งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559

2 สัปดาห์ที่ 6 : ประชากร แนวความคิดและทฤษฎีประชากร
- ประชากร หมายถึง จำนวนคนทั้งหมด ในพื้นที่แห่งหนึ่ง ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง - ประชากรศาสตร์ (demography) เป็นการศึกษาถึงขนาด การกระจายและองค์ประกอบของประชากร - การเปลี่ยนแปลงประชากร มีผลกระทบต่อ บุคลิกภาพ โครงสร้างสังคมและวัฒนธรรม

3 แหล่งข้อมูลของประชากร
- ได้มาจากการสำมะโน (census) ทำทุก 10 ปี โดยกระทรวงมหาดไทย องค์ประกอบของประชากร - หมายถึง ลักษณะทางสังคมและชีวภาพของประชากร เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ที่อยู่อาศัย สถานภาพสมรส ขนาดครัวเรือน อาชีพและรายได้

4 องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงประชากร
- ภาวะเจริญพันธุ์ (fertility) สตรีช่วง ปี - อัตราเกิด อัตราตาย อายุขัย - การย้ายถิ่น (migration)

5

6 Pattern of population change

7 สาเหตุของการย้ายถิ่น
- ปัจจัยผลัก (push factors) ด้านเศรษฐกิจ เช่น การว่างงาน ค่าครองชีพ ด้านสังคมวิทยา เช่น คุณภาพชีวิต ปัญหาอาชญากรรม ความหนาแน่นของประชากร ด้านคุณภาพของบริการสังคม เช่น การศึกษา - ปัจจัยดึง (pull factors) เช่น มีที่อยู่อาศัยที่ดีขึ้น ความสะดวกในด้านการศึกษาหาความรู้ สภาพภูมิอากาศดี

8 การเพิ่มและลดของประชากร (population growth)
คำนวณได้จาก (B-D)+(I-O) B-D = การเพิ่มของประชากรตามธรรมชาติ = จำนวนคนเกิด-จำนวนคนตาย I-O = การย้ายถิ่นสุทธิ = คนย้ายเข้า-คนย้ายออก

9 ประวัติศาสตร์และทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร
6,000 ปีก่อนคริสตกาล ประชากรโลกมี <50 ล้าน ปี 1750 มี 1 พันล้านคน ปี 1930 มี 2 พันล้านคน ปี 1974 มี 4 พันล้านคน ปี 1987 มี 5 พันล้านคน ปี 2017 ประมาณ 7.4 พันล้าน คาดว่าปี 2025 มีประมาณ 8 พันล้าน ?

10 ประวัติศาสตร์และทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร
Thomas Malthus ( ) กล่าวว่า ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มแบบเลขคณิต ( ) ประชากรเพิ่มแบบเรขาคณิต ( ) สาเหตุเกิดจาก ไม่ใช้เทคโนโลยีช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และไม่คุมกำเนิด

11 ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงประชากร สัมพันธ์กับเทคโนโลยี มี 3 ขั้น
สังคมเกษตรก่อนยุคอุตสาหกรรม ประชากรเพิ่มช้า เพราะอัตราการเกิดสูง ต้องการแรงงานภาคเกษตรกรรม อัตราการตายก็สูง มาตรฐานการดำรงชีพต่ำ การแพทย์ไม่ก้าวหน้า เริ่มสังคมอุตสาหกรรม อัตราการเกิดสูง ผลิตอาหารได้ดี ควบคุมโรคได้ดี เกิดแนวคิดของ Malthus สังคมอุตสาหกรรมเต็มที่ อัตราการเกิดต่ำ คุมกำเนิดแพร่หลาย สตรีออกทำงานนอกบ้าน มีบุตรน้อย อัตราการตายต่ำ การแพทย์ก้าวหน้า

12

13 วีดิทัศน์ 9 Spirit of Asia : การอพยพครั้งสุดท้าย youtu.be/2IbxwZWwcYk

14 การเคลื่อนย้ายอพยพทำให้เกิดการไหลบ่าทางวัฒนธรรมจากถิ่นหนึ่งสู่อีกถิ่นหนึ่ง นั่นทำให้มนุษย์เรียนรู้ที่จะปรับตัวจากสิ่งที่มีอยู่ให้เข้ากับสิ่งที่มาใหม่ ราชาสถาน ตั้งอยู่บนเส้นทางการศึกและการค้าโบราณ ที่มีรอยเท้าของผู้คนมากมายเดินทางมาแสวงหา ครอบครอง และอยู่อาศัยทำกิน กลุ่มชนเผ่าต่างๆ มีส่วนในการสร้างเรื่องราวในประวัติศาสตร์ร่วมกัน และผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่าเท่านั้นที่จะเป็นผู้กุมชะตากรรมของเมือง ประชากรที่เพิ่มมากขึ้นต่างเข้ามาจับจองพื้นที่ แย่งชิงทรัพยากร และทำลายแหล่งธรรมชาติ จนในที่สุด ทำให้เรามีทางเลือกน้อยลง นี่อาจเป็นการอพยพครั้งสุดท้ายของทุกชีวิตที่ไม่สามารถเลือกจะอยู่หรือไปได้ เหมือนก่อน เพราะผืนทะเลทรายแห่งนี้ คือ บ้านหลังสุดท้ายที่ต้องรักษาไว้

15

16 แนวทางในการพัฒนาคุณภาพประชากร
- ให้การศึกษาทุกรูปแบบ - ให้บริการด้านสาธารณสุข อาหารและโภชนาการ - ควบคุมอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากร - การสร้างงานและจัดสรรให้ประชากรมีงานทำ - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น การอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริมประชาธิปไตย การส่งเสริมการรวมกลุ่มทางสังคมและศาสนา

17 นโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรไทย
- การพัฒนาอุตสาหกรรมและการจ้างงาน กระจายรายได้ การลงทุนสู่ส่วนภูมิภาค - เน้นการศึกษาภาคบังคับและฝึกอบรมการประกอบอาชีพ วางแผนการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร - นโยบายด้านการเงินและการคลัง - นโยบายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การสร้างเมืองใหม่ ลดความแออัดของกรุงเทพฯ

18 ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 12

19

20 ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index)
วัดความสำเร็จโดยเฉลี่ยของแต่ละประเทศ 3 ด้านหลักคือ อายุขัย ความรู้ คุณภาพชีวิต HDI > 0.80 ถือว่า พัฒนาสูงมาก พัฒนาสูง พัฒนาปานกลาง < 0.55 พัฒนาต่ำ

21

22 ตัวอย่าง HDI 10 อันดับแรกคือ Norway(0.944), Australia, Switzerland, Denmark, Netherlands, Germany, Ireland, US, Canada, New zealand 11. Singapore 12. Hong Kong 17.Korea 20. Japan 31. Brunei Darussalam 62. Malaysia 93. Thailand (0.726) สนใจ ดูเพิ่มเติมที่

23 วีดิทัศน์ 10 Spirit of Asia : แดนเนรมิตรบนคาบสมุทรอาหรับ
youtu.be/5mXR42UTSnA เมื่อผืนทะเลทรายที่แห้งแล้งได้ถูกเนรมิตให้กลายเป็นเมืองที่ไม่มีใครคาดคิดว่าจะเกิดขึ้นได้ในเวลาไม่กี่ปี ดูไบ เมืองที่เติบโตอย่างไม่มีขีดจำกัด จะหลงเหลือร่องรอยอันเป็นจุดกำเนิดของการค้าโบราณให้เราได้ย้อนรอยมากน้อยแค่ไหน การเดินทางครั้งนี้ กลิ่นกำยาน รสร้อนแรงของเครื่องเทศ เย้ายวนให้เราหลงเสน่ห์อาหรับ การเนรมิตเมืองได้ในพริบตา ทั้งตึกสูงทุบสถิติโลก แผ่นดินงอกด้วยฝีมือมนุษย์ที่ดัดแต่งเป็นรูปทรงต้นปาล์ม และโชติช่วงไปด้วยบ่อน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ล้วนเป็นภาพความตื่นตาที่อยากไปเห็นดูไบ 1 ใน 7 ของรัฐ ที่รวมตัวเป็นชาติเดียวกันในนาม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

24


ดาวน์โหลด ppt มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google