหนดมาตรงานป้องกันการพังทลายของดินหรือสิ่งปลูกสร้างในการขุดดินหรือถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๘ มยผ.1911 – 1914
4
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน พระราชบัญญัติ การขุดดินและถมดิน พ.ศ.2543 มาตรา 17 ผู้ใดประสงค์จะทําการขุดดินโดยมีความลึกจากระดับพื้นดินเกินสามเมตรหรือมีพื้นที่ปาก บ่อดินเกินหนึ่งหมื่นตารางเมตร หรือมีความลึกหรือพื้นที่ตามที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นประกาศกําหนด ให้แจ้งต่อ เจ้าพนักงานท้องถิ่นตามแบบที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกําหนดโดยยื่นเอกสารแจ้งข้อมูล
5
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน กฎกระทรวง กําหนดมาตรงานป้องกันการพังทลายของดินหรือสิ่งปลูกสร้าง ในการขุดดินหรือถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๔ การขุดดินที่มีความลึกจากระดับพื้นดินเกินสามเมตรหรือมีพื้นที่ปากบ่อดินเกินหนึ่งหมื่น ตารางเมตร ต้องมีแบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน และรายการคํานวณของผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ไม่ต่ำกว่าระดับสามัญวิศวกร ข้อ ๗ การขุดดินที่มีความลึกจากระดับพื้นดินเกินสามเมตร หรือมีพื้นที่ปากบ่อดินเกิน หนึ่งหมื่นตารางเมตร ปากบ่อดินจะต้องห่างจากแนวเขตที่ดินของบุคคลอื่นหรือที่สาธารณะเป็นระยะไม่น้อยกว่าสองเท่าของความลึกของบ่อดินที่จะขุด เว้นแต่จะได้ มีการจัดงานป้องกันการพังทลายของดินหรือ สิ่งปลูกสร้าง โดยการรับรองของผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา
6
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน กฎกระทรวง กําหนดมาตรงานป้องกันการพังทลายของดินหรือสิ่งปลูกสร้าง ในการขุดดินหรือถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๘ ในระหว่างการขุดดิน ผู้ขุดดินตามมาตรา ๑๗ ต้องระบายน้ำบนพื้นดินบริเวณขอบบ่อดิน ไม่ให้น้ำท่วมขังและต้องไม่ใช้ พื้นที่บริเวณขอบบ่อดินเป็นที่กองดินหรือวัสดุอื่นใดในลักษณะที่อาจทําให้เกิด การพังทลายของดินหรืออาจเป็นอันตรายกับสิ่งปลูกสร้างในบริเวณนั้น
7
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน การทำงานดิน เสถียรภาพลาดดินชนิดต่างๆ การวิเคราะห์เสถียรภาพลาดดิน การแก้ปัญหาการระบายน้ำระหว่างการทำงาน และความปลอดภัยพื้นที่ข้างเคียง
8
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน ความลาดชันที่แนะนำ สำหรับงานขุดดินแต่ละประเภท
9
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน ความลาดชันที่แนะนำ สำหรับงานขุดดินแต่ละประเภท
10
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน
หมวด ง. งานดิน งานขุดดินและถมดิน ความลาดชันที่แนะนำ สำหรับงานขุดดินแต่ละประเภท A Guide to OSHA Excavations Standard:Occupational Safety and Health Division N.C. Department of Labor ที่มา Occupational Safety and Health Division(OSHA) Excavation Standard
11
หมวด ง. งานดิน การวิเคราะห์เสถียรภาพลาดดินและสาเหตุการพิบัดของลาดดิน
หมวด ง. งานดิน การวิเคราะห์เสถียรภาพลาดดินและสาเหตุการพิบัดของลาดดิน 1. น้ำหนักดินเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก Gravity Force of Soil Mass Qs (2) 2. แรงกระทำภายนอก External Loads (3) U s (4) S = S - DS (5) W (1) 3. แรงดันน้ำในมวลดิน Pore Water Pressure in Soil Mass 1. น้ำหนักดินเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก Gravity Force of Soil Mass 2. แรงกระทำภายนอก External Loads 3. แรงดันน้ำในมวลดิน Pore Water Pressure in Soil Mass- การเพิ่มขึ้นของความชื้นหริอแรงดันน้ำในมวลทำให้กำลังเฉือนของดินลดลง ดินอ่อนตัว มีผลโดยตรงกับเสถียรภาพลาดดิน 4. การสูญเสียกำลังของดิน Loss of Soil Strength มวลดินเมื่อมีแรงมากระทำ มวลดินออกแรงต้านแรงที่มากระทำน้อย จนเข้าสู่สมดุล แต่ถ้าแรงที่มากระทำมากกว่า หรือมีปัจจัยอื่นที่ทำให้แรงต้านน้อยลง ดินจะสูญเสียกำลังของดิน 5. การผุพังและการกัดกร่อนเนื่องจากน้ำและลม Weathering and Erosion from Water of Wind ทำให้ดินเกิดการกัดกกร่อน จะเป็นเหตุให้ลาดดินพังได้ 4. การสูญเสียกำลังของดิน Loss of Soil Strength 5. การผุพังและการกัดกร่อนเนื่องจากน้ำและลม Weathering and Erosion from Water of Wind
12
หมวด ง. งานดิน รูปแบบการพิบัติของลาดดิน 1. การร่วงหล่น (Fall)
หมวด ง. งานดิน รูปแบบการพิบัติของลาดดิน 1. การร่วงหล่น (Fall) 2. การเคลื่อนหมุน (Rotational Slides) 3. การเคลื่อนแนวระนาบ (Translational Slides) 1.Fall มักเกิดบริเวณหน้าผาสูงชัน ซึงมวลดินมีลักษณะกัดกร่อนและแตกร้าวโดยธรรมชาติอยู่แล้ว ลักษณะเช่นนี้ไม่สามารถคำนวณได้ชัดเจนแต่จะสามารถคำนวณแยกเป็นส่วนๆ(Program Rockfall) 2. การเคลื่อนตัวในลักษณะนี้เกิดในมวดดินละเอียด เช่นดินเหนียว ความลึกของวงไสลด์ ขึ้นอยู่กับสภาพดิน กำลังแรงเฉือน และความชื้นของมวดดิน 3.การพังทลายแบบระนาบ เกิดขึ้นบริเวณผิวหน้าดิน หรือระดับดินที่ไม่ลึกมาก มักจะเกิดในบริเวณ ผิวระนาบดินที่เรียบและลื่นเช่น ดินทราย ดินบนลาดเขื่อน 4.เกิดจากดินที่อิ่มตัวด้วยน้ำ ฝนตกหนัก จนดินอ่อนตัวเสียกำลัง เช่นไหล่เขา 4. การเลื่อนไหล (Flows)
13
1. ลักษณะภูมิประเทศของลาดชัน (Geometry of slope surface)
2.ลักษณะของชั้นดิน / หิน (Soil and/or Rock Profiles) 3. คุณสมบัติของดิน/หิน (Soil and/or Rock Properties) ภายใต้เงื่อนไขของงานในสนาม - ดินบดอัดแน่น สำหรับงานคันทาง - ดินธรรมชาติ สำหรับงานฐานราก/ลาดดินธรรมชาติ
14
4. ระดับน้ำใต้ดิน หรือ แรงดันน้ำในมวลดิน
(Ground Water Level or Pore Pressure) - จากข้อมูลชั้นดิน (Soil Boring) - จากเครื่องมือตรวจวัด เช่น Piezometers - จากการคำนวณหรือการแปรผลข้อมูล - จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการ 4.เมื่มีฝนตก น้ำไหลซึมเข้าในลาดดิน ปริมาณน้ำที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อเสถียรภาพ 2 ส่วนคือ 4.1 กำลังเฉือนลดลง การยึดเกาะน้อยลง 4.2 ระดับน้าใต้ดินเพิ่มขึ้น เกิดแรงลอยตัว
15
5. แรงกระทำจากภายนอก (External Loads)
- น้ำหนักของเครื่องจักรที่ใช้ในการก่อสร้าง - บริเวณกองวัสดุจากงานขุด - สิ่งปลูกสร้างบริเวณข้างเคียง
16
6. ข้อมูลของแรงสั่นสะเทือน (Seismicity Data)
- Seismic Response curve - Seismic Coefficient (KS)
17
คำนวณความปลอดภัยของลาดดิน
18
1. วิธีวิเคราะห์ลาดอนันต์ (Infinite Slope)
2. Taylor Method 3. วิธีโมเมนต์ 4. วิธี Ordinary Method of Slices 1..... 2. Taylor Method วิธีนี้ใช้ในกรณีของผิวเคลื่อนพังเป็นส่วนโค้งของวงกลม ซึ่งเสนอโดย Prof. Taylor (1943) มีข้อจำกัดที่จะใช้ได้เฉพาะลาดดินที่มีเนื้อดินชนิดเดียวและหน้าตัดไม่ยุ่งยาก (Homogeneous simple slope) 3. วิธีโมเมนต์ กรณีที่ผิวเคลื่อนพังเป็นส่วนโค้งของวงกลมในชั้นดินเหนียวที่มีการก่อสร้างโดยรวดเร็ว (Undrained Strength Analysis ,Su) 4. วิธี Ordinary Method of Slices ใช้ได้กับลักษณะผิวเคลื่อนได้หลายลักษณะ ทำได้โดยการแบ่งมวลดินในผิวเคลื่อนพัง (Sliding mass) ออกเป็นชิ้นๆ ตามแนวดิ่ง จากผิวดินจนถึงผิวเคลื่อนด้านล่าง โดยการนำเอาแรงที่กระทำต่อดินในแต่ละชั้นซึ่งอยู่ในสภาพสมดุลมาพิจารณา 5. วิธี Simplified Bishop มีการแบ่งมวลดินออกเป็นชิ้น หรือแท่งเช่นเดียวกับ Slices Method แต่ได้พิจารณาแรงและสมดุลของแรงละเอียดขึ้น คือ คิดสมดุลของ Moment ของแท่งดินแต่ละแท่งด้วยแทนที่จะคิดเฉพาะแรงของมวลดินทั้งหมดแต่เพียงอย่างเดียว แล้วยังนำเอาแรงที่กระทำด้านข้างของแท่งดินมาพิจารณาด้วย 6. Wedge Method ลาดดินหรือลาดหินธรรมชาติที่มีแนวดินอ่อนบังคับแนวพิกัด... 5. วิธี Simplified Bishop 6. Wedge Method
19
1.เขียน Flownet ของน้ำที่ซึมผ่านตัวเขื่อน
ตัวอย่างการคำนวณ 1.เขียน Flownet ของน้ำที่ซึมผ่านตัวเขื่อน 2.เลือกจุดศูนย์กลางและรัศมีของวงกลม ใช้ได้กับลักษณะผิวเคลื่อนได้หลายลักษณะ ทำได้โดยการแบ่งมวลดินในผิวเคลื่อนพัง (Sliding mass) ออกเป็นชิ้นๆ ตามแนวดิ่ง จากผิวดินจนถึงผิวเคลื่อนด้านล่าง โดยการนำเอาแรงที่กระทำต่อดินในแต่ละชั้นซึ่งอยู่ในสภาพสมดุลมาพิจารณา 3.แบ่งมวลดินเหนือผิวเคลื่อนพังเป็นชิ้นๆ
20
ตัวอย่างการคำนวณ 4.วัดความกว้าง ความสูงเฉลี่ยของแท่งดิน 5.คำนวณน้ำหนักของแท่งดิน 6. คำนวณแรงต้านที่เกิดจาก cohesion
21
ตัวอย่างการคำนวณ 7. คำนวณแรงดันดิน และแรงดันน้ำตั้งฉากผิวเคลื่อน 8. คำนวณแรงต้านที่เกิดจาก friction 9. คำนวณแรงฉุดลงตามแนวขนานผิวเคลื่อน 10.คำนวณอัตราส่วนปลอดภัย
23
KU SLOPE Phreatic line Rock F 3 1 2 4 5 6 8 7 B A D C E 1.45 1.43 1.52
1.55 1.48 1.43 1.51 1.64 1.68 1.66 1.62 1.50 1.47 1.71 1.49 1.45 1.43
25
วิธีการการตัดเปลี่ยนลาด การแก้ไขซ่อมแซมลาดดิน วิธีการเพิ่มความแข็งแรง
วิธีการระบายน้ำ วิธีการเพิ่มความแข็งแรง
26
1. วิธีการการตัดเปลี่ยนลาด (Geometrical Methods)
ลดความสูง ลดลาดชัน
27
1. วิธีการการตัดเปลี่ยนลาด (Geometrical Methods)
การตัดส่วนบนแล้วถมส่วนล่าง
28
2. วิธีการระบายน้ำ (Hydrological Methods)
Horizontal Drain
29
2. วิธีการระบายน้ำ (Hydrological Methods)
Pump Pump Drain
30
2. วิธีการระบายน้ำ (Hydrological Methods)
Surface Drain
31
3. วิธีเพิ่มความแข็งแรง (Strength Improvement Method)
กำแพงกันดิน เข็มเสริมแรง
32
3. วิธีเพิ่มความแข็งแรง (Strength Improvement Method)
Cement Jet Grouting Rock Bolting
33
3. วิธีเพิ่มความแข็งแรง (Strength Improvement Method)
Rock Berm
34
3. วิธีเพิ่มความแข็งแรง (Strength Improvement Method)
Shotcrete
35
3. วิธีเพิ่มความแข็งแรง (Strength Improvement Method)
Gabion
36
หมวด ง. งานดิน งานบดอัดดิน
หมวด ง. งานดิน งานบดอัดดิน
37
หมวด ง. งานดิน งานบดอัดดิน
หมวด ง. งานดิน งานบดอัดดิน
38
หมวด ง. งานดิน งานบดอัดดิน
หมวด ง. งานดิน งานบดอัดดิน เพิ่มความสามารถในการรับน้ำหนักดิน ป้องกันการทรุดตัวของดิน เพิ่มเสถียรภาพ ลดอัตราการซึมผ่านน้ำ ลดอัตราการทรุดตัวของดิน
39
หมวด ง. งานดิน งานบดอัดดิน
หมวด ง. งานดิน งานบดอัดดิน ความเสียหายจากการบดอัดดินไม่ได้มาตรฐาน
40
หมวด ง. งานดิน งานถมดินและบดอัดดินคันสระเก็บน้ำ
หมวด ง. งานดิน งานถมดินและบดอัดดินคันสระเก็บน้ำ
41
หมวด ง. งานดิน งานถมดินและบดอัดดินคันสระเก็บน้ำ
หมวด ง. งานดิน งานถมดินและบดอัดดินคันสระเก็บน้ำ ดินที่นามาใช้บดอัด ต้องได้รับการผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันเป็นอย่างดีเพื่อที่จะได้ดินที่มีคุณภาพสูง เศษหิน หรือก้อนดินแข็งที่มีขนาดโตกว่า 15 ซม. ต้องเก็บทิ้งไปก่อนทาการบดอัด การถม ให้ถมเกลี่ยเป็นชั้น ๆ ในแนวราบ การถมดินแต่ละชั้นก่อนบดอัดไม่หนากว่า 30 ซม. ชั้นดินแต่ละชั้นเมื่อทาการบดอัดแล้วต้องหนาไม่เกิน 15 ซม. ความชื้นของการบดอัดดินแต่ละชั้นอนุโลมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ไม่มากกว่า และไม่น้อยกว่า 3 เปอร์เซ็นต์ แต่ละชั้นจะต้องบดอัดให้มีความหนาแน่นแห้งไม่น้อยกว่า 95 % Standard Compaction Test
42
หมวด ง. งานดิน งานถมดินและบดอัดดินคันสระเก็บน้ำ
หมวด ง. งานดิน งานถมดินและบดอัดดินคันสระเก็บน้ำ ปัจจัยให้ได้การบดอัดที่ดี ■ ชนิดของวัสดุคัดเลือก(ดิน) ■ ความชื้นที่เหมาะสม ■ เครื่องจักรที่ใช้ในการบดอัดดิน
43
หมวด ง. งานดิน งานถมดินและบดอัดดินคันสระเก็บน้ำ
หมวด ง. งานดิน งานถมดินและบดอัดดินคันสระเก็บน้ำ วัสดุที่ใช้ทำคันดิน ดินเหนียว ดินลูกรัง - ผ่านตะแกรง #200 ≥ 25 % - มีกรวดและหินปน < 5 % - Plasticity Index ≥ 10 % - ขนาดวัสดุ < 2 “
44
Compaction Maximum Dry Density
Density) เรียก “Optimum Moisture Content, OMC ” ENCI 579
45
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน ชนิดของเครื่องจักรบดอัดดิน จำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ■ การใช้น้ำหนักกดทับหรือกระแทก(Impact) : รถบดล้อเหล็ก ■ การใช้แรงดันลมหรือน้ำ(Pressure) : รถบดล้อยาง ■ การย้ำ(Kneading) : รถบดตีนแกะ ■ การสั่นสะเทือน(Vibration) : รถบดสั่นสะเทอนล้อเรียบ การปรับปรุงคุณภาพดินโดยบดอัดทำให้ดินมีกำลังต้านทานน้ำหนัก หรือแรงมากขึ้น ลดการทรุดตัวของชั้นดิน และ ลดการซึมน้ำของดิน (Permeability) อนึ่ง ในทางปฏิบัติ การบดอัดดินกระทำได้หลายวิธี โดยแต่ละวิธีเหมาะสมสำหรับ ดินต่างประเภทกัน เช่น การใช้น้ำหนักกดทับ (Static weight compaction) การกระแทก หรือตอก (Impact) การย้ำ (Kneading) การสั่นสะเทือน (Vibrating)
46
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
47
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
48
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
49
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
50
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
51
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
52
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
53
Fog rammer หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน Fog rammer Range from hand-guided machines to larger roller combinations Suitable for: most soils with low to moderate fines content Unsuitable for: large volume work wet clayey soils Also called a 'trench tamper' Hand-guided pneumatic tamper Suitable for: trench back-fill work in confined areas Unsuitable for: large volume work
54
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน ความสามารถของเครื่องจักรกลบดอัดดินและการบดอัดดินโดยวิธีต่าง ๆ
55
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน
หมวด ง. งานดิน เครื่องจักรสำหรับการถมบดอัดดิน ความสามารถของเครื่องจักรกลบดอัดดินและการบดอัดดินโดยวิธีต่าง ๆ
56
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ การกัดเซาะตลิ่ง การกัดเซาะตลิ่งเกิดขึ้นเมื่อแรงกัดเซาะเนื่องจากการไหลของกระแสน้ำเกินกว่าแรงต้านทานของดินริมตลิ่ง ทำให้เม็ดดินถูกพัดพาไหลหลุดออกมา อันอาจจะนำไปสู่การพังทลายของตลิ่งได้ สาเหตุการกัดเซาะของตลิ่งที่สำคัญสามารถจำแนกได้ดังต่อไปนี้ การกัดเซาะเนื่องจากการไหลของกระแสนํ้า (Erosion by Current Flow) การกัดเซาะเนื่องจากคลื่น (Erosion by Wave Action) การกัดเซาะทางกล (Erosion by Mechanical Action) การกัดเซาะเนื่องจากการซึมผ่านของนํ้าในมวลดิน (Erosion Due to Seepage) การกัดเซาะเนื่องจากการไหลของนํ้าผิวดิน (Erosion due to Surface Runoff)
57
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ การกัดเซาะตลิ่ง การกัดเซาะตลิ่งเกิดขึ้นเมื่อแรงกัดเซาะเนื่องจากการไหลของกระแสน้ำเกินกว่าแรงต้านทานของดินริมตลิ่ง ทำให้เม็ดดินถูกพัดพาไหลหลุดออกมา อันอาจจะนำไปสู่การพังทลายของตลิ่งได้ สาเหตุการกัดเซาะของตลิ่งที่สำคัญสามารถจำแนกได้ดังต่อไปนี้ การกัดเซาะเนื่องจากการไหลของกระแสนํ้า (Erosion by Current Flow) การกัดเซาะเนื่องจากคลื่น (Erosion by Wave Action) การกัดเซาะทางกล (Erosion by Mechanical Action) การกัดเซาะเนื่องจากการซึมผ่านของนํ้าในมวลดิน (Erosion Due to Seepage) การกัดเซาะเนื่องจากการไหลของนํ้าผิวดิน (Erosion due to Surface Runoff)
58
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
59
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ การกัดเซาะเนื่องจากการไหลของกระแสนํ้า (Erosion by Current Flow) กระแสน้ำขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ปริมาณการไหลของน้ำ ความเร็วของกระแสน้ำ ขนาดและความลาดเอียงของลำน้ำ รวมทั้งรูปร่างความคดเคี้ยวของลำน้ำก็เป็นปัจจัยสำคัญ ที่มีผลต่อการกัดเซาะ ลำน้ำที่มีความคดเคี้ยวมากการกัดเซาะจะเป็นไปอย่างรุนแรง (ก) ลำนํ้าตรง (Straight Channels) การไหลของกระแสน้ำในลำน้ำตรงทำให้เกิดหน่วย แรงเฉือนขึ้นที่ผิวสัมผัสระหว่างผิวดินและน้ำ ซึ่งเรียกหน่วยแรงเฉือนดังกล่าวว่า หน่วยแรงเฉือนที่ ขอบ (Boundary Shearing Stress) ซึ่งขนาดของหน่วยแรงเฉือนขึ้นอยู่กับความเร็วของกระแสน้ำ รูปร่างของหน้าตัด ความลาดเอียง และระดับความลึกในลำน้ำ (ข) ลำนํ้าที่ไม่สม่ำเสมอ (Irregular Channels) ลำน้ำที่มีความไม่สม่ำเสมอ (เช่น ลำน้ำที่มี การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของหน้าตัด การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของลำน้ำ เป็นต้น) ทำให้เกิดการไหล ของกระแสน้ำรอง ซึ่งการไหลดังกล่าวทำให้การไหลตามยาวในลำน้ำหรือการไหลหลักเกิดการ ปั่นป่วน อันมีผลต่อการกระจายของค่าหน่วยแรงเฉือนที่ขอบ
60
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ การกัดเซาะเนื่องจากคลื่น (Erosion by Wave Action) คลื่นเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิด การกัดเซาะขึ้นในลำน้ำโดยเฉพาะในบริเวณลาดตลิ่ง สาเหตุการเกิดคลื่นในลำน้ำแยกออกได้เป็น 2 สาเหตุ ดังนี้ (ก) คลื่นที่เกิดจากลม (Wind-Generated Waves) ความแรงของคลื่นประเภทนี้ขึ้นอยู่กับ ความเร็วลม ความถี่และระยะเวลาที่ลมพัด รวมทั้งระยะทางเปิดที่ลมพัดผ่าน (รูปที่ 8) (ข) คลื่นที่เกิดจากเรือ (Boat-Generated Waves) เกิดขึ้นจากการสัญจรของเรือในลำน้ำ ความรุนแรงของคลื่นขึ้นอยู่กับประเภท รูปร่าง ขนาด และความเร็วของเรือ รวมทั้งขนาดและรูปร่าง ของลำน้ำด้วย
61
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ การกัดเซาะทางกล (Erosion by Mechanical Action) สาเหตุการกัดเซาะทางกลมีอยู่ หลายประเภท ตัวอย่าง ได้แก่ (ก) การกระแทกของเรือเมื่อเรือเทียบฝั่ง รวมทั้งการฝังหมุดเพื่อยึดเรือ (ข) การขยายและหดตัวของดินสลับกันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเกิดขึ้นจากการที่ดินมีสภาพชุ่มน้ำ และแห้งสลับกัน ผลทำให้ดินเกิดการล้าตัวและหลุดร่อน (ค) การกัดเซาะเนื่องจากการกระทำของมนุษย์ การกัดเซาะประเภทนี้ได้แก่ การสร้าง สิ่งก่อสร้าง เช่น สะพาน ฝายน้ำล้น ท่าเทียบเรือ สิ่งก่อสร้างเหล่านี้ทำให้เกิดผลกระทบกับลำน้ำและ เกิดการกัดเซาะตลิ่งขึ้นได้ นอกจากนี้การทำลายหญ้าหรือวัชพืชปกคลุมตลิ่ง ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ เกิดการกัดเซาะและพังทลายของตลิ่งได้
62
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ การกัดเซาะเนื่องจากการซึมผ่านของนํ้าในมวลดิน (Erosion Due to Seepage) การซึม ผ่านนี้ทำให้เกิดแรงดันน้ำในมวลดิน ซึ่งสามารถกัดเซาะเม็ดดินออกเป็นโพรง (Piping) ได้
63
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ การกัดเซาะเนื่องจากการไหลของนํ้าผิวดิน (Erosion due to Surface Runoff) การกัด เซาะในกรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อปริมาณน้ำฝนสูงกว่าอัตราการซึมได้ของน้ำในดิน ทำให้เกิดการไหลหลาก ของน้ำบนผิวดิน การที่น้ำผิวดินไหลผ่านตลิ่งอาจทำให้ผิวตลิ่งเกิดการกัดเซาะขึ้นได้ การปลูกหญ้า หรือวัชพืชคลุมตลิ่งจะทำให้ความรุนแรงของการกัดเซาะในลักษณะนี้ลดน้อยลงได้
64
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ การก่อสร้างระบบป้องกันตลิ่ง งานปลูกหญ้า งานดาดคอนกรีต งานหินเรียงและหินเรียงยาแนว งานกล่องลวดตาข่ายบรรจุหิน การกัด เซาะในกรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อปริมาณน้ำฝนสูงกว่าอัตราการซึมได้ของน้ำในดิน ทำให้เกิดการไหลหลาก ของน้ำบนผิวดิน การที่น้ำผิวดินไหลผ่านตลิ่งอาจทำให้ผิวตลิ่งเกิดการกัดเซาะขึ้นได้ การปลูกหญ้า หรือวัชพืชคลุมตลิ่งจะทำให้ความรุนแรงของการกัดเซาะในลักษณะนี้ลดน้อยลงได้
65
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานปลูกหญ้า การป้องกันและควบคุมการกัดเซาะขึ้นอยู่กับความ เข้าใจกลไกของกระบวนการกัดเซาะ การกัดเซาะประกอบด้วย กระบวนการพื้นฐานสองกระบวนการคือ 1) การหลุดออก ของเม็ดดิน 2) การเคลื่อนย้ายของเม็ดดิน การป้องกันการกัดเซาะประกอบ ด้วย 1) ลดแรงดึงลากโดยลดความเร็วของน้ำ ที่ไหลผ่าน ผิวดินโดยกระจายพลังงานของน้ำ ไปในพื้นที่ป้องกัน 2) เพิ่มความต้านทานการกัดเซาะด้วยการเสริมความ แข็งแรงแก่ผิวดินบริเวณนั้นโดยการเพิ่มการเชื่อมยึด ระหว่างเม็ดดิน Vegetation - Disadvantages On high banks tree roots may be not able to stabilize toe and weight of tree will cause bank failure when undercut May be hard to grow in some areas May suffer wildlife or livestock damage Only certain plants can withstand conditions (wetting/drying, freeze/thaw, etc.) Shrubs can result in significant hydraulic resistance during flooding
66
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานคอนกรีตดาด
67
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานหินเรียงและหินเรียงยาแนว หินเรียงคือหินใหญ่ที่มีขนาดส่วนคละ (มีขนาดโตกว่า 3” หรือ 75 มม.ขึ้นไป) มีความ แข็งแกร่ง แน่น ไม่แตกง่ายและทนต่อการสึกหรอสูง นำมาเรียงให้เข้ามุมกันอย่างหนาแน่น และเสริมช่องว่าง ด้วยหินขนาดเล็กกว่า เพื่อใช้ในการป้องกันการกัดเซาะของกระแสน้ำ และเนื่องจากหินเรียงจัดเรียงได้แน่นและประณีตกว่าหินทิ้ง โดยทั่วไปความหนาของชั้นหินเรียงไมค่ วรน้อยกว่า 1.5เท่า ของขนาดโตที่สุดของก้อนหิน หินเรียงยาแนว เป็นการนำหินเรียงที่ออกแบบไว้นำมาเรียงให้เข้ามุมกันอย่างแน่นหนา แต่ ช่องว่างระหว่างก้อนหินให้ประสานด้วยปูนทราย (Mortar) (ปูนซีเมนต์ : ทราย = 1:3 โดยปริมาตร และ ปริมาณน้ำที่ใช้ผสมให้มีปริมาณพอเหมาะกับการใช้งาน) ในการทำหน้าที่เป็นตัวประสานปูทรายนั้น ต้องเติม ลงไปในช่องว่างระหว่างก้อนหิน โดยให้รอยต่อของหินทุกก้อนมีปูนทรายประสานอย่างสมบูรณ์ รอยต่อของ ปูนทรายนั้นต้องปาดให้เรียบร้อยสม่ำเสมอในทุกรอยต่อ สำหรับหินเรียงที่มีน้ำไหลผ่านอยู่เสมอ เช่น หินเรียง ที่ปลายท่อระบายน้ำ หรือลาดเอียงที่มีการระบายน้ำผ่านการตบแต่ง ผิวของปูนทรายต้องเรียบและเสมอกับผิว ของก้อนหินที่เรียงเพื่อให้ผิวทั้งหมดเรียบเหมาะกับการระบายน้ำ หินเรียงยาแนวนิยมนำมาใช้ป้องกันใน บริเวณที่มีการกัดเซาะรุนแรง เช่นบริเวณตีนเชิงลาดที่ติดกับพื้นของทางน้ำ เป็นต้น และใช้กับอาคารชล ศาสตร์ที่มีความสำคัญ สำหรับการออกแบบขนาดของหินเรียงที่ใช้และความหนาของชั้นหินเรียงยาแนวจะ พิจารณาเชน่ เดียวกันกับหินเรียง และโดยทั่วไปความหนาของชั้นหินเรียงยาแนวไมค่ วรน้อยกว่า 1.20เท่าของ ขนาดโตที่สุดของก้อนหิน หินเรียง(Riprap) หินเรียงยาแนว(Mortar Riprap)
68
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานหินเรียงและหินเรียงยาแนว การป้องกันการกัดเซาะดินของน้ำ จะทำการออกแบบในกรณีที่ความเร็วของกระแสน้ำมีค่า สูงเพียงพอที่จะเกิดการกัดเซาะ โดยเฉพาะในบริเวณลาดตลิ่งของลำน้ำที่คดโค้ง และบริเวณพื้นท้องน้ำและ บนลาดด้านข้าง ด้านท้ายน้ำและเหนือน้ำของอาคารฝายน้ำล้น ทางระบายน้ำล้นและอาคารบังคับน้ำ เป็นต้น สำหรับค่าความเร็วที่มากที่สุดของน้ำยอมให้และไม่เกิดการกัดเซาะดินซึ่งเสนอแนะโดย Fortier และ Scobey (1973)
69
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานหินเรียงและหินเรียงยาแนว หินทีจะต้องแกร่ง ทนทาน ปราศจากส่วนประกอบของแร่ยิปซัม แอนไฮไดรท์ หินดินดาด หินเนือ0 อ่อนหรือหินผุ มีรูปร่างค่อนข้างกลมมีส่วนแบนเรียวน้อย ไม่มีรอยแตกร้าวหรือลักษณะอืนใดทีแสดงให้ เห็นว่า จะไม่ทนทานต่อการกัดเซาะและมี ถ.พ.ไม่น้อยกว่า 2.65 หินขนาด เซนติเมตร มาเรียงให้ชิดกันให้มากทีสุดและเสริมช่องว่างของหินด้วยหิน ขนาดเล็กกว่าให้เข้ามุมกันอย่างแน่นหนา พยายามจัดให้ผิวหน้าของหินเรียงได้ระดับสมําเสมอกันและได้ ความหนาประมาณ 40 เซนติเมตร หรือตามทีแบบกำหนด
70
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานกล่องตาข่ายบรรจุหิน(Gabion and Mattress กล่องเกเบี้ยน หรือกล่องลวดบรรจุหิน คือ กล่องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทำจากลวดเหล็กตีเกลียวคู่ ทอเป็นตาข่ายถักเป็นรูปหกเหลี่ยม บรรจุหินอยู่ภายในกล่อง แผ่นตาข่ายแต่ละชิ้นซึ่งประกอบขึ้นเป็นกล่องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ผลิตจากลวดเหล็กชุบสังกะสีกันสนิม ตามมาตรฐานสากล หรือลวดเหล็กชุบสังกะสีและหุ้มพีวีซีหนา มม. อีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการกัดกร่อนของน้ำทะเลหรือมลพิษจากสภาวะแวดล้อมเป็นกรณีพิเศษ ขอบทุกด้านของกล่องเสริมความแข็งแรงด้วยลวดโครงกล่องที่มีขนาดใหญ่กว่าลวดตาข่าย ภายในกั้นเป็นช่อง โดยมีแผ่นกระบังกันทุกๆ 1 เมตร Gabion Mattress
71
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานกล่องตาข่ายบรรจุหิน(Gabion and Mattress การออกแบบ Gabion การออกแบบกำแพงกล่องเกเบี้ยน (Gabion Wall) คล้ายกับวิธีการออกแบบกำแพงกันดิน กล่องเกเบี้ยนจะต้องวางบนชั้นดินฐานรากที่แน่น มั่นคง และแข็งแรง เพื่อป้องกันการยุบตัวและการพังทลายของดินฐานราก เนื่องจากน้ำหนักของตัวกล่องเกเบี้ยนเอง ต้องทำการบดอัดชั้นดินฐานรากให้ได้ความแน่นแห้งไม่น้อยกว่า 95% ของความแน่นแห้งสูงสุด การออกแบบกำแพงกล่องเกเบี้ยน (Gabion Wall) คล้ายกับวิธีการออกแบบกำแพงกันดิน โดยการพิจารณาน้ำหนักรวมของโครงสร้างกำแพงกล่องเกเบี้ยนที่ใช้ต้านทานแรงดันด้านข้างที่เกิดจากมวลดินหลังกำแพง การออกแบบจะเริ่มจากการกำหนดขนาดของกำแพงที่ใช้ จากนั้นจะพิจารณาแรงดันที่กระทำต่อกำแพงเพื่อตรวจสอบโมเมนต์ที่จะทำให้กำแพงเกิดการพลิกคว่ำ (Overturning) ตรวจสอบแรงต้านทานการเลื่อนไถล (Sliding) ตรวจสอบกำลังรับน้ำหนักแบกทานของดินฐานราก (BearingCapacity) และตรวจสอบเสถียรภาพโดยรวม (Overall Stability) ของโครงสร้าง ดังรูปที่ 4 เพื่อให้โครงสร้างมีอัตราส่วนความปลอดภัย (Factor of Safety) ที่เหมาะสม และหากโครงสร้างที่กำหนดเบื้องต้นเกิดการพังทลายในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งให้ปรับขนาดของโครงสร้างและตรวจสอบการพังทลายแบบต่างๆ กล่องเกเบี้ยนจะต้องวางบนชั้นดินฐานรากที่แน่น มั่นคง และแข็งแรง เพื่อป้องกันการยุบตัวและการพังทลายของดินฐานราก เนื่องจากน้ำหนักของตัวกล่องเกเบี้ยนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฐานรากของกำแพงกันดินแบบเกเบี้ยน ต้องปราศจากชั้นดินอ่อนหรือวัสดุอื่นใดที่มีกำลังรับน้ำหนักได้น้อย และต้องทำการบดอัดชั้นดินฐานรากให้ได้ความแน่นแห้งไม่น้อยกว่า 95% ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตาม ทล.-ม.107/2517
72
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานกล่องตาข่ายบรรจุหิน(Gabion and Mattress 1. แกะกล่อง Gabion แต่ละกล่องลงบนพื้นผิวที่แข็งและเรียบ แผ่กล่องออกและกดตรงที่มี รอยบิดงอให้เรียบ ตรวจสอบว่าทุกรอยพับอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องในการประกอบเป็ น กล่อง 2. ห่อแต่ละข้างและปลายแผ่นไม้ไปยังตำแหน่งที่ตั้งตรงเพื่อสร้างกล่องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ต่อ มุมบนของกล่องเข้าด้วยกันด้วยสายผ้าที่ทอขึ้นมาอย่างหนา ยึดจากมุมของแผ่นไม้แต่ละ แผ่น ตรวจสอบว่ายอดทั้งสี่ด้านของกล่องนั้นเท่ากัน 3. เริ่มพันลวดโดยยึดลวดที่ใช้ยึดที่มุมบนของแผ่นไม้ซึ่งถูกเชื่อมโดยการร้อยผ่านและบิดเข้า ด้วยกัน จากนั้นร้อยลวดรอบผ้าที่ใช้ยืนเป็นวงเดี่ยวและสองวงโดยร้อยเมื่อช่องว่างมีความ กว้าง 100 mm (4 นิ้ว)สุดท้าย คาดลวดยึดไว้ตรงมุมล่าง และดันตรงปลายที่หลวมด้านใน ของกล่อง Gabion ต่อมา ดึงแผ่น Diaphragm ไปตรงตำแหน่งในแนวดิ่ง และผูกลวดไปยัง ด้านของแผ่นไม้ในแบบเดียวกัน 4. ร้อยกล่อง Gabion เข้าด้วยกัน โดยใช้วิธีเดียวกับการประกอบกล่อง Gabion เดียว วางลง โดยให้ด้านหน้าชนด้านหน้า ด้านหลังชนด้านหลัง 5. วางกล่อง Gabion ที่ว่าง หรือ ในตำแหน่งยึดจุดปลายจากจุดที่เริ่มโดยแท่งที่ผ่านมุมทั้งสอง ลงไปยังพื้นและยึดอย่างมั่นคงกับหลักยึดที่ดี เป็นสิ่งสำคัญที่หลักยึดจะต้องอยู่อย่างน้อยที่ ความสูงของกล่อง Gabion เพื่อป้องกันการพังทลาย กล่อง Gabion ที่ว่างที่เหลือจะถูก นำไปร้อยเข้าด้วยกันตามกระบวนการ แผ่ด้านตรงข้ามหรือปลายกล่องโดยแทรกไม้เข้าไป ที่มุมล่าง และยกมันขึ้นไปทางด้านหน้า ยอดและฐานจะแผ่อยู่อย่างนั้นจนกว่ากล่อง Gabion จะถูกบรรจุโดยยึดเข้ากับจุดยืด เช่น หมุดที่ปักลงพื้น และร้อยอยู่กับกล่อง Gabion ข้างใต้
73
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ
หมวด จ. งานป้องกันการกัดเซาะ งานกล่องตาข่ายบรรจุหิน(Gabion and Mattress 1. บรรจุทุกชิ้นส่วนด้านนอกของกล่อง Gabion สูง 1 เมตร เพียงแค่ 1/3 ของความสูงสำหรับ ในตอนแรก จากนั้นซ่อมลวดที่ใช้รั้งในแนวขวางในกล่อง Gabion โดยตรงเหนือระดับ ของหินในส่วนเหล่านั้นและ Spanish เครื่องกว้านลวดที่ใช้รั้งเพื่อทำให้ผิวหน้าเสมอกัน และเป็นอิสระจากการขยายขนาดจากนั้นบรรจุเป็น 2/3 และทำการรั้งอีกครั้งสุดท้าย บรรจุ ด้านบน กล่อง Gabion ขนาด 500 mm ถูกบรรจุโดยการยกสองครั้ง และการรั้งที่ความจุครึ่ง เดียว ไม่จำเป็นต้องทำการรั้งกับกล่อง Gabion 330 mm ปรับระดับการบรรจุเป็น 25 mm- 50 mm (1-2 นิ้ว) เหนือผิวตาข่ายเพื่อให้เกิดการปักหลัก ซึ่งใช้ได้ดีกับวัสดุขนาดเล็ก ตามทางที่กระแสน้ำไหลของฝาย และในที่ๆ คล้ายกันซึ่งน้ำจะไหลโดยตรงไปยังกล่อง Gabion ทำให้ลวดรั้งในแนวตั้งระหว่างผิวและก้นตาข่ายพอดี 2. ตัวรั้งยึดกับแผ่นไม้ด้านข้างเข้าด้วยกันทำให้ร้อยเชือกได้ง่ายและเร็ว ปลายแถว ของลวดที่อยู่ก่อนหน้ากับกล่อง Gabion ที่ว่าง จะถูกยืดอย่างแน่นกับหลักยึดที่ดี และปลาย อีกด้านเชื่อมอยู่กับ Tirfor ซึ่งก็คือแท่งไม้และคานกระจาย เมื่อมีแรงดึงมากพอใช้กับความ ยาว (ถึง 30m) Gabion จะถูกพันลงไปยังเส้นทางด้านล่าง ลากนั้นก็ถูกบรรจุ (ถ้าเป็น เส้นทางช่วงที่ 2 หรือมากกว่านั้น) หรือถูกบรรจุในทันที (ถ้ากล่อง Gabion ต่อเป็นช่วงฐาน) 3.หินที่จะนำมาบรรจุภายในกล่องควรมีขนาดตั้งแต่ 1ถึง 2 เท่าของขนาดของช่องตาข่าย (D ~8 ซม.) ดังรูปที่ 2 กล่าวคือ หินต้องมีขนาดใหญ่พอที่จะไม่หลุดออกจากช่องเปิดลวดตาข่ายนั่นเอง ดังนั้นหินที่ใช้ในกล่องจึงมีขนาดตั้งแต่ 10ถึง 25 ซม. การใช้หินขนาดเล็ก (ประมาณ 1 ถึง 1.5D)ก็มีความจำเป็นเพื่อช่วยให้การจัดเรียงของก้อนหินมั่นคงขึ้น ช่วยกระจายแรงกระทำจากภายนอก และลดการเสียรูปของโครงสร้างได้ กล่องเกเบี้ยนที่มีความสูง 1 เมตร ควรใส่หิน 1/3 ของความสูงก่อน และใช้หินก้อนเล็กแทรกลงไปจะทำให้ช่องว่างลดลงได้ หากต้องการให้ผิวด้านหน้าและทุกๆด้านที่เห็นได้ชัดเจนดูสวยงามควรใช้คนจัดเรียงหิน
74
เอกสารอ้างอิง เพื่อการออกแบบ
พรบ.ขุดดิน 2543 กฏกระทรวงขุดดิน 2548 มยผ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความชื้น และความแน่นของดินหรือทดสอบความแน่นของดินที่บดอัดในห้องปฏิบัติการ (MOISTURE DENSITY RELATION OF SOIL OR COMPACTION TEST) OSHA; Occupational Safety and Health Division N.C. Department of Labor Use of Riprap for Bank Protection; U.S. DEPARTMENT OF TRANSPORTATION FEDERAL HIGHWAY ADMINISTRATION BUREAU OF PUBLIC ROADS Slope-Stability-Determination-Guidelines; Occupational Safety and Health Division N.C. Department of Labor Soil Compaction Handbook; MULTIQUIP INC. งานถมดินบดอัดแน่น งานขุดดิน การระเบิดหิน และการขนย้ายวัสดุ กรณีงานก่อสร้างอ่างเก็บน้า; กรมชลประทาน การศึกษาปรับปรุงเสถียรภาพลาดดินในทางหลวงหมายเลข 41;มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การป้องกันการกัดเซาะหน้าดินด้วยเส้นใยธรรมชาติปกคลุมดิน ผสมผสานการปลูกพืชคลุมดิน;วารสารวิชาการพระ จอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2556 มาตรฐานรายละเอียดและคุณลักษณะทางวิศวกรรมงานหินทิ้ง หินก่อ หินเรียง หินเรียงยาแนว; กรมชลประทาน
75
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.