ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสร้างตัวชี้วัด แผนปฏิบัติงาน
และการติดตามประเมินผล
2
เรื่องของตัวชี้วัด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Key Result Indicator -KRI ) แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลง (เราได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง) ใช้สำหรับการประเมินผล หรือการรายงานให้ผู้คุมนโยบายหรือผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งสังคมทั่วไปทราบ แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้มีหน้าที่บริหารจัดการเพราะไม่สามารถใช้ปรับทิศทางของงานได้เนื่องจากงานเสร็จสิ้นไปแล้ว ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator-PI) แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ (เราต้องทำอะไรบ้าง) ใช้โดยองค์กรระดับกลางและระดับปฏิบัติการเพื่อควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือในการวางแผนการเงินและงบประมาณ รวมทั้งการประเมินหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator- KPI) มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคตเท่านั้น ใช้สำหรับติดตามงาน และปรับทิศทางที่ต้องทำทันทีที่เกิดปัญหาต่องานที่เป็น “หัวใจของความสำเร็จ” (Critical Success Factor-CSF) นอกจากนี้ ยังใช้สำหรับกำหนดและติดตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า และต้องมีการติดตามดูความเคลื่อนไหวของตัวชี้วัดอย่างใกล้ชิดโดยผู้ปฏิบัติและผู้จัดการ ตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า
3
กระบวนการเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพจากภาครัฐสู่ภาคประชาชน
เพื่อประสิทธิภาพ เพื่อผลกระทบ(Impact) ความพร้อมของทรัพยากร สร้างตัวชี้วัด Issue-based Activity-based ภาครัฐ Innovate & Create ภาคประชาชน Command & Control
4
บทบาทที่ต้องพัฒนาใหม่เพื่อผลกระทบที่ดีกว่า
การบูรณาการประเด็นปัญหา Spider-web Diagram บทบาทที่ต้องพัฒนาใหม่เพื่อผลกระทบที่ดีกว่า
5
3.สื่อสารเพื่อปรับพฤติกรรม
การกำหนดค่ากลางสำหรับโครงการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม 1.เฝ้าระวัง/คัดกรอง 2. มาตรการสังคม 3.สื่อสารเพื่อปรับพฤติกรรม 4.ปรับแผนงาน/โครงการ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม มาตรฐานวิชาการ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม นวัตกรรม ยังไม่มีค่ากลาง
6
ตารางบูรณาการ : การจัดการกลุ่มวัย
กิจกรรม โรคไม่ติดต่อ โรคติดต่อ โภชนาการ กลุ่มงาน 1. การเฝ้าระวัง/ คัดกรอง โดยประชาชน บูรณาการ 2. การดำเนินมาตรการ ทางสังคม บรรจุงานจากค่ากลางลงในช่องต่างๆ ให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง บูรณาการงานตามหัวข้อกิจกรรม เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ (แยกไปทำโครงการเฉพาะ) 3. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การปรับแผนงาน/ โครงการของ ท้องถิ่น/ตำบล 5. การจัดการ กลุ่มเป้าหมาย รวมงานทั้งหมดเป็น 1 กลุ่มงาน
7
ตารางบูรณาการ : การจัดการสภาวะแวดล้อม
สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ สังคม/เศรษฐกิจฯ กิจกรรม อาหารปลอดภัย คุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มงาน 1. การเฝ้าระวัง/ คัดกรอง โดยประชาชน บูรณาการ 2. การดำเนินมาตรการ ทางสังคม บรรจุงานจากค่ากลางลงในช่องต่างๆ ให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง บูรณาการงานตามหัวข้อกิจกรรม เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ (แยกไปทำโครงการเฉพาะ) 3. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การปรับแผนงาน/ โครงการของ ท้องถิ่น/ตำบล
8
การสร้างโครงการแบบบูรณาการ
บูรณาการงานใน 5 กิจกรรม สำคัญของ SRM กลุ่มงานใช้สร้างโครงการ บูรณาการงานใน 4 กิจกรรม สำคัญของ SRM
9
ทางเดินของข้อมูลและตัวชี้วัดในระบบสุขภาพอำเภอ
ผู้ปฏิบัติใช้ ปรับปรุงงานตลอดเวลา ทุกเดือน ทุก 3 เดือน
10
กระบวนการจัดการตัวชี้วัดและการรายงานภายในจังหวัด
11
การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการในระดับอำเภอ / ตำบล
ระดับ ผู้ปฏิบัติ (ท้องถิ่น/ตำบล) ระดับ ผู้จัดการ (อำเภอ/จังหวัด) PI/KPI ไปเขต/ส่วนกลาง PI/KPI จัดระดับโครงการที่ 1 และ 2 (Grading) ส่วนโครงการที่ 3 เพียงรายงานความก้าวหน้า
12
การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ ในระดับจังหวัดกับส่วนกลาง
ผู้บริหารระดับนโยบาย KRI ผู้บริหารระดับจังหวัด วิเคราะห์ทุก 3 เดือน ปรับกลยุทธ์ ฯลฯ ป้อนกลับและ ส่งต่อข้อมูล ทุก 3 เดือน สมรรถนะ แกนนำ
13
คำแนะนำ ปฏิรูปข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (Management Information) ระดับอำเภอ เนื่องจากจะมีการบูรณาการงานระดับท้องถิ่น/ตำบล จึงควรปฏิรูประบบการเก็บและรายงานข้อมูลใน ระดับต่างๆให้สอดคล้อง พื้นที่ใดที่เข้าโครงการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) ใหม่นี้ ให้ยกเว้นการทำและใช้รายงานข้อมูลที่กระทรวงฯกำหนดไว้เดิม แล้วใช้ระบบรายงาน ใหม่ตลอดทางจนถึงส่วนกลาง ส่วนพื้นที่ที่ยังไม่เข้าโครงการ ให้ใช้ระบบข้อมูลเดิม
14
การวางแผนปฏิบัติการ
15
*ใช้งานในตารางนี้สร้าง PERT / GANTT chart
ตารางนิยามงานเพื่อวางแผนปฏิบัติการ (7 ช่อง) กลุ่มงานที่ 1 งาน งาน *ตัวชี้วัดผลสำเร็จย่อยสำหรับผู้ปฏิบัติ งาน กลุ่มงานที่ 2 งาน งาน งาน กลุ่มงานที่ 3 *ใช้งานในตารางนี้สร้าง PERT / GANTT chart เพื่อคุมลำดับการปฏิบัติต่อไป งาน งาน งาน กลุ่มงานที่ ฯลฯ
16
การจัดลำดับงาน 1. นำงานย่อยมาทำบัญชีงาน เรียงลำดับก่อนหลังบนกระดาษร่าง
1. นำงานย่อยมาทำบัญชีงาน เรียงลำดับก่อนหลังบนกระดาษร่าง 2. ร่างผังความเชื่อมโยง (PERT Chart) ของงานย่อยต่างๆลงบนกระดาษแผ่นใหญ่ ร่างครั้งแรกไม่จำเป็นต้องถูกต้องเสมอ แต่จะเห็นภาพอย่างสังเขปว่าอะไรทำพร้อมกันได้ อะไรต้องทำก่อนหลัง 3. เขียนเวลาที่ประมาณสำหรับทำงานไว้ท้ายชื่องานในบัญชีงาน (ข้อ 1) 4. ปรับปรุงแก้ไขลำดับความเชื่อมโยงใน PERT Chart (ข้อ 2) จนพอใจ 5. กำหนดตัวผู้รับผิดชอบแต่ละงาน
17
การสร้างแผนปฏิบัติการ
กำหนดเวลาที่ต้องใช้ตั้งแต่ต้นจนจบของแต่ละงาน (จาก ช่อง 6 ของตาราง 7 ช่อง) ร่าง GANTT Chart จากข้อมูลลำดับงานใน PERT Chart และเวลา (จากบัญชีงาน ข้อ 1) 8. เขียนช่วงเวลาเป็นชื่อเดือนและวันที่ (เป็นรายอาทิตย์ เริ่มวันจันทร์) ไว้บนแถบขวางด้านบนของผัง Gantt chart 9. เขียนชื่องานที่ช่องแรก งานบางตัวอาจยุบรวมกันได้ ดูตามเหตุผลสมควร 10. วางแถบงานตามช่วงเวลาที่จะทำ แสดงงานเริ่มจนงานสิ้นสุด (จากข้อ 3)
18
การติดตามและประเมินผล
Monitor ติดตามและประเมินผล Monitor & Evaluate ประเมินผล Evaluate
20
ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง
ตัวอย่าง : ใช้การเปลี่ยนแปลงของระดับคุณภาพของโครงการ พร้อมจำนวนการ ครอบคลุม เป็นตัวชี้วัดผลลัพธ์ –KRI ( ก่อนการลดลงของปัญหา ) จำนวน ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง รร.นวัตกรรมฯทำงาน พัฒนาโครงการที่ต่ำกว่าค่ากลางขึ้นเท่ากับค่ากลาง สร้าง รร.นวัตกรรมฯ ระดับ 1 2 3 4 5 การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อเทียบกับค่ากลาง
21
www.amornsrm.net ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.