งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายแพทย์ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลกำแพงเพชร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายแพทย์ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลกำแพงเพชร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายแพทย์ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลกำแพงเพชร
Working with Couple นายแพทย์ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลกำแพงเพชร

2 วงชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle)

3 วงชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle)
การเปลี่ยนแปลงที่ครอบครัวทุกครอบครัวต้องประสบ ตามวันเวลาที่ผ่านไป รูปแบบหลักของวงจรชีวิตครอบครัวจะคล้ายคลึงกันในแต่ละครอบครัว แตกต่างกันบ้างขึ้นอยู่กับยุคสมัยและวัฒนธรรมของสังคมที่ครอบครัวนั้นอยู่

4 วงชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle)
วงจรชีวิตครอบครัวเป็นพัฒนาการของครอบครัวในระยะยาว มีภารกิจตามขั้นตอนต่างๆที่ต้องทำให้สำเร็จ เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวสามารถพัฒนาต่อไปอย่างเหมาะสม

5 วงชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle)
ระยะคู่ครอง ระยะเริ่มมีลูก ระยะลูกยังเล็ก ระยะลูกวัยเรียน ระยะลูกวัยรุ่น ระยะลูกเป็นผู้ใหญ่ ระยะวัยกลางคน ระยะวัยชรา

6 คู่ครองมีความหมายมากกว่าหนึ่งบวกหนึ่ง
Couple Origin

7 พัฒนาการของคู่ครอง มิติระดับคู่ครอง Romance Co-creation
Unmet Expectation Co-creation Struggles Resignation/Commitment

8 พัฒนาการของคู่ครอง มิติระดับครอบครัว
แยกตัวออกจาก Family of Origin แต่ครอบครัวเดิมจะมีบทบาทต่อวงจรชีวิตคู่ มิติระดับสังคม

9 บทบาทหน้าที่ระหว่างคู่ครอง
เป็นเพื่อนกัน (Companionship) แบ่งเบาภาระหน้าที่ซึ่งกันและกัน (Sharing) มีอารมณ์ร่วมกัน (Affection) แสดงออกซึ่งความเสน่หาต่อกัน (Sexuality)

10 COUPLE STRESS FINANCE HOUSEWORK TIME OFFSPRING COMMUNICATION
FAMILY OF ORIGIN SEXUAL HEALTH

11 บทบาทต่อการดูแลสุขภาพ
บทบาทผู้ดูแลผู้ป่วย (Partner as Caregiver) บทบาทลูกค้า (Partner as Customer) บทบาทผู้ให้ข้อมูล (Partner as informant) บทบาทที่ปรึกษา (Partner as consultant)

12 บทบาทต่อการดูแลสุขภาพ
บทบาทผู้ร่วมตัดสินการรักษา (Partner as participant in treatment) บทบาทตัวปัญหา (Partner as part of problem). บทบาทภาระหน้าที่ (Illness as partner burden)

13 รูปแบบความสัมพันธ์เมื่อคู่ครองเจ็บป่วย
Sick-Healthy pair Sick-Cargiving pair Sick-Distant pair Competing pair Shared illness Coalitions around illness

14 WORKING WITH THE COUPLE
EARLY ASSESS & CLARIFY COUPLE PROBLEMS PROVIDE INFORMATION & SUPPORT FACILITATE COUPLE INTERACTION REFER PROPERLY

15 แนวทางการประเมินปัญหาสุขภาพคู่
โครงสร้าง(Couple structure) การเริ่มต้นและพัฒนาการของคู่ครอง (Couple development cycle) หน้าที่ของคู่ครอง (Couple function) ปัญหาของคู่ครอง (Couple problem) การแก้ปัญหาของคู่ครอง (Couple coping) ผลต่อสุขภาพ (Impact on Health)

16 SPECIFIC PROBLE OF COUPLE LIFE
VIOLENCE SEXUAL HEALTH PROBLEM LOVE AFFAIR DIVORCE REMARRIAGE WIDOWHOOD

17

18

19 Type of Abuse Threats ข่มขู่ : เช่น ขู่ว่าจะทำร้าย หรือ ทอดทิ้งหย่าร้าง เป็นต้น Intimidation คุกคาม: เช่นทำให้หวาดกลัว ด้วยท่าทาง

20 Emotional abuse หยามน้ำใจ: ใช้วาจาด่าว่าให้เจ็บช้ำใจ ทำให้รู้สึกผิด
Isolation ทิ้งให้โดดเดี่ยว : เช่นควบคุมไม่ให้คบใคร หึงหวงเกินเหตุ Minimization or denying or blaming ทำให้ห่อเหี่ยวไร้ค่า : ไม่สนใจความรู้สึก โทษว่าปัญหามาจากอีกฝ่าย

21 Using children ท้าลูกเป็นประกัน : ด่าว่าส่อเสียดผ่านลูก ขู่ว่าจะพาลูกหนี ทำให้รู้สึกผิดว่าเลี้ยงลูกไม่ดี Male privilege ชายอย่างฉันเป็นใหญ่ : เช่น ฝ่ายชาย ตัดสินใจเองทุกอย่างในบ้าน ทำร้ายทุบตี ข่มขื่นเหยื่อ

22 Economic abuse กระเป๋าใครมีเงิน: เช่นให้อีกฝ่ายออกจากงาน ยึดหรือริบเงิน ไม่ให้รับรู้เรื่องเงินภายในบ้าน

23 คำถามที่ใช้คัดกรองปัญหาความรุนแรงภายในคู่ครอง
S: SPOUSAL RELATIONSHIP “ความสัมพันธ์ของคุณกับคู่เป็นไงบ้าง ?” A: ARGUE “เคยทะเลาะเบาะแว้งกันบ้างไหม ? ในเรื่องใดบ้าง?” F: FIGHT “ถึงขั้นลงไม่ลงมือกันไหม อย่างไร เมื่อใด เคยให้อาวุธด้วยหรือไม่” E: EMERGENCY PLAN “ถ้าเกิดทะเลาะรุนแรงอีก จะทำอย่างไร มีใครรู้เรื่องนี้บ้าง เขาแนะนำว่าอย่างไร คุณคิดว่าจะบอกใครหรือไม่”

24 ถามว่า? เคยเล่าให้ใครฟังไหม? มีญาติหรือเพื่อนสนิทคนไหนพอช่วยได้บ้าง?
ใช้วิธีไหนจึงอยู่มาได้ถึงทุกวันนี้? ลูกๆปลอดภัยดีหรือเปล่า? วางแผนไว้อย่างไรบ้าง? หมอจะช่วยอะไรได้บ้าง?

25

26 Couple violence SAFE question,
rape เชื่อเหยื่อไว้เสมอให้การช่วยเหลือเบื้องต้น ประเมินความปลอดภัย เก็บความลับ บ้านพักฉุกเฉิน ช่วยผู้อ่อนล้ากลับมามีกำลังใจเข้มแข็ง ตัดสินใจเองได้

27 Couple conflict: Couple counseling , SATIR

28 Working with Pregnancy & Childbirth

29 What we normally do in ANC?

30 Family-oriented pregnancy care
Family of pregnancy and childbirth = developmental stage of family Critical period of family transition The birth of “Triangle” Conflicted role : Parent – Couple – Grandparent Risk : alliance , coalition

31 Family process Divide couple roles equitably Make room for new member
Become parents while remain spouses

32 Exercise : Problem & Need
Pre-pregnancy Labor Postpartum First Trimester Infertility Second Trimester Adoption Third Trimester Abortion /Stillbirth

33 Developmental issues Prepregnancy 1st trimester 2nd trimester
3rd trimester Postpartum Infertility Adoption Family planning Initial ANC, get “reluctant” father Fear of birth defects, sexuality Labor & delivery Adjust to a new baby, breast feeding, Desire for children, blaming, guilty, low self-worth, stress Emotional roller coaster, “hope & fear”, unrealistic expectation, secret

34  จบแล้วจ้า 


ดาวน์โหลด ppt นายแพทย์ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลกำแพงเพชร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google